พุทธศาสนาสมัยทวารวดี เทือกเขาอู่ทอง

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 5 ต.ค. 2024
  • ย้อนกลับไปในสมัยทวารวดี แม้ว่าเราไม่พบสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ เหมือนในพม่า-กัมพูชาโบราณ แต่เรามีสิ่งที่สำคัญกว่า และอยู่เหนือความยิ่งใหญ่
    รายการฯ พาคุณผู้ชมไปสำรวจเจดีย์พุหางนาค 1 และ 2 ตั้งข้อสังเกตว่า การที่เราพบเจดีย์และที่ภาวนาตลอดเทือกเขาอู่ทอง นับหลายสิบองค์ อาจสะท้อนประเด็นบางอย่างที่มีความสำคัญบางอย่าง โดยอาจสะท้อนว่า ผู้คนโบราณสนใจเรื่องการพัฒนาจิตใจ และแสวงหาความหลุดพ้น ซึ่งนับเป็นหัวใจสำคัญของอารยธรรมทวารวดี

ความคิดเห็น • 90

  • @ตุ๊ต๊ะแชนเเนล
    @ตุ๊ต๊ะแชนเเนล 2 ปีที่แล้ว +6

    เมืองไทยเมืองพุทธ เมืองแห่งพระพุทธศาสนา เมืองแห่งรอยยิ้มและน้ำใจ สยามเมืองยิ้ม❤️🙏🏻🇹🇭😊

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ใช่ครับ

    • @redguardian5155
      @redguardian5155 ปีที่แล้ว

      งั้นช่วยยิ้มสวยๆ แล้วแสดงน้ำใจให้ผมสัก 2,000 B. หน่อยครับ

  • @meefamily5141
    @meefamily5141 2 ปีที่แล้ว +12

    เราเป็นเมืองพุทธมายาวนาน ทำให้คนไทยในปัจจุบันนี้ยังคงมีมีจิตใจที่ดีงาม เอื้อเฟื้อใจบุญ รู้จักแบ่งปัน ถ้าเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆถือว่าเราเอกลักษณ์ทางพุทธศาสนาที่ชัดเจน ถึงแม้จะมีศาสนาความเชื่ออื่นๆมาปะปนก็ตาม

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณ Mee Family

    • @นครโคราช-ฮ7ฬ
      @นครโคราช-ฮ7ฬ 2 ปีที่แล้ว +1

      อุปนิสัยของชนเผ่าด้วยหรือเปล่า

    • @redguardian5155
      @redguardian5155 ปีที่แล้ว

      พม่าก็ชัดเหมือนกันครับ

  • @mr.sompolmahaprom634
    @mr.sompolmahaprom634 2 ปีที่แล้ว +1

    ไปเยี่ยมชมพิพิธฯอู่ทอง 3ครั้ง ได้ความรู้มากมาย ชอบมากครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับคุณ Mr sompol

  • @maetallon6556
    @maetallon6556 2 ปีที่แล้ว +3

    ให้กำลังใจครับ แล้วจะรอภาพการต่อจิ๊กซอเพื่อร้อยเรียงและเปิดเผยเรื่องราวในอดีต ทั้งก่อนและหลังยุคทวารวดี

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณ Maetallon

  • @เทอดจิตต์วงษ์ขุนเณร

    ❤️❤️❤️❤️ ขอบคุณมากครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      ยินดีครับคุณเทอดจิตต์

  • @นําพลปู่นุช
    @นําพลปู่นุช 2 ปีที่แล้ว +1

    กราบพระ อ. อ.ทุกๆท่านให้ความรู้ ครับ
    อ.เอ อ.ฉันทรัส ทุกๆท่าน👏❤☕

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณนำพล

  • @nichnana4907
    @nichnana4907 2 ปีที่แล้ว +2

    กราบขอบพระคุณท่านพระครูโสภณวีรานุวัตร อาจารย์เอ อาจารย์วรณัย คุณเสน่ห์ และ อาจารย์ฉันทัส และคณะ ที่ศึกษา ค้นคว้า นำความรู้มาให้รับทราบ มีความเห็นเช่นเดียวกับอาจารย์ค่ะ รักช่องเสียงสะท้อนอดีตมากๆๆๆๆๆค่ะ ขอให้มีสมาชิกเพิ่มเร็วๆ และ อยู่ให้ความรู้แก่พวกเรานานๆตลอดไปนะคะ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณแทนทุกคนครับ
      ไว้ว่างๆ แวะมาแลกเปลี่ยนความเห็นกันได้ วันพุธหน้ามีเสวนาเรื่องทวารวดีที่อูทองครับ ทักมาที่ไลน์ 0863259415

  • @นําพลปู่นุช
    @นําพลปู่นุช 2 ปีที่แล้ว +2

    นัยยศาสนา เหมือนหลอมรวมใจคนให้อยู่ร่วมกัน ทางด้านจิตใจ ผู้ครองแคว้น อาจรองจากศาสนาก็เป็นใด้👏👏👏❤☕

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      อืมม ครับ

  • @theerapojboontee1835
    @theerapojboontee1835 8 หลายเดือนก่อน +1

    ผมก็เคยคิดนะครับว่าเมืองพุทธกับเมืองพราหมณ์แตกต่างกันอย่างไร
    ในระบอบพราหมณ์ พวกพราหมณ์น่าจะมีอิทธิพลสูงมากจากการถือวรรณะ กษัตริย์ก็ถือตัวเป็นสมมติเทพ ใหญ่กว่าพราหมณ์เข้าไปอีก สังคมและความเชื่อมีค่านิยมที่การบูชาอำนาจ เช่น อำนาจของพระศิวะ ฯลฯ เมื่อกษัตริย์ถือเป็นตัวแทนของเทพ ก็ย่อมกำหนดให้คนอื่นต้องบูชาตนเทียบเท่าเทพ ความดีอยู่ที่การบูชา กษัตริย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล กษัตริย์ (นักรบ) และพราหมณ์เป็นใหญ่ในสังคม และชอบที่จะแสดงความยิ่งใหญ่ ส่วนพ่อค้า ประชาชน ไม่มีค่าในสังคม
    ส่วนสังคมพุทธ มีสำนึกในเรื่องคุณงามความดี กรรมดีกรรมชั่ว การชดใช้กรรม วาสนาบารมี นรกสวรรค์ในแบบพุทธ และความหลุดพ้นในระดับสูงสุด (เกินคนทั่วไป) แม้กษัตริย์และสงฆ์จะเป็นชนชั้นพิเศษ แต่ก็ไม่รังเกียจเดียดฉันท์พ่อค้า ประชาชน คนต่างชาติต่างภาษา หรือแม้แต่ต่างศาสนา ทำให้สังคมเปิดกว้างกว่า สมานฉันท์มากกว่า เน้นการไหว้พระ ซึ่งคนละเรื่องกับการบูชาเทพเลย กษัตริย์และประชาชนมีสำนึกแบบชาวพุทธในสันดาน ถึงแม้ว่าคนเราจะชั่วดีแตกต่างกันไป เราสามารถมองเห็นลักษณะแบบนี้ทั่วไปในคนไทย (ไม่นับความมูที่นับถือทั้งเทพทั้งผีเต็มไปหมด ซึ่งก็เป็นนิสัยถาวรอีกอย่างของคนไทย)
    สังคมทั้งสองแบบนี้มีค่านิยมที่แตกต่างกันและขัดแย้งกัน ในขณะที่พราหมณ์มีผลประโยชน์อยู่กับกลุ่มอำนาจ แต่สงฆ์ไม่ข้องเกี่ยวกับอำนาจการเมืองใดๆ เว้นแต่จะบวชเพื่อแอบซ่องสุมผู้คน หรือหนีภัยการเมืองชั่วคราว

    • @taspien
      @taspien  8 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @ไชยเชษฐ์พุทธศิริพัน-ฮ2ฑ

    ชื่นชมครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณไชยเชษฐ์

  • @jackkn1249
    @jackkn1249 2 ปีที่แล้ว +7

    " หลักฐานที่สะท้อนให้เห็นว่าผู้คนพยามยามให้ถึงซึ่งความหลุดพ้น.." ผมว่านี่ไม่ใช่แค่ศึกษาอดีตแล้ว..ผมว่าอาจารย์โยงยึดและให้กำลังใจคนในการทำความดีขั้นสูงด้วยละ ใครพบแบบที่ผมมองบ้างครับ / ขอบคุณทุกๆท่าน

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณครับคุณ Jack
      ผมสนใจเรื่องธรรมะครับ
      เรามักมองเห็น สิ่งที่เราเองสนใจ

    • @umaratrithimat6242
      @umaratrithimat6242 10 หลายเดือนก่อน

      ​@@taspienตั้งแต่ดูคลิปของอาจารย์วันแรก รู้ได้เลยว่าอาจารย์เป็นคนที่จิตใจดีมากและธรรมะธัมโม เป็นกำลังใจให้อาจารย์ทำคลิปดีๆ ต่อไปค่ะ

  • @tidakamneetida5674
    @tidakamneetida5674 2 ปีที่แล้ว

    สวัสดีครับ อาจารย์ รับชมคลิปเช่นเคยครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณมากครับคุณ Tidakarn

  • @flukza2735
    @flukza2735 8 หลายเดือนก่อน +1

    ชัยนาทก้อเจอครับเนื้อสัมฤทธิ์ นั้งขัดสมาธิ สีจะออกไปทาเขียวทั้งองค์ ไต้ทานมีรูปช้าง กับดอกบัว แต่ชาวบ้านไห้คนเคามาดูบอกว่าเจดีอายุ300ปี่ เจอพระเนื้อสัมฤทธิ์ เยอะแต่ไม่มีไคร บอกทางการ

    • @taspien
      @taspien  8 หลายเดือนก่อน

      ครับ

  • @พชรกิ่งแก้ววัฒน์

    ชอบมากครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณ พชร

  • @nunthawunmenthong3575
    @nunthawunmenthong3575 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับคุณ Nunthawun

  • @เกษมประภาพกุล
    @เกษมประภาพกุล 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ยินดีครับคุณเกษม

  • @webaneklarp
    @webaneklarp 2 ปีที่แล้ว +3

    พระพิมพ์ดินเผาที่ค้นพบที่เจดีย์หมายเลข 1 ในคลิปนี้มีความเป็นเอกลักษณ์ของศิลปะทวาราวดียุคอู่ทอง สร้างขึ้นที่เมืองอู่ทองประมาณ 1,200-1,300ปี ตัวองค์พระพร้อมฐาน ปางนั่งสมาธิราบเป็นศิลปะแบบอินเดียใต้ แต่ต้นโพธิ์เป็นแบบอินเดียเหนือครับ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนที่อื่น พระพิมพ์แบบนี้ค้นพบที่เมืองอู่ทองเพียงแห่งเดียวเท่านั้น ยอดเขาพุหางนาคเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมสมัยทวาราวดีที่สำคัญมากครับ/ เอนกลาภ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      น่าสนใจครับคุณเอนกลาภ
      รู้สึกประมาณนี้เหมือนกัน

  • @ณัชพลรักน้อยเลขที่23

    ติดตามครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณณัชพล

  • @joifainiaitoiriairi5834
    @joifainiaitoiriairi5834 ปีที่แล้ว

    ผมชอบอาจารย์บรยายบรรยากาสสดใสสเนะฟังชัดส่องหูดี ตกกลางคืนผมชอบคิดไม่ออก

    • @taspien
      @taspien  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณ jof

  • @นําพลปู่นุช
    @นําพลปู่นุช 2 ปีที่แล้ว

    อ..ส..แข็งแรงครับ เดินทางปลอดภัยครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอให้สุขภาพแข็งแรงเช่นกันครับ

    • @นําพลปู่นุช
      @นําพลปู่นุช 2 ปีที่แล้ว +1

      @@taspien รักและเคารพครับ อ.❤👏☕

  • @xyty1953
    @xyty1953 2 ปีที่แล้ว +2

    ถ้าโบราณสถานเยอะแบบนี้ก็น่าจะเป็นพุทธเป็นหลัก แต่ก็มีการอุปถัมภ์ศาสนาอื่นด้วย เหมือนปัจจุบัน อาจารย์ สมัยทวารวดี เน้นสร้างเจดีย์ มากกว่าพระพิมพ์ใช่หรือไม่

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      พระพิมพ์โดยลักไปเป็นส่วนใหญ่ นานๆ กรมศิลป์จึงจะขุดได้ที
      ผมเองจึงไม่กล้ายืนยันครับ

    • @xyty1953
      @xyty1953 2 ปีที่แล้ว +1

      @@taspien แบบนี้ ก็สรุปไม่ได้ว่า คติ พุทธ ทวารวดี มาจากอินเดียเหนือ หรืออินเดียใต้ ละสิค่ะ อาจารย์คิดถูกแล้ว ที่ใช้เรื่องศาสนา เป็นแกนหลักในการศึกษา ประวัติศาสตร์ของทวารวดี หนูเชื่อว่า พุทธศาสนา น่าจะบอกได้ถึงตัวตนอินเดียโบราณ เลยด้วยซ้ำ เพราะหนูคิดว่า อินเดียโบราณ กับอินเดียปัจจุบัน ไม่เหมือนกัน และผู้คนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังจะใกล้เคียงกับอินเดียโบราณ ด้วยซ้ำ แต่ประเด็นเรื่อง การแต่งกาย แหละประเพณีบางอย่างหนูอยากให้อาจารย์สืบค้น เพราะของเหล่านี้ มีราก และพัฒนาการ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      น่าสนใจครับ

    • @xyty1953
      @xyty1953 2 ปีที่แล้ว +1

      @@taspien หนูใช้หลักที่ว่า วัฒนธรรมใดที่ใกล้เคียงกัน ต่อให้เวลาผ่านไปกี่พันปี ก็ยังใกล้เคียง วัฒนธรรมเดิม แต่ถ้าวัฒนธรรมใดที่ต่างสุดขั้ว เข้ามาครอบครอง หรือกลืนกิน โดยที่เจ้าของวัฒธรรมนั้นไม่ใช่ผู้นำ หรือเป็นชนกลุ่มน้อย วัฒนธรรมนั้น ย่อมไม่เหมือนเดิม อาจจะมีรากของเดิม แต่ก็จะไม่ใกล้เคียงของเดิม ค่ะ

  • @สมควรงามล้ํา
    @สมควรงามล้ํา 2 ปีที่แล้ว

    ผมคนเล่นพระและสะสมซื้อ-ขายพระเครื่อง ได้ความรู้ใหม่ๆจากคลิปของอาจารย์มากเลยครับ ติดตามตลอด

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับคุณสมควร

  • @BoyBoy-wc6mm
    @BoyBoy-wc6mm 2 ปีที่แล้ว +2

    คนไทยเก่งมานานแล้วแต่เราชอบถ่อมตัว

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      555 ใช่ครับ

  • @khemanijsenachakra5850
    @khemanijsenachakra5850 2 ปีที่แล้ว +1

    ชอบที่อาจารย์เกริ่นและจบไว้มากครับว่า จุดเด่นของอารยธรรมโบราณของไทยอาจไม่ได้เน้นเรื่องความยิ่งใหญ่ แต่เน้นด้านการพัฒนาจิตใจมากกว่า ทำให้ประวัติศาสตร์ยุคโบราณน่าสนใจกว่าเดิมอีกครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณครับคุณ Khemanij
      การมองอดีตในมุมที่ต่างออกไป อาจส่งผลต่อทิศทางพัฒนาของเราที่แตกต่างออกไปด้วย

    • @khemanijsenachakra5850
      @khemanijsenachakra5850 2 ปีที่แล้ว

      @@taspien และทำให้เราสนใจที่ตัวการพัฒนากับการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสมัยนิยม มากกว่าการยึดติดที่ความยิ่งใหญ่แบบกระแสนิยมด้วยครับ😄

  • @xyty1953
    @xyty1953 2 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ แบบนี้เรายืมพระเครื่องจากนักสะสม ในเมืองไทยยืมศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบ อายุ และบรรดาของโบราณทุกชิ้น ที่ทราบที่มา ทราบแหล่งกรุ เพื่อนำมาศึกษาทางโบราณคดีของเมืองไทย หลักฐานในสมัยทวารวดีก็จะได้หนาแน่นขึ้น

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ใช่ครับ คุณ xy ty ถ้าได้ความร่วมมือจากกลุ่มสะสมพระเครื่อง ก็จะยิ่งทราบข้อมูลมากขึ้น

  • @kanthapich
    @kanthapich 2 ปีที่แล้ว +1

    ผมเคยขึ้นไปเที่ยวบนเขาบริเวรนี้กับท่านคุณหมอวินิจ เมื่อ 40 กว่าปี แต่เดินไปไม่ถึงเจดีย์หมายเลข 1 คงต้องหาเวลาไปเที่ยวตามรอยอาจารย์ดูบ้าง

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      โห..นานมากครับ

    • @kanthapich
      @kanthapich 2 ปีที่แล้ว +1

      @@taspien ตั้งแตยังไม่ประกาศเป็น วนอุทยานพุม่วง ขึ้นไปกับกลุ่มหมอ ครับ

  • @candylucky15
    @candylucky15 2 ปีที่แล้ว

    น่าสนใจมากเลยค่ะ เมืองสุพรรณ/ อู่ทอง/ โสวัณ เป็นอะไรที่น่าค้นหามากๆ ค่ะ ได้มุมมองที่น่าสนใจ ขอบคุณอาจารย์มากค่ะ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณ Candy

  • @pisutweerakitikul2978
    @pisutweerakitikul2978 2 ปีที่แล้ว +1

    🙏 สวัสดีครับอาจารย์ อยากทราบว่า แนวคิดการสร้างพระพิมพ์เพื่อสืบอายุพระศาสนา แนวคิดแบบนี้เกิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศไหนครับอาจารย์

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      ไม่แน่ใจครับ
      แต่ที่เจอเยอะหน่อยก็รัฐในแถบอินเดียเหนือ นับจากสมัยราชวงค์คุปตะเป็นต้นไป

    • @pisutweerakitikul2978
      @pisutweerakitikul2978 2 ปีที่แล้ว +1

      @@taspien 😇 ขอบคุณครับอาจารย์

  • @jaturongpalaklang6225
    @jaturongpalaklang6225 2 ปีที่แล้ว

    #พระมิลลิกะเถระ หรือ มัญลิกะเถระครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      เดี๋ยวจะลองดูครับ

  • @krishnanarayan4558
    @krishnanarayan4558 2 ปีที่แล้ว

    👌👍💖👌👍💐

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับคุณ Krishna

  • @tanickboy3264
    @tanickboy3264 2 ปีที่แล้ว +1

    แผ่นดินไทยคือแดนเกิดของพระพุทธเจ้าครับ ไม่ใช่อินเดียและเนปาล คงอยู่มาถึงปัจจุบันครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      สวัสดีครับคุณ Tanick
      หากยึดถือตามนั้น ก็จะมีข้อสงสัยเรื่องที่เราพบ "เสาพระเจ้าอโศก" จำนวนมากในอินเดีย เราจะอธิบายเรื่องนี้ยังไงครับ

    • @Intirajpurapharm
      @Intirajpurapharm 2 ปีที่แล้ว +1

      @@taspien อาจารย์ได้อ่านงานศึกษาค้นคว้าของ อ.ธนบดี รึยังครับผม เกี่ยวกับประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยครับ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว

      @@Intirajpurapharm ยังเลยครับ เดี๋ยวจะลองดูในเน็ตนะครับ

  • @จิราวรรณชาวนา-ศ5ท
    @จิราวรรณชาวนา-ศ5ท 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์ที่พามาดูเจดีย์โบราณทำให้ดิฉันคิดว่าคนในสมัยนั้นนับถือพุทธและพยายามแสวงหาความหลุดพ้นคงจะเป็นสมัยที่ผู้คนอยู่อย่างสงบเรียบง่ายและคงไม่วุ่นวายเหมือนคนสมัยนี้นะคะทำให้คิดได้ว่าคนเราบางคนยิ่งมีความเจริญขึ้นกลับไม่นึกถึงความสงบและทางหลุดพ้นอย่างสมัยโบราณเลยนะคะขอบคุณค่ะที่พาไปพบสิ่งที่แสดงให้เห็นอารยะธรรมในสมัยนั้นค่ะ

    • @taspien
      @taspien  2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับคุณจิราวรรณ