การเบิกจ่ายค่าเช่าบ้านข้าราชการ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 30 ก.ย. 2024
  • โดย สำนักการคลัง

ความคิดเห็น • 24

  • @ถูกต้อง-ม2ร
    @ถูกต้อง-ม2ร 4 ปีที่แล้ว +4

    ยกเลิกไปเลยครับ มันเจ็บปวด บางคนได้บางคนไม่ได้ เลวสุดๆ

  • @ครูกาญจนา-ฬ4ฏ
    @ครูกาญจนา-ฬ4ฏ 10 หลายเดือนก่อน

    ครูที่อยู่ต่างจังหวัดสามารถเบิกค่าเช่าบ้านได้ไหม คนละจังหวัดจากที่อยู่ทะเบียนบ้าน

  • @นายปุณณรัตน์โมกกงจักร

    ถ้าไม่ได้ค่าเช่าบ้าน แต่ต้องไปเช่าหออยู่เอง เงินเดือนก็น้อย ร้องเรียนได้ที่ไหนครับ เจ็บปวดมาก เจ็บปวดที่สุด เงินเดือนก็น้อยแต่ต้องมาจ่ายค่าเช่าห้องเอง จะไปเหลืออะไร

  • @samsunggalaxy-lh4xk
    @samsunggalaxy-lh4xk 2 ปีที่แล้ว

    ถามเพิ่มต่อจากนาทีที่ 1.15.53 ว่าถ้าเป็นการกู้ซื้อคนเดียว ในสัญญาซื้อขายเป็นคนเดียว
    แต่ฉโนดลงเป็นชื่อร่วมอ่ะ เช่น ชื่อลูก เวลาส่ง ธ. ก็ส่งคนเดียว แบบนี้จะเบิกได้เต็มตามสิทธิ์มั้ย หรือต้องหารสัดส่วนกัน

  • @nonglakeise2819
    @nonglakeise2819 2 ปีที่แล้ว

    ถ้าปลูกบ้านในที่ดินโฉนดชื่อตัวเองใช้สิทธิเช่าชิ้อได้ไหมคะ

  • @lovegalaxyable
    @lovegalaxyable 3 ปีที่แล้ว

    เข้าใจง่าย ด้วยเหตุและผลประกอบระเบียบหลักเกณฑ์

  • @กิตติชาตรังสิมันต์

    ฟังชายเข้าใจง่ายฟังหญิงลึกคำตัวบทมากเกินไปงง..

  • @วิทย์ท่าโพธิ์
    @วิทย์ท่าโพธิ์ 2 ปีที่แล้ว

    สงสัยคำบรรยายของคุณพี่ตุ้ยบอกว่ามาตรา 4 ท้องที่หมายถึงกรุงเทพ อำเภอ กิ่งอำเภอ มาตรา 5 กระทรวงการคลังมีอำนาจประกาศรวมท้องที่หลายท้องที่เป็นท้องที่เดียวกัน ซึ่งเมื่อกี้ก็พูดบรรยยายชัดเจนว่ากระทรวงการคลังยังไม่เคยมีประกาศกระทรวงการคลังให้รวมท้องที่ในการเบิกค่าเช่าบ้านของข้าราชการตาม พรก นี้ เป็นท้องที่เดียวกันเลยแม้แต่ท้องที่เดียว แล้วการเบิกค่าเช่าบ้านต่างท้องที่เช่าอยู่จริงและเบิกค่าเช่าบ้านท้องที่ใดก็ได้นี้ใช้อำนาจตามมาตราใด หรือประกาศกระทรวงการคลังฉบับใด หรือหนังสือกระทรวงการคลังลงวันที่เท่าใด หรือมาตรา 4 มาตรา 5 ไม่มีผลบังคับใช้แล้ว ให้ใช้คำบรรยายของท่านพี่ตุ้ย ซึ่งใหญ่กว่าประกาศกระทรวงการคลัง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่การเงินทั่วประเทศทำตามคำบรรยายของคุณ ให้เบิกต่างท้องที่ได้เลย ซึ่งผมสงสัยอยากจะขอดูเอกสารไม่ใช่คำพูดลอยๆ ซึ่งถ้าไม่มีเอกสารใดๆ เกรงว่าจะเป็นการเบิกค่าเช่าบ้านไปเหมือนโกงเงินภาษีของประชาชนหรือไม่ หรือคำพูดนี้ใหญ่กว่า มาตรา 4 และ 5 หัวหน้าส่วนราชการทุกหน่วยทุกจังหวัดปฏิบัติตามได้เลย จับท้องที่มารวมกันและอนุมัติให้ลูกน้องเบิกต่างท้องที่ ต่างจังหวัดได้เองเลย ซึ่งมันไม่ได้มีการระบุในกฎหมายให้หัวหน้าส่วนราชการกระทำได้โดยไม่สนใจหรือไม่รู้จักมาตรา 4 หรือ 5 ได้เลยโดยยึดเอาจากคำพูดบรรยายของพิธีกรเป็นหลักแทนกฎหมาย ผมดูแล้วถ้าประชาชนทั่วไปอาจจะเข้าใจไปว่าเป็นกระบวนการทุจริตเงินภาษีประชาชนหรือไม่ ขอผู้ที่มีความรู้ตรงนี้ช่วยตอบผมด้วย และขอหนังสือด้วยครับ เพราะการเบิกเงินราชการต้องเบิกด้วยเอกสาร ข้อกฎหมาย ไม่ใช่แค่คำพูดใช่หรือไม่ ถ้ามีเอกสารขอให้ช่วยลงในสื่อทั่วไปด้วย ขอบคุณมากคับผม

    • @champnew868
      @champnew868 2 ปีที่แล้ว

      คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6178/2539
      มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชโจทก์
      นาง วรรณี ชลนภาสถิตย์หรือบรรทัดจำเลย
      ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม. 406
      พระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ.2527 ม. 7, 16, 17
      เดิมจำเลยรับราชการที่กรมวิเทศสหการโดยเริ่มรับราชการครั้งแรกที่หน่วยงานในท้องที่กรุงเทพมหานครและได้โอนมารับราชการที่มหาวิทยาลัยโจทก์ตั้งแต่วันที่16มกราคม2526ซึ่งขณะนั้นที่ทำการของโจทก์ตั้งอยู่ที่ทบวงมหาวิทยาลัยเขตพญาไทกรุงเทพมหานครต่อมาได้ย้ายที่ทำการไปอยู่ที่ตำบลบางพูดอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีการที่โจทก์ย้ายสำนักงานหรือที่ทำการจากท้องที่ในกรุงเทพมหานครไปอยู่ในท้องที่จังหวัดนนทบุรีโดยจำเลยต้องย้ายติดตามไปปฏิบัติราชการประจำที่สำนักงานแห่งใหม่ของโจทก์มีผลเท่ากับจำเลยได้รับคำสั่งให้เดินทางไปประจำสำนักงานแห่งใหม่ของโจทก์ในต่างท้องที่
      ***********และการที่จำเลยเช่าบ้านอยู่***นอกเขตท้องที่สำนักงานแห่งใหม่***ของโจทก์ไม่อยู่ในข้อยกเว้นของมาตรา7วรรคหนึ่ง(1)ถึง(4)หรือมาตราอื่นใดแห่งพระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการพ.ศ.2527อันจะเป็นเหตุให้จำเลยไม่มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการจำเลยมีสิทธิเบิกเงินค่าเช่าบ้านข้าราชการได้

    • @วิทย์ท่าโพธิ์
      @วิทย์ท่าโพธิ์ 2 ปีที่แล้ว

      @@champnew868 คำสั่งศาลจะใช้เฉพาะรายกรณีใครกรณีมัน คดีคนละคดี บ้านคนละหลัง คนละท้องที่ คนละจังหวัด คนละคนอย่าเอามาปนกันใช้เฉพาะรายกรณีกรณีไปคับ ใครที่ศาลตัดสินแล้วก็เบิกกันไป แต่คนที่ศาลยังไม่ตัดสิน กระทรวงการคลังยังไม่ประกาศรวมท้องที่ ข้าราชการคนนั้นไปเอาอำนาจมาจากไหนขยายขอบเขตท้องที่ มาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ 2547 ซึ่งทุกมาตราใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการเบิกค่าเช่าบ้านของข้าราชการ อำนาจในการขยาย รวมท้องที่ตรงนี้เป็นของกระทรวงการคลัง จัดทำประกาศกระทรวงการคลัง ตามมาตรา 5 ข้าราชการทั่วไปเบิกตามเสียงที่มาจากการไปอบรมกับวิทยากร และทางโทรศัพท์ถามกรมบัญชีกลางบอกว่าเบิกได้เลยเบิกตามเสียงที่เขาว่ามา ซึ่งมันไม่มีความโปร่งใสตามหลักของทางราชการต้องตรงตามกฎหมาย ระเบียบกระทรวงการคลัง หนังสือราชการต่างๆจากกระทรวงการคลังแต่เบิกด้วยเสียงมันใช่หรือ ข้าราชการเกิดสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านได้แต่ขยายไม่ได้ก็เบิกท้องที่เดียวไปซิคับ ขยายออกไปเองก็ต้องเช่าเองจากเงินกระเป๋าตัวเองสิ เอาภาษีประชาชนไปเบิกด้วยเสียงที่ได้ยินมาได้อย่างไร สรุปคือเขาทำผิดกฎหมายขยายเอง แล้วเบิกได้แล้วทำตามกันไป แล้วคิดว่าถูกแล้ว เห็นเขาเบิกกันได้ คนเขาทำเขาเบิกกันเยอะแยะ เหมือนคนขับรถคับไม่ใช่ว่าพอมีใบขับขี่แล้ว เกิดสิทธิขับรถได้แล้ว ขับย้อนศรได้ ผ่าไฟแดงได้ เมาแล้วขับได้ ไม่สวมหมวกกันน็อคได้ จอดรถในที่ห้ามจอดได้ วิ่งจี้ตูดได้ เขาขับกันเยอะแยะมันถูกหรือคับ นี่หรือกฎหมายไทย อ้อไม่ใช่กฎหมายเขาเขียนไว้ศักดิ์สิทธิ์และ แต่คนไทย ข้าราชการไทยไม่สนเองมากกว่า

    • @champnew868
      @champnew868 2 ปีที่แล้ว

      @@วิทย์ท่าโพธิ์ เอ้าไปกันใหญ่555

    • @champnew868
      @champnew868 2 ปีที่แล้ว

      @@วิทย์ท่าโพธิ์ ไอ้ที่ว่า
      "เบิกท้องที่เดียวกัน"
      นั้นแหละ คือไม่มีเขียนในกฎหมาย ครับ
      ไม่เขียนก็คือไม่ห้าม
      เพราะ 47 แก้แล้ว แต่ก็คือแก้ให้เป็นตามแนวฎีกา ที่ผม ลงไว้นั้นเอง
      หาก กระทรวงการคลังซึ่งแพ้ คดี ในคำพิพากษาศาลฎีกาฉบับที่ผมลงไว้ ไม่เห็นด้วยกับคำพิพากษานั้น
      ตอนที่ยกร่าง ฉ 47 คงใส่ เงื่อนไขการเบิกจ่าย
      ให้ชัดเจนว่า
      "ต้องเบิกเฉพาะค่าเช่าในท้องที่ ที่ย้ายไปเท่านั้น"
      ไว้ใน ฉ. 47 แล้ว
      แต่ ก็ไม่ได้ใส่ ท่อนนี้ไว้
      คุณจะไปตีความกฎหมาย โดยอาศัย เงื่อนไขที่ไม่อยู่ในกฎหมายไม่ได้

    • @วิทย์ท่าโพธิ์
      @วิทย์ท่าโพธิ์ 2 ปีที่แล้ว

      @@champnew868 คุณเป็นข้าราชการหรือเปล่าระบบราชการเขาเบิกเงินกันต้องมีหนังสือ คำสั่งหรือกฎหมายไม่ใช่โดยคำพูดในที่นี่่ไม่มีหนังสือนำส่งว่าให้ข้าราชการขยายขอบเขตของท้องที่ออกไปได้เอง หนังสือแจ้งส่วนราชการว่าเบิกค่าเช่าบ้านต่างท้องที่ได้เมื่อเกิดสิทธิแล้วมาตรา 4 ไม่ต้องใช้แล้วให้เลิกใช้ แต่ให้เบิกตามคำพูดนี้แทน

  • @วิทย์ท่าโพธิ์
    @วิทย์ท่าโพธิ์ 2 ปีที่แล้ว

    สงสัยขอถามเพิ่มเติมคับผม ทำไมถึงไม่บรรยายให้ปฏิบัติตามกฎหมาย จะเบิกค่าเช่าบ้านต่างท้องที่ให้ไปดูมาตรา 4 5 ขอบเขตของท้องที่แค่ไหน ให้ปฏิบัติตาม ทำไมต้องบรรยายแบบอนุโลมให้เขาปฏิบัติตามโดยคิดขึ้นมาเอง คิดและพูดออกมาบอกว่าเบิกค่าเช่าบ้าน บ้านเช่าตั้งอยู่ต่างท้องที่เบิกได้ คุณพี่ตุ้ยใช้เหตุผลใดมาอ้างให้เขาทำผิดกฎหมาย เช่นต่างจังหวัดลูกน้องย้ายมาอำเภอเมืองตาก แต่เขาไปเช่าบ้านอำเภอแม่สอด หรืออำเภอทองผาภูมิ กาญจนบุรีเบิกได้ หัวหน้าส่วนราชการใช้อำนาจตามกฎหมายมาตราใด หนังสือฉบับใด และเหตุผลใดในการอนุโลมให้เบิกได้ เช่น บ้านเช่าอำเภอเมืองตากหมดแล้วหรือ หรืออำเภอเมืองตากเดินทางจากบ้านเช่ามาที่ทำงานห่างไกล ธุรกันดาร ใช้เวลาเดินทางยาวนานมากกว่า 10 ชั่วโมง ต้องนั่งรถ เรือ หลายต่อ ทำให้ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมากมายหัวหน้าส่วนจึงเห็นใจจึงอนุโลมให้ลูกน้องรายดังกล่าว จึงจับท้องที่มารวมเป็นท้องที่เดียวกัน และอนุมัติให้เบิกได้เองทุกเดือนๆ เลย 5000 / 6000 7000 บาท ไม่ต้องทำตามมาตรา 4 5 ไม่สนไม่รู้จักโว้ย ทำตามคำบรรยายของพี่ตุ้ยมันถูกรึเปล่า ผมติดใจสงสัยมากคับ หรือระบบราชการเขาเบิกเงินกันด้วยคำพูดแบบนี้ มันใช่หรือคับคุณพี่ เบิกเงินตามเสียงบรรยาย ตามเสียงโทรศัพท์กันนี่น้ะคับ ซึ่งตอนนี้มีการเบิกเงินกันจริงๆ ทุกสำนักงาน ทุกหน่วยงานทุกจังหวัดทั่วประเทศ ไม่เชื่อขอให้ไปขอดูเอกสารได้ที่หน่วยงานราชการใกล้บ้านทุกหน่วย ทุกจังหวัดเลยครับ

    • @champnew868
      @champnew868 2 ปีที่แล้ว

      ท้องที่เป็นเรื่อง การเกิดสิทธิ
      เช่น ย้ายจากไปคนละอำเภอ คือ ต่างท้องที่ เช่นนี้ เกิดสิทธิ
      แต่ถ้า ย้ายไปคนละอำเภอ แต่ อำเภอที่สองนั้น กระทรวงการคลังประกาศให้เป็นท้องที่เดียวกันกับอำเภอแรก เช่นนี้ ไม่เกิดสิทธิ
      นี่คือเงื่อนไขการเกิดสิทธิ หรือ "หลัก" อยู่ในมาตรา ๗ วรรคแรกตอนต้น ที่ว่า
      "ขรก.ได้รับคําสั่งให้เดินทางไปประจําสํานักงานในต่างท้องที่มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการ..."
      หลักเกิดสิทธิ มีเพียงว่า
      1. เป็นขรก.
      2. ได้รับคำสั่งให้ไปประจำสำนักงาน "ต่างท้องที่"
      เมื่อเข้าเงื่อนไขทั้งสองนี้ ผลคือ "เกิดสิทธิ"
      (จะเห็นว่า ไม่มีเงื่อนไขว่า มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้าน "ซี่งเช่าอยู่ในท้องที่ที่ไปประจำ" กฎหมายไม่เขียนคำนี้ไว้ เนื่องจากเล็งเห็นว่าอาจทำให้เกิดความไม่สะดวก ในการพักอาศัยในบางพื้นที่ เช่น ที่ทุรกันดาร หรือเป็นพื่นที่เสียงภัยมากๆ หรืออาจเป็นท้องที่อำเภอเล็กๆ ท้องไร่ท้องนา ไม่มีธุรกิจบ้านพัก อพาร์ทเมนต์ หรือเต็มหมดก็เป็นได้)
      ส่วนข้อยกเว้นไม่เกิดสิทธินั้น อยู่ใน มาตรา ๗ วรรคแรกตอนท้าย ซึ่งเป็น "ข้อยกเว้นของหลัก"
      (หมายความว่า ครบเกณฑ์เข้าเงื่อนไขเกิดสิทธิ ทั้งสองข้อตามที่อธิบายมาแล้ว) แต่ ยกเว้นไม่ให้เกิดสิทธิ ในกรณี ตาม (1) - (3)
      ซึ่งตาม (1) - (3) ไม่มีข้อยกเว้นว่า "ข้าราชการผู้นั้น เช่าบ้านอยู่นอกท้องที่ ที่ได้รับคำสั่งให้ไปประจำ"
      ดังนั้น เมื่อเกิดสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านแล้ว จะเช่าบ้านในท้องที่ไหน ก็เชิญ ตามความสะดวกสบายของข้าราชการผู้นั้น
      ดังเหตุผลในคำพิพากษาศาลฎีกา6178/2539
      นอกจากนั้น ยังปรากฏร่องรอยเจตนารมณ์ของกฎหมาย ที่ต้องการผ่อนผันให้ ข้าราชการเบิกค่าเช่าบ้าน นอกท้องที่ที่ย้ายไปประจำอยุ่ได้ ดังปรากฏในมาตรา 15
      "มาตรา ๑๕ ในกรณีที่ข้าราชการซึ่งได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการอยู่แล้วในท้องที่หนึ่ง
      และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ไปรับราชการในท้องที่อื่นซึ่งตนมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการตามพระ
      ราชกฤษฎีกานี้ให้ข้าราชการผู้นั้นมีสิทธินําหลักฐานการชําระค่าเช่าบ้านในท้องที่เดิมมาเบิกค่าเช่า
      บ้านข้าราชการในท้องที่ใหม่ได้ถ้าคู่สมรสหรือบุตรซึ่งอยู่ในอุปการะของข้าราชการผู้นั้นไม่อาจติดตาม
      ข้าราชการผู้นั้นไปได้และมีความจําเป็นต้องอาศัยอยู่ในบ้านในท้องที่เดิมต่อไป"
      ยกต้วอย่างเช่น นาย ก.และครอบครัว เกิดสิทธิเบิกค่าเช่า ที่จังหวัดตราด (เช่าบ้านทำงานอยุ่ จ. ตราด)
      ต่อมา นาย ก. ถูกย้ายไป จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งภรรยาและลูกไม่อาจติดตามไปได้ และมีความจำเป็นต้องอาศัยอยู่ใน จ.ตราด ท้องที่เดิม
      มาตรา 15 นี้ ให้นาย ก. นำสิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน ใน จ.ตราดนี้ ไปเบิกต่อ ขณะตนทำงานอยู่ต่างจังหวัดได้
      ก็จะเห็นได้ว่า นาย ก. ทำงานอยุ่แม่ฮ่องสอน แต่ก็เบิกค่าเช่าบ้านที่ จ.ตราด ได้
      หรือกรณี ตาม มาตรา 18 ที่ ขรก. ทำเรื่อง เบิกค่าเช่าซ์้อบ้านไว้ในท้องที่หนึ่ง เมื่อย้ายไปอีกท้องที่หนึ่ง ก็เบิกค่าเช่าซื้อบ้านในท้องที่แรกต่อไปได้ ซึ่ง ก็เป็นการเซ่าซื้อบ้าน นอกท้องที่ ที่ไปประจำอยุ่ เช่นกัน
      "มาตรา ๑๘ ข้าราชการซึ่งได้ใช้สิทธินําหลักฐานการชําระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชําระ
      เงินกู้เพื่อชําระราคาบ้านมาเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการตามมาตรา ๑๗ และต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ไปรับ
      ราชการในท้องที่อื่นซึ่งตนมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านข้าราชการตามพระราชกฤษฎีกานี้ให้ข้าราชการผู้นั้น
      มีสิทธินําหลักฐานการชําระค่าเช่าซื้อหรือค่าผ่อนชําระเงินกู้เพื่อชําระราคาบ้านในท้องที่เดิมมาเบิกค่า
      เช่าบ้านข้าราชการในท้องที่ใหม่ได้"

    • @champnew868
      @champnew868 2 ปีที่แล้ว

      ปัญหาของผู้ถาม เกิดขึ้น เพราะไปเพิ่ม เงื่อนไข การเกิดสิทธิ ครับ
      คือ ผู้ถาม เข้าใจดังนี้
      หลักเกิดสิทธิ
      1. เป็นขรก.
      2. ได้รับคำสั่งให้ไปประจำสำนักงาน "ต่างท้องที่"
      3. ต้องเป็นบ้านที่เช่าอยู่ใน ท้องที่ ที่ไปประจำ
      ซึ่ง เงื่อนไข ข้อ 3 นี้ ต่างหาก ที่ไม่มีในกฎหมาย
      ผู้ถามไปบัญญัติ เงื่อนไขขึ้นมาเอง เมื่ออ่านมาตรา 7 แล้ว จะพบว่า ไม่มีเงื่อนไข ในข้อ 3 นี้ ครับ
      ถ้าเป็นการสอบกฎหมาย อาจารย์ก็ต้องเตือนว่า "เธออย่าไปร่างกฎหมายขึ้นมาเอง"
      จะได้ A อยู่แล้วเชียว (ฮา)
      หยอกๆ ขำๆ นะครับ

    • @วิทย์ท่าโพธิ์
      @วิทย์ท่าโพธิ์ 2 ปีที่แล้ว

      @@champnew868 การเกิดสิทธิคือเกิดสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านได้โดยการพิสูจน์สิทธิตามมาตรา 7 ซึ่งเกิดขึ้นในท้องที่อำเภอเดียว แต่ข้าราชการคนนั้นไม่ได้เกิดสิทธิในการขยายท้องที่ตามมาตรา 4 และมีอำนาจตามมาตรา 5 ไม่มีสิทธิ ไม่มีอำนาจทางกฎหมายในการขยายหรือเปลี่ยนขอบเขตของท้องที่แต่อย่างใด จึงมีสิทธิเช่าที่อำเภอท้องที่เดียวเพราะกฎหมายไม่ได้ให้สิทธิไว้ให้ขยายได้เอง และที่บอกว่าศาลเคยตัดสินไว้มันก็เป็นเฉพาะรายกรณีๆ ไป ซึ่งค่าเช่าซื้อก็มีคำสั่งศาลปกครองตัดสินไว้ให้เบิกได้หลายคดีแต่ไม่ได้มีการเอามาเป็นบรรทัดฐานแต่อย่างใด เป๋นรายกรณีเฉพาะราย ๆ ก็เบิกกันไป

    • @วิทย์ท่าโพธิ์
      @วิทย์ท่าโพธิ์ 2 ปีที่แล้ว

      @@champnew868 ถูกต้องครับเกิดสิทธิค่าเช่าบ้าน โดยการพิสูจน์สิทธิตามมาตรา 7 ในท้องที่ที่ย้ายไปท้องที่อำเภอเดียวว่าไม่มีบ้านเป็นกรรมสิทธฺ์ของตนเองและคู้สมรส และไม่มีบ้านพักที่จัดให้ และไม่มีเงื่อนไข ไม่ระบุข้อห้ามไว้ และข้าราชการคนนี้มีสิทธิเบิกค่าเช่าบ้านได้ ไม่เถียงคับ แต่ข้าราชการคนนี้ ผู้บังคับบัญชาของข้าราชการคนนี้ก็ไม่มีสิทธิจับเอาท้องที่อำเภอเดียวมารวมกันเอง ทำการขยายขอบเขตของท้องที่ออกไปได้เองอยู่ดีคับ ไปอ่าน พรก ค่าเช่าบ้านข้าราชการ 2547 น่ะคับ ไม่ใช่ 2527 ตามของคุณ ตั้งแต่อักษรตัวแรกเลยคับจะได้รับรู้ว่า พรก ค่าเช่าบ้านข้าราชการฉบับนี้ ใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการเบิกค่าเช่าบ้าน ค่าเช่าซื้อ ค่าผ่อนชำระเงินกู้ซื้อบ้านของข้าราชการทุกคนใช้ร่วมกันทุกมาตราจริงๆ รึเปล่า

    • @champnew868
      @champnew868 2 ปีที่แล้ว

      @@วิทย์ท่าโพธิ์ มีใครไปเอาท้องที่อื่น มารวมเป็นท้องที่เดียวกันที่ไหนล่ะครับ
      เกิดสิทธิแล้ว
      จะเช่าบ้านที่ไหน
      "มีมาตราไหน" บอกว่าให้เช่าใน
      "ท้องที่ ที่ย้ายไปเท่านั้นหรือไม่"
      ตอบนี่ให้ได้ก่อน
      อ่านกฎหมายไม่เป็น
      ไม่เข้าใจนิติวิธี
      แม้กระทั่ง การตีความหลัก และข้อยกเว้น

  • @flowers9521
    @flowers9521 5 ปีที่แล้ว

    พี่เราเก่งจังเลย

  • @greensatan11palm37
    @greensatan11palm37 4 ปีที่แล้ว

    บรรยายได้ดีมากครับผม