ภัยเงียบ ยุค 4.0 "เด็กติดจอ" ปัจจัยเสี่ยง พัฒนาการช้า | ตอบโจทย์ | 3 พ.ย. 65

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 2 พ.ย. 2022
  • ร่วมสนทนาประเด็น
    • ปัญหาเด็กติดจอ พฤติกรรมการเลี้ยงลูกด้วยหน้าจอ และผลกระทบต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็ก
    ผู้ร่วมรายการ
    • ศ.นพ.วีระศักดิ์ ชลไชยะ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    ติดตามชมในรายการตอบโจทย์ วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน 2565 เวลา 20.30 น. ทางไทยพีบีเอส #ช่องหมายเลข3 รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
    #ตอบโจทย์ #ThaiPBS #ติดโทรศัพท์ #ติดมือถือ #สุขภาพเด็ก
    -------------------------------------------------------
    กด Subscribe ติดตามรายการดี ๆ ของช่อง ได้ที่ : thaip.bs/YSBht5j
    และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
    Website : www.thaipbs.or.th
    Facebook : www. ThaiPBS
    Twitter : / thaipbs
    Instagram : / thaipbs
    LINE : www.thaipbs.or.th/AddLINE
    TikTok : / thaipbs
    TH-cam : / thaipbs

ความคิดเห็น • 8

  • @ThaiPBS
    @ThaiPBS  ปีที่แล้ว +2

    ศ.นพ.วีระศักดิ์ ชลไชยะ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชี้แจง หากเห็น/ประเมินแล้วว่า เด็กในปกครองมีพัฒนาการล่าช้ากว่าเกณฑ์ อย่าวางใจ ให้ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางทันที
    กรณีเด็กติดจอ อาจเกิดการจดจำได้ดี แต่ไม่สามารถขยายความ / ชี้ชวน / เข้าใจในความหมายอย่างจริงจังได้ เช่น ท่อง CAT = แมว ได้ แต่ไม่สามารถชี้ชวนให้เพื่อน / พ่อแม่ดูแมว หรือ ไปชี้แมวตัวเป็น ๆ ได้
    หรือไม่สามารถสื่อสารสิ่งที่ต้องการผ่านพฤติกรรมได้ ก่อให้เกิดการแสดงออกทางอารมณ์ / ทำร้ายตัวเองแทน
    หลายบ้าน พ่อแม่ก็ใช้โทรศัพท์ และปล่อยลูกไว้หน้าจอ เพราะเชื่อว่า จะส่งเสริมความรู้ / พัฒนาการของลูก แต่แท้จริงเด็กวัย 1 - 3 ปี ควรจะอยู่กับพ่อแม่ / ผู้คนให้มากกว่าหน้าจอ
    ภาวะออทิสติกเทียม อาจเกิดจากความเสี่ยงทางพันธุกรรมของพ่อแม่ อาทิ พ่อ/แม่ เคยมีประวัติพูดช้า
    แนวทางป้องกัน คือ ในวัย 1 - 2 ปีแรก ควรหลีกเลี่ยงการให้ลูกอยู่กับหน้าจอทั้งโทรศัพท์ / โทรทัศน์
    หรือหากจำเป็นต้องให้เด็กใช้หน้าจอ ควรต้องตั้งกติกากับเด็กให้ชัดเจน โดยให้เด็กรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองก่อน ซึ่งจะต้องอาศัยความเข้าใจจากพ่อแม่เป็นหลัก
    พ่อแม่ควรสร้างความสัมพันธ์กับลูกให้มาก ผ่านการหากิจกรรมทำร่วมกันในครอบครัว
    ในช่วง 10 ปีแรกของวัย พ่อแม่ควรอยู่กับลูกให้มาก เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่ลูก
    เผย รพ.รัฐ มีแพทย์พร้อมให้คำปรึกษา
    ตอบกลับเลิกปักหมุดแสดงความคิดเห็นโดย
    Muchtharos (Bar)
    1 นาที
    ความคิดเห็นที่ถูกปักหมุด
    Thai PBS
    ศ.นพ.วีระศักดิ์ ชลไชยะ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชี้แจง หากเห็น/ประเมินแล้วว่า เด็กในปกครองมีพัฒนาการล่าช้ากว่าเกณฑ์ อย่าวางใจ ให้ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางทันที
    กรณีเด็กติดจอ อาจเกิดการจดจำได้ดี แต่ไม่สามารถขยายความ / ชี้ชวน / เข้าใจในความหมายอย่างจริงจังได้ เช่น ท่อง CAT = แมว ได้ แต่ไม่สามารถชี้ชวนให้เพื่อน / พ่อแม่ดูแมว หรือ ไปชี้แมวตัวเป็น ๆ ได้
    หรือไม่สามารถสื่อสารสิ่งที่ต้องการผ่านพฤติกรรมได้ ก่อให้เกิดการแสดงออกทางอารมณ์ / ทำร้ายตัวเองแทน
    หลายบ้าน พ่อแม่ก็ใช้โทรศัพท์ และปล่อยลูกไว้หน้าจอ เพราะเชื่อว่า จะส่งเสริมความรู้ / พัฒนาการของลูก แต่แท้จริงเด็กวัย 1 - 3 ปี ควรจะอยู่กับพ่อแม่ / ผู้คนให้มากกว่าหน้าจอ
    ภาวะออทิสติกเทียม อาจเกิดจากความเสี่ยงทางพันธุกรรมของพ่อแม่ อาทิ พ่อ/แม่ เคยมีประวัติพูดช้า
    แนวทางป้องกัน คือ ในวัย 1 - 2 ปีแรก ควรหลีกเลี่ยงการให้ลูกอยู่กับหน้าจอทั้งโทรศัพท์ / โทรทัศน์
    หรือหากจำเป็นต้องให้เด็กใช้หน้าจอ ควรต้องตั้งกติกากับเด็กให้ชัดเจน โดยให้เด็กรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองก่อน ซึ่งจะต้องอาศัยความเข้าใจจากพ่อแม่เป็นหลัก
    พ่อแม่ควรสร้างความสัมพันธ์กับลูกให้มาก ผ่านการหากิจกรรมทำร่วมกันในครอบครัว
    ในช่วง 10 ปีแรกของวัย พ่อแม่ควรอยู่กับลูกให้มาก เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่ลูก
    เผย รพ.รัฐ มีแพทย์พร้อมให้คำปรึกษา

  • @user-qj9ed3nf6i
    @user-qj9ed3nf6i 5 หลายเดือนก่อน

    ชักชวนทำสมาธิ
    ช่วยได้มาก

  • @siphalakpatarasakeat2379
    @siphalakpatarasakeat2379 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากค่ะ

    • @VivoY02-ky2hq
      @VivoY02-ky2hq 5 หลายเดือนก่อน

      อาอาหารอาหารเด็กความจำสั้นอาหารประเภทไหนสำหรับเด็กความจำสั้นช่วย

  • @kanjaluckrattanaseriwong420
    @kanjaluckrattanaseriwong420 ปีที่แล้ว +2

    พิธีกรช่วยแทรกให้ถูกจังหวะหน่อยค่ัะ​

  • @saiwasunchanaboon6962
    @saiwasunchanaboon6962 ปีที่แล้ว +1

    ไม่ยอมพัฒนาเลย จ้องโทสับอย่างเดียว

  • @pthaiwong
    @pthaiwong ปีที่แล้ว

    เพิ่งรู้เหรอ ? 😆😆😆😆😆