หน้าตาของเส้นเสียง เป็นแบบนี้นี่เอง (เวลาร้องเพลง เส้นเสียงทำงานยังไง)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 10 ก.พ. 2025
  • เจาะลึกรายละเอียด การทำงานของเส้นเสียง การสั่นสะเทือน ขั้นตอนการเกิดเสียง

ความคิดเห็น • 7

  • @DOUBLE_PANIC1
    @DOUBLE_PANIC1 2 ปีที่แล้ว +1

    • ศึกษาตามคุณครูบอกดีจัง

  • @toont.8340
    @toont.8340 3 ปีที่แล้ว +6

    เส้นเสียงหน้าตาน่ารักจังเลยครับ ☺️

    • @kruink6
      @kruink6  3 ปีที่แล้ว

      55555555 จริงหรอคะ

  • @chaloemphonchomchai3962
    @chaloemphonchomchai3962 3 ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณครับ.Kru ink

    • @kruink6
      @kruink6  3 ปีที่แล้ว

      ยินดีค่า :)

  • @weerapatkusita2368
    @weerapatkusita2368 3 ปีที่แล้ว +5

    สอบถามหน่อยครับ เสียงสูง ผมได้แค่โน๊ตC4 ถ้าพยายามอีกจะปลิ้นเป็นเสียงหลบครับ ลงต่ำก็ได้E2ครับ (ผมสามารถเป็นนักร้องได้ไหมครับ)

    • @kruink6
      @kruink6  3 ปีที่แล้ว +2

      แสดงว่า ดันตรงเสียง chest ขึ้นไปค่ะ ทำให้ไม่สามารถผ่านช่วง Bridge (รอยต่อระหว่างเสียงต่ำกับเสียงสูงได้ ) แนะนำนะคะ ลองทำแบบฝึกหัดเสียงดู เพื่อให้รอยต่อระหว่างเสียงดีขึ้น th-cam.com/video/dDhz_WQKMt4/w-d-xo.html
      ถ้าถามว่าเป็นนักร้องได้มั้ย เป็นได้ค่ะ เพราะนักร้องไม่ได้วัดแค่ว่าใครร้องได้สูงที่สุด แต่หมายถึง การใช้เสียงที่เรามี สื่อสารออกมาได้ดีที่สุด เลือกเพลงที่เข้ากับเสียงเรา นักร้องดังๆหลายคนก็เสียงต่ำค่ะ เช่น frank sinatra แต่เค้าเลือกสไตล์เพลงที่เข้ากับเสียงเค้า th-cam.com/video/ZEcqHA7dbwM/w-d-xo.html
      การมีเสียงที่สูงขึ้น มีเร้นจ์เสียงที่กว้าง เป็นตัวเพิ่มโอกาสให้เราร้องเพลงได้หลากหลายมากขึ้น มีลูกเล่นมากขึ้น (เพราะบางทีเสียงเราก็อาจจะไม่ได้เหมาะกับบางสไตล์) ซึ่งการขยายเร้นจ์เสียงเป็นสิ่งที่ควรฝึกฝนเพิ่มเติมนะคะ เราจะได้ใช้เสียงได้สบาย ใช้ได้นาน และไม่บาดเจ็บด้วยค่ะ :)