การประเมินอาการผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล (Pre-hospital Trauma Patient Assessment)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 5 ก.พ. 2025
  • วิดิทัศน์แสดงขั้นตอนการประเมินอาการผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาลอย่างถูกต้อง ตามหลักการของ PHTLS 9th Edition พร้อมคำบรรยายภาษาไทย สามารถนำไปฝึกฝนได้ทันที

ความคิดเห็น • 27

  • @พ่อน้องแทนคุณ-ช2ฦ
    @พ่อน้องแทนคุณ-ช2ฦ ปีที่แล้ว +14

    สอนได้ดีมากคับ ตอนนี้ผมเป็นกู้ชีพอยู่ช่วยได้เยอะเรยคับ

  • @MORPOM1554
    @MORPOM1554 2 ปีที่แล้ว +2

    ระเอียดเเละชัดเจนเจน เข้าใจง่ายครับ

  • @kaikamonh
    @kaikamonh ปีที่แล้ว +4

    สอนดีมากครับ

    • @makskliht7694
      @makskliht7694 วันที่ผ่านมา

      1-я 3-я 3-я ТЗ

  • @nata-dt9lv
    @nata-dt9lv ปีที่แล้ว +2

    อยากทราบ การรายงานให้ศูนย์สั่งการทราบ ควรรายงานอะไรบ้างตามหลักวิชาการครับ?

    • @phtlsthailand1345
      @phtlsthailand1345  ปีที่แล้ว +4

      ตามปกติการรายงานศูนย์สั่งการประกอบด้วย
      1. ข้อมูลทั่วไปผู้ป่วย
      ชื่อ อายุ เพศ เลขบัตรประจำตัวประชาชน
      2. ข้อมูลทางการแพทย์ เพื่อให้แจ้งโรงพยาบาลเตรียมรับผู้ป่วย ใช้ตัวย่อ M-I-S-T
      M mechanism of injury กลไกการบาดเจ็บเป็นแบบใด blunt หรือ penetrating
      I Injury part บาดเจ็บส่วนไหน ให้เรียงตามลำดับ XABCDE จะได้ไม่ตกหล่น
      S signs and symptoms อาการและอการแสดง พร้อมทั้งสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
      T Treatment การรักษาที่ได้ให้ไปแล้ว ให้เรียงตามลำดับ XABCDE เช่นกัน

  • @Aamtatii
    @Aamtatii 4 ปีที่แล้ว +2

    ขออนุญาตสอบถามค่ะ การประเมินของ emr ใช้หลักการเดียวกันมั้ยึะ ไล่จาก xabcde หรือแค่เฉพาะ xabc คะ

    • @phtlsthailand1345
      @phtlsthailand1345  4 ปีที่แล้ว +2

      ขออภัยที่ตอบช้าครับ NAEMT มีหลักสูตรสำหรับ EMR เรียกว่า TFR ซึ่งทางเราไม่ได้ขอลิขสิทธิ์มาสอน แต่แนวทางการประเมินแนะนำให้ใช้ XABC ในผู้บาดเจ็บที่ทีอาการวิกฤติ และ XABCDE สำหรับผู้บาดเจ็บไม่วิกฤติ เมื่อพิจารณาตามบริบทกฎหมายไทย EMR อาจประเมินโดยส่วนรวมและห้ามเลือดก่อนได้เท่านั้นครับ

    • @Aamtatii
      @Aamtatii 4 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากค่า

    • @PoundPound-ft1tw
      @PoundPound-ft1tw 2 ปีที่แล้ว

      @@phtlsthailand1345 , A* c.

  • @มินตราจาระ
    @มินตราจาระ ปีที่แล้ว

    กรณีผู้เป็นป่วยเป็นหญิงสาว ทำแบบนี้ได้ใช่ไหมค่ะ

    • @phtlsthailand1345
      @phtlsthailand1345  ปีที่แล้ว +2

      วิดีโอนี้ทำเพื่อการศึกษาว่ามีจั้นตอนอย่างไร
      ในเหตุจริงไม่ควร expose ถ้าไม่จำเป็นเช่นมีบาดแผลที่หน้าอกครับ
      ขอให้ใช้วิจารณญาณในการประเมินและรักษาตามสถานการณ์อย่างเหมาะสมครับ

  • @janejiraprachakun3391
    @janejiraprachakun3391 3 ปีที่แล้ว +2

    ขออนุญาตสอบถามค่ะคือ อยากถามการประเมินอาการคนไข้เกี่ยวกับเคสคนไข้ที่มีอายุ36ปีมาโรงพยาบาลด้วย3วันก่อนมาถ่ายเหลวเป็นน้ำ4-5 ครั้งต่อวัน มีไข้แรกรับTemp 38.0 องศา PR112/min, BP 90/60mmHg
    The patient's problems were :
    (1) dehydration, Fever
    (2) Blood pressure decrease
    (3) กลไกการปรับตัวเพื่อรักษาภาวะ Homeostasis ในผู้ป่วยรายนี้

    • @phtlsthailand1345
      @phtlsthailand1345  3 ปีที่แล้ว +2

      คำถามคือข้อ 3 หรือเปล่าครับ

    • @janejiraprachakun3391
      @janejiraprachakun3391 3 ปีที่แล้ว

      @@phtlsthailand1345 มี 3ข้อค่ะ

    • @ongnarukami4451
      @ongnarukami4451 2 ปีที่แล้ว

      งงคำถาม

    • @anuchitsomwan1035
      @anuchitsomwan1035 ปีที่แล้ว

      คำตอบน่าจะ septic shock ค่ะ

  • @АружанАйбульдинова
    @АружанАйбульдинова 2 หลายเดือนก่อน

    😊

  • @Tanakrit12
    @Tanakrit12 4 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @itidedu99007
    @itidedu99007 4 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับขออนุญาตแชร์เผยแพร่นะครับ

  • @พี่ม่อน-ง2ฬ
    @พี่ม่อน-ง2ฬ 9 หลายเดือนก่อน +19

    อีกหน่อย​เธอ​คง​เข้าใจ​ แอม​ เสาวลักษณ์

  • @kaikamonh
    @kaikamonh ปีที่แล้ว +6

    สอนดีมากครับ