การเพาะเลี้ยงปลาการ์ตูน

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 1 ต.ค. 2023
  • ปลาการ์ตูนเป็นปลาที่มีสีสัน และลวดลายบนลำตัวที่ดูสวยงาม ชอบอาศัยร่วมหรือหลบซ่อนในดอกไม้ทะเล สถานีวิจัยประมงศรีราชา ได้ทำการศึกษาและเพาะเลี้ยงปลาการ์ตูนมามากกว่า 10 ปี โดยวัตถุประสงค์หลักเพื่อบริการวิชาการให้แก่ผู้ที่สนใจ เข้าศึกษาเรียนรู้ ซึ่งปัจจุบันนี้มีชนิดพันธุ์ปลาการ์ตูนที่เพาะเลี้ยงไว้ทั้งสายพันธุ์แท้ และสายพันธุ์ผสมอยู่ถึง 10 กว่าชนิด สอบถามข้อมูลได้ที่ สาโรจน์ เริ่มดำริห์ สถานีวิจัยประมงศรีราชา คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-3831-1379
    --------------------------------------------------------------------------------
    Clownfish Culture
    Clownfish are colorful and have beautiful patterns on their bodies. They stay in groups or hide themselves under sea anemones. Siracha Fisheries Research Station has studied and cultured clownfish for more than 10 years with the main objective of providing academic information to those interested in studying them. At present, we culture more than 10 species of clownfish, both natural and hybrid. For further inquiries or additional information, please contact Mr. Saroj Rermdumri, fishery biologist, Siracha Fisheries Research Station, Faculty of Fisheries, Kasetsart University, Bangkhen Campus. Tel: 0-3831-1379.
    🌟 ผลงานวิจัย :
    สาโรจน์ เริ่มดำริห์ สถานีวิจัยประมงศรีราชา
    คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    🌟 ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ :
    วนิดา รัตตมณี
    วิทวัส ยุทธโกศา
    วิโรตม์ เอี๊ยะตะกูล
    ฝ่ายเผยแพร่งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
    โทร. 0-2579-6111
    🌟ติดตามข่าวสารและความเคลื่อนไหวได้ที่..
    Fanpage : / kasetnumthaitv
    TH-cam : / kasetsartnamthai
    tiktok : / kasetsartnamthai
    🌟แนะนำ/ติชม เกษตรศาสตร์นำไทยได้ที่..
    forms.gle/pwCefd4uJcsvbqcZ9

ความคิดเห็น • 3

  • @idarita_channel1930
    @idarita_channel1930 2 หลายเดือนก่อน

    มีพ่อแม่พันธุ์จําหน่ายไหมครับผม

  • @iamteera
    @iamteera 3 หลายเดือนก่อน

    ปัจจุบันยังเพาะอยู่มั้ยครับ

    • @KasetsartNamThai
      @KasetsartNamThai  3 หลายเดือนก่อน

      เพาะค่ะ สามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ สาโรจน์ เริ่มดำริห์ สถานีวิจัยประมงศรีราชา คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-3831-1379