พิธีเชิญครูมโนราห์ ปี2566 / 1

แชร์
ฝัง

ความคิดเห็น • 38

  • @maxhyper2863
    @maxhyper2863 3 หลายเดือนก่อน +2

    บายศรีต้นสวยมาก ทำแบบอย่างโบราณเลย ภาคใต้รักษางานงานศิลป์แบบโบราณไว้เยอะมาก

  • @thanakritn.3681
    @thanakritn.3681 10 หลายเดือนก่อน +5

    สาธุ ครับ นี่แหละศาสนาไทย-ผี-พราหมณ์-พุทธ จุดขายของคนไทยทั้งประเทศ กรมการศาสนา สำนักพุทธ อย่ากลัวเสียถ้าพุทธไทยแท้ มันไม่บริสุทธิ์ร้อยเปอร์เซนต์ เพรามันเป็นพุทธปนพราหมณ์เจือด้วยผี แต่มันสิ่งตอบโจทย์คนไทยครับ จากสหายเก่ง007ครับ

    • @user-pm3qw4yk2q
      @user-pm3qw4yk2q 10 หลายเดือนก่อน +2

      ในศาสนาพุทธไม่น่าจะมี และไม่น่าจะมีสอนเรื่องแบบนี้.
      มีแต่มโนราห์ที่พยายามดึงเอาศาสนาเข้าไปเช่น การตั้ง นะโม และคำบาลีบางคำ เท่าที่ได้ยินมีคำว่า อาคัจเฉยยะ อาคัจฉาหิฯ เข้ามาด้วย
      (อาคัจเฉยยะ=ให้ผู้นั้นเข้ามา.
      อาคัจฉาหิ=เจ้าจงมา)

  • @user-zy1kh7zu5l
    @user-zy1kh7zu5l 24 วันที่ผ่านมา +2

    🙏🙏🙏

  • @Redmi9Aa-gt8hp
    @Redmi9Aa-gt8hp หลายเดือนก่อน +2

    สาธุคะรับ

  • @user-jp4pm1mr1w
    @user-jp4pm1mr1w ปีที่แล้ว

    สาธุสาธุสาธุด้วยเจ้าค่ะ

  • @user-ir3bv4bo5k
    @user-ir3bv4bo5k หลายเดือนก่อน +1

    สาธุค่ะ

  • @SamSung-fd6ld
    @SamSung-fd6ld ปีที่แล้ว

    สาธุ...ครับ

  • @teamcom544
    @teamcom544 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะที่นำมาให้ชม ชอบดูค่ะ

  • @aisais3248
    @aisais3248 10 หลายเดือนก่อน +2

    บ้านโนราห์ อยู่ไหนละคับ

  • @user-og5fg5xg8g
    @user-og5fg5xg8g 10 หลายเดือนก่อน +2

    ชอบมากๆ ครับ กาศครูได้ชัดเจน ฟังชัดถอยชัดคำครับผม สุดยอดไปเลยครับ เสียงดีฟังชัดครับผม

    • @wilaijongnuy8735
      @wilaijongnuy8735 9 หลายเดือนก่อน

      เสียงดีมากค่ะไม่ทราบมโนราอยู่จังหวัดไหนค่ะกาดโรงได้เพราะมาก

    • @narongchudrong8345
      @narongchudrong8345 4 หลายเดือนก่อน

      ดีครับรักษาวัฒนธรรมตายายครูโขนบ้านเราไว้ครับสุดยอดครับ

  • @wilaijongnuy8735
    @wilaijongnuy8735 9 หลายเดือนก่อน +2

    สมเป็นมรดกโลกเป็นพิธีกรรมที่ไม่ได้ให้ใครเชื่อแต่เขาทำเพื่อลำลึกถึงบรรพบุรุษและความกตัญญูของลูกหลานสืบทอดมาหลายชั่วโคตรนับถือสิ่งที่ช่วยเตือนสติเราให้ยังมีสำนึกความเป็นคนสำหรับคนที่ไม่นับถือไม่เคารพอะไรเลยก็แล้วแต่ความคิดของคนนั้นๆ

  • @tnet6823
    @tnet6823 9 หลายเดือนก่อน +1

    นานๆได้ฟังเสียงชัดๆแบบนี้กาศครูได้เพราะมาก

  • @natthakittakiawkung3346
    @natthakittakiawkung3346 9 หลายเดือนก่อน

    ชื่อมโนราอะไรคะ

  • @user-og5fg5xg8g
    @user-og5fg5xg8g 10 หลายเดือนก่อน +1

    ชอบมากๆเลย

  • @aisais3248
    @aisais3248 10 หลายเดือนก่อน +2

    ผมจะรับมาแสดงที่บ้าน ครับ

    • @wilaijongnuy8735
      @wilaijongnuy8735 9 หลายเดือนก่อน +1

      ชื่อมโนราอะไรค่ะและอยู่จังหวัดอะไรค่ะขอคำแนะนำด้วยค่ะเสียงดีมากกาดครูเพราะมากค่ะน่าสนใจค่ะ

    • @kawinwitwongwiwatkul9659
      @kawinwitwongwiwatkul9659 6 หลายเดือนก่อน

      โนรา สิทธินนท์ เทพจำเริญศิลป์ จ.ตรัง

  • @user-pu5tw7nc4o
    @user-pu5tw7nc4o 6 หลายเดือนก่อน +1

    ปกติวัดขุนตัดหวายบวงสรวงครูหมอโนราเดือนไหนคะ

  • @user-pm3qw4yk2q
    @user-pm3qw4yk2q ปีที่แล้ว +3

    คิดว่าเป็นวิทยาทาน.ขอความกระจ่าง ที่มาและเหตุผลของการใช้ผ้าพาดบ่าหน่อยครับ.

    • @user-xm7nd9xm9d
      @user-xm7nd9xm9d 11 หลายเดือนก่อน +1

      เป็นสิ่งแสดงว่า สิ่งกำลังกระทำอยู่ขั้นพิธี ไม่ใช่กริยาหรือพฤติกรรมแบบปกติ เช่น นั่ง นอน กิน อย่างนี้แสดงให้เห็นว่าผ้าพาดบ่าสื่อว่ากำลังกระทำพิธี

    • @user-pm3qw4yk2q
      @user-pm3qw4yk2q 11 หลายเดือนก่อน +1

      @@user-xm7nd9xm9d ขอบคุณมากครับ.
      มีที่มามั้ยครับ.
      และข้อมูลนี้ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงในเชิงวิชาการได้นะครับ

    • @user-ny7kk3ff9g
      @user-ny7kk3ff9g 10 หลายเดือนก่อน

      ที่มาให้การใช้ผ้าพาดบ่า ผู้ชายโบราณมักไม่มีเสื้อสวมใส่ ไปไหนมาไหนหรือทำการใดๆให้มีผ้าพาดบ่าเพื่อเป็นผ้าคลุมกายเพื่อความเป็นสุภาพไม่ใช่ทำพิธีแบบเปลือยเปล่า เลยยึดถือมาถึงปัจจุบัน อีกอย่างทางพระสงฆ์จะทำการใดๆต้องครองผ้าสังฆาฏิ จึงยึดมาเป็นผ้าครองอีก1ผืน

    • @bmmrcandy2835
      @bmmrcandy2835 10 หลายเดือนก่อน +3

      ขอเสริมในหลักทางความเชื่อนะครับ
      ว่าด้วยธรรมเนียมการสะพายผ้าพาดบ่า
      หลักการถือผ้ามีอยู่5ประการ (ธรรมเนียมหอพระเทวราช อำเภอไชยา)
      ….ประการที่1 เป็นการยึดถือการครองผ้า3ผืนตามคติของพุทธศาสนา คือผ้านุ่ง ผ้าห่ม ผ้าพาด
      ….ประการที่2 ตามธรรมเนียมปฎิบัติของคนไชยาและคนใต้หลายๆจังหวัด เมื่อจะประกอบพิธีกรรมสำคัญใดๆ ก็มักจะต้องมีผ้าพาดบ่าเสมอ เพื่อถือเป็นการไห้ความเคารพต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พิธีกรรม และสถานที่นั้นๆ
      ….ประการที่3 เพื่อเป็นตัวแทนสายรก ที่คอยห่อหุ่มตัวเราเมื่อครั้งเป็นทารกอยู่ในครรภ์มารดา เป็นนัยยะว่า ไม่ว่าเราอยู่ที่ใดทำการใด คุณบิดามารดาก็จะคอยคุ้มครองเราอยู่มิห่างกาย
      ….ประการที่4 เพื่อรำลึกถึงคุณครูบาอาจารย์ เพราะส่วนใหญ่ผ้าที่ใช้พาดบ่า จะได้รับมาจากมือครูบาอาจารย์เป็นส่วนใหญ่ และท่านก็ได้ทำพินธุ บรรจุมนต์ไว้แล้วทุกผืน
      ….ประการที่5 เพื่อเป็นการยึดถือตามธรรมเนียมของมโนราห์ เวลาจะประกอบพิธีกรรมอันใดก็จะต้องมีผ้าพาดบ่าติดตัวเสมอ
      ฉะนั้น หอพระเทวราช จึงยึดถือธรรมเนียมปฏิบัตินี้สืบต่อกันมา
      ขออนุญาตคัดลอกบทความมาจากผู้รู้ครับ

    • @user-pm3qw4yk2q
      @user-pm3qw4yk2q 10 หลายเดือนก่อน +1

      @@bmmrcandy2835
      ขอบพระคุณอย่างสูงครับ.ชัดเจน ไม่คลุมเครือ.

  • @user-nl9hj4lm7n
    @user-nl9hj4lm7n 3 หลายเดือนก่อน

    😊

  • @user-ro8zm9hn4s
    @user-ro8zm9hn4s 11 หลายเดือนก่อน

    ชื่อมโนราอะไรครับ

  • @user-lo9qw1mb3j
    @user-lo9qw1mb3j 5 หลายเดือนก่อน +1

    ขอเบอร์โทรคะ

  • @aisais3248
    @aisais3248 10 หลายเดือนก่อน +2

    ซี่อมโนราห์ อะไรครับ และอยู่ที่อะไรครับ

    • @yalandunya6332
      @yalandunya6332 8 หลายเดือนก่อน

      เห็นป้าย มโนราห์นภชา สุราษฎร์ธานีครับ

    • @kawinwitwongwiwatkul9659
      @kawinwitwongwiwatkul9659 6 หลายเดือนก่อน

      โนราที่ทำหน้่าที่ กาดครู ชื่อ โนรา สิทธินนท์ เทพจำเริญศิลป์ จ.ตรัง

  • @user-ro8zm9hn4s
    @user-ro8zm9hn4s 11 หลายเดือนก่อน

    ชื่อมโนราอะไรครับอยากทราบ

    • @bmmrcandy2835
      @bmmrcandy2835 10 หลายเดือนก่อน +1

      มโนราห์สิทธินนท์ เทพจำเริญศิลป์ครับ