พุทธวจน พระอาจารย์คึกฤทธิ์บรรยายจิตหลุดพ้นชัดเจนมาก(อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) โดยพระอาจารย์คึกฤทธิ์

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 21 ก.ค. 2022
  • พุทธวจน พระอาจารย์คึกฤทธิ์บรรยายจิตหลุดพ้นชัดเจนมาก(อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
    บรรยายโดยพระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล วัดนาป่าพง
    ศึกษา ปฎิบัติและเผยแผ่แต่คำสอนของพระพุทธเจ้า
    #พุทธวจน #พระอาจารย์คึกฤทธิ์ #วัดนาป่าพง #ธรรมะ #ฟังธรรม

ความคิดเห็น • 81

  • @user-kx7ik8zv2m
    @user-kx7ik8zv2m 4 หลายเดือนก่อน +1

    น้อม,กราบ,พระธรรม,วินัย,คํา,สอน,พระศาสดาสาธุ,เจ้า

    • @buddhawajana8609
      @buddhawajana8609  4 หลายเดือนก่อน

      อนุโมทนาสาธุค่ะ

  • @poosanhan8761
    @poosanhan8761 ปีที่แล้ว +1

    น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ

  • @user-rp5qc9in4o
    @user-rp5qc9in4o 4 หลายเดือนก่อน +2

    กราบอนุโมทนา สาธุ เจ้าค่ะ

  • @user-wv3to7qq1u
    @user-wv3to7qq1u ปีที่แล้ว +1

    กราบอนุโมทนาสาธุ

  • @gdpod420
    @gdpod420 ปีที่แล้ว +1

    น้อมสาธุครับ

  • @user-iw5ov4dt5h
    @user-iw5ov4dt5h ปีที่แล้ว +1

    แสนสุข จิตโตภาส กราบสาธุค่ะพระอาจารย์

    • @buddhawajana8609
      @buddhawajana8609  ปีที่แล้ว

      อนุโมทนาสาธุค่ะ

  • @saisan6380
    @saisan6380 ปีที่แล้ว +1

    สาธุสาธุสาธุครับ

  • @nongraksreetum1145
    @nongraksreetum1145 ปีที่แล้ว +1

    กราบสาธุ"ค่ะ

  • @beemmobile5806
    @beemmobile5806 ปีที่แล้ว +4

    ลูกเพิ่งทราบวันนี้เองว่านิพพานไม่ใช่อนัตตาเพราะเหตุไม่มีอนิจจังไม่มีทุกขังจึงไม่ใช่อนัตตากราบขอบพระคุณพระอาจารย์เจ้าค่ะขอน้อมกราบองค์พระศาสดาเจ้าค่ะ

  • @np6290
    @np6290 ปีที่แล้ว +1

    กราบ กราบ กราบ

  • @user-vn8vx8il7y
    @user-vn8vx8il7y ปีที่แล้ว +1

    สาธุ​

  • @janlykling7965
    @janlykling7965 5 หลายเดือนก่อน +2

    น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะ ท่านพระอาจารย์ ผู้มีพระคุณมากในทางธรรมเจ้าค่ะ

    • @buddhawajana8609
      @buddhawajana8609  5 หลายเดือนก่อน

      อนุโมทนาสาธุค่ะ

  • @lupang1158
    @lupang1158 ปีที่แล้ว +1

    สาธุค่ะ

  • @user-lc2en4su7m
    @user-lc2en4su7m 6 หลายเดือนก่อน +1

    กราบอนุโมทนาสาธุค่ะขอบคุณค่ะ❤😊

    • @buddhawajana8609
      @buddhawajana8609  6 หลายเดือนก่อน

      อนุโมทนาสาธุค่ะ

    • @user-wd3ns2zy6g
      @user-wd3ns2zy6g 5 หลายเดือนก่อน

      ฃฃ

  • @nongprawet6354
    @nongprawet6354 ปีที่แล้ว

    สาธุๆ

  • @user-tt9iw6rv8h
    @user-tt9iw6rv8h ปีที่แล้ว

    สาธุครับ

  • @sakintarachune8461
    @sakintarachune8461 ปีที่แล้ว +1

    น้อมกราบขอบพระคุณ พระอาจารย์ผู้มีอุปการะคุณเป็นอันมากครับ

  • @chaipatboonprasert1680
    @chaipatboonprasert1680 ปีที่แล้ว +1

    กราบนมัสการพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้า พระธรรมของพระพุทธเจ้า พระสาวกของพระพุทธเจ้า สาธุ ๆ ๆ

  • @anmanikphone3411
    @anmanikphone3411 ปีที่แล้ว +2

    กราบสาธุสาธุสาธุครับ

  • @chonnisaphantong7812
    @chonnisaphantong7812 ปีที่แล้ว +2

    กราบสาธุเจ้าค่ะ อนุโมทนาสาธุกับท่านผู้เจริญ

  • @ronnayutp3976
    @ronnayutp3976 9 หลายเดือนก่อน +1

    อธิบายเปนขั้นเปนตอนได้ละเอียดมาก สาธุๆ

  • @user-he9jh7fi9m
    @user-he9jh7fi9m ปีที่แล้ว +2

    ☆น้อมนมัสการครับท่านสมณสากยปุตติยะ
    บุคคลผู้มีอุปการะมากต่อบุคคล วัดนาป่าพง
    ตถาคเต เอกนฺตคโต อภิปฺปสนฺโน
    เลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคต ถึงที่สุดโดยส่วนเดียว
    อนุสาสนีปาฏิหาริย์ของพระตถาคต
    ปาฏิหาริย์คำตรัสสอน สอนให้ปุถุชน เป็น อริยะ
    ☆☆เราเป็นบุตร เป็นโอรส เกิดจากพระโอษฐ์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า เกิดโดยธรรม เนรมิตโดยธรรม เป็นทายาทโดยธรรม-บาลี.ปา.ที.๑๑/๙๑/๕๕.

  • @Namcha2014
    @Namcha2014 ปีที่แล้ว +1

    น้อมกราบอนุโมทสาธุเจ้าค่ะ

  • @user-ub3ts9mh5x
    @user-ub3ts9mh5x ปีที่แล้ว +2

    สาธุสาธสาธุครับ

  • @waneedaw5665
    @waneedaw5665 ปีที่แล้ว +1

    สาธุค่ะ ยิ่งฟังพระอาจารย์โยมยิ่งอยากมากราบพระอาจารย์ โยมปฏิบัติจนเห็นสัตว์ตายังปล่อยจิต

  • @duangngamvillamarket7296
    @duangngamvillamarket7296 ปีที่แล้ว +1

    กราบสาธุเจ้าค่ะ

  • @ThePO3Trader
    @ThePO3Trader 6 หลายเดือนก่อน +1

    ท่านใดมีคลิปต้นฉบับที่เป็นวีดีโอบ้างครับ

    • @buddhawajana8609
      @buddhawajana8609  6 หลายเดือนก่อน +1

      เข้า พุทธวจนเรียล BBK: Pra Kukrit Savasdiphol อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

  • @user-vz1tb3jh9q
    @user-vz1tb3jh9q ปีที่แล้ว +3

    การเปลี่ยนคืออนิจจัง ขณะที่มีการเปลี่ยนคือการทนอยู่ในสภาพเดิมได้อยากนั้นคือทุกข์ การเปลี่ยนทำให้รูปเดิมมันหายไปเป็นรูปใหม่รูปเก่านั้นดับไปแล้วนั้นรูปใหม่ปรากฎ รูปเก่าคืออัตตาแล้ว ความเด็ก หรือความเป็นวานนี้ หรือแม้แต่ความเป็นห้าวินาทีที่ผ่านมารูปนั้นเป็นอนัตตาไปแล้ว นี้คือความเห็นในความหมาย พอจะเป็นไปไก้ไหม ความเกิดคือความเปลี่ยน(อนิจจัง)มีความเกิดคือมีการไม่ดำรงอยู่ในสภาพเดิม(ทุกข์)ความเกิดอุบัติพ้อมนั่นแหละความเกิดมันผ่านแล้ว(อนัตตา) ขบวนการนี้คือเกิดดับ ทุกวินาทีเป็นอนิจจัง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา ขบวนการนี้มันคือคุณสมบัติของสรรพสิ่ง ทุกๆวินาทีสิ่งนั้นนั้นปรากฎการเกิดการเปลี่ยนความทุกข์และความเป็นอนัตตาปรากฎ ถ้าความเกิดไม่ปรากฏ ความเปลี่ยนจะไม่มี ความทุกข์จะไม่มี ความเป็นอนัตตาจะมีหรือไม่มีมีค่าเท่ากัน เพราะมันไม่มีสิ่งที่จะดับ จะเอาความดับมาจากไหน จะเอาอนัตตามาจากไหน นิพพาน

    • @adketpower3624
      @adketpower3624 ปีที่แล้ว

      การอธิบาย เรื่องไตรลักษณ์ซึ่งเป็นคุณลักษณะ กับกฎอิทัปปัจจยตาและปฏิจสมุปบาท ซึ่งเป็นขบวนการเกิด(ขบวนการดำเนินไป)มาอธิบายเหมือนกันและปนกันไม่ได้ เพราะจะทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่า เหมือนกัน แต่แท้ที่จริงไตรลักษณ์เป็นเอกเทศของมันเอง แค่คุณสมบัติทั้ง3คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ทำหน้าที่สนับสนุนส่งเสริมขบวนการทั้ง2 ให้ดำเนินไปได้เท่านั้น แต่ไม่เกี่ยวข้องกัน
      1 ไตรลักษณ์ เป็นคุณลักษณะประจำของทุกๆสรรพสิ่งในโลกนี้ซึ่งรวมไปทั้งในจักรกาลและเอกภพ ไป็นลักษณะเฉพาะตัว ที่ไม่ใช่ขบวนการเกิด กล่าวคือ ตราบใดที่ทุกๆสรรพสิ่งยังอยู่ในกรอบของโลกีย์ธรรม สิ่งนั้นๆ ไม่ว่าจะมีวิญญาณครอง(คือนาม)หรือไม่มีวิญญาณครอง ก็จะต้องมีคุณสมบัติไตรลักษณ์นี้ทั้งสิ้น มันไม่ใช่ขบวนการ แต่มันเป็นกลไกสำคัญที่ทำให้เกิดขบวนการนั้น
      2 กฎอิทัปปัจจยตาเป็นขบวนการที่อธิบายถึงการดำเนินไปของทุกๆสรรพสิ่ง ทั้งมีวิญญาณครองและไม่มีวิญญาณครอง โดยมีไตรลักษณ์(คุณลักษณ์เฉพาะ3ประการ)เป็นตัวช่วยทำให้ขบวนการนี้ดำเนินไปได้(ไม่ใช่กฎอิทัปปัจจยตาเป็นตัวทำให้เกิดไตรลักษณ์)
      3 กฎปฏิจสมุปบาท เป็นขบวนการเกิดเฉพาะสรรพสิ่งที่มีวิญญาณครอง เช่นมนุษย์และสัตว์เป็นต้น เป็นขบวนการดำเนินไป โดยมีกฎแห่งกรรมสอดแทรกอยู่ในขบวนการนี้ตามพฤติกรรมของสัตว์นั้นๆ โดยมีสามัญลักษณ์3ประการคือไตรลักษณ์เป็นตัวช่วยให้ กฎปฏิจสมุปบาทและกฎแห่งกรรมดำเนินไปได้
      ดังนั้น กฎไตรลักษณ์ไม่ได้เกิดขึ้นเพราะกฎอิทัปปัจจยตา และกฎปฏิจสมุปบาท แต่ไตรลักษณ์คือสามัญลักษณะของทุกๆสรรพสิ่งที่ปรากฎในโลกีย์ธรรม ตราบใดที่ทุกสรรพสิ่งไม่สามารถหลุดพ้นจากโลกีย์ธรรม ตราบนั้นก็ต้องตกอยู่ในสภาพที่มีไตรลักษณ์เป็นสามัญลักษณะ ที่ทำให้ขบวนการทั้งหลายคือกฎอิทัปปัจจยตา กฎปฏิจสมุปบาท กฎแห่งกรรม ดำเนินต่อไปเป็นวัฏฏะ ต่อเมื่อทำลายขบวนการเกิด(เฉพาะตามกฎปฏิจสมุปบาทเพราะในทีนี้จะกล่าวถึงสิ่งที่มีวิญญาณครองเท่านั้น)ได้แล้ว ก็ถือว่าพ้นจากอำนาจของโลกีย์ธรรม ก็เป็นอันหมดสิ้นคุณลักษณะเฉพาะที่เรียกว่าไตรลักษณ์เช่นกัน

    • @user-vz1tb3jh9q
      @user-vz1tb3jh9q ปีที่แล้ว

      @@adketpower3624 ขอบคุณ มาก ๆ ครับ

  • @orachajindasathan7476
    @orachajindasathan7476 ปีที่แล้ว +2

    กราบนมัสการเจ้าค่ะ

  • @ploypailin1691
    @ploypailin1691 ปีที่แล้ว +1

    อนุโมทนาสาธุเจ้าค่ะ

  • @pathaneebumbudsanpharoke8204
    @pathaneebumbudsanpharoke8204 ปีที่แล้ว +1

    กราบนมัสการสาธุเจ้าค่ะ

  • @user-rk7vm3lr6l
    @user-rk7vm3lr6l ปีที่แล้ว +2

    🙏🏼🙏🏼🙏🏼🙏🏼🙏🏼🙏🏼🙏🏼🙏🏼🙏🏼🙏🙏

  • @beemmobile5806
    @beemmobile5806 ปีที่แล้ว +3

    สาธุเจ้าค่ะ

  • @user-iw5ov4dt5h
    @user-iw5ov4dt5h ปีที่แล้ว +1

    กราบนมัสการค่ะพระอาจารย์

  • @user-ih8xk6un3y
    @user-ih8xk6un3y ปีที่แล้ว +2

    น้อมกราบนมัสการพระอาจารย์เจ้าค่ะสาธุสาธุสาธุค่ะ

  • @__-jl4cw
    @__-jl4cw 7 หลายเดือนก่อน +1

    น้อมกราบสาธุสาธุเจ้าค่ะพระอาจารย์เจ้าค่ะ

  • @nexnexbuntong9966
    @nexnexbuntong9966 ปีที่แล้ว +2

    สาธุ สาธุ สาธุครับ

  • @suttipatboonsaun4617
    @suttipatboonsaun4617 ปีที่แล้ว +1

    สาธุๆๆเจ้าค่ะ

  • @user-lh3bc1nn5c
    @user-lh3bc1nn5c ปีที่แล้ว +1

    สาธุๆๆ

  • @user-gf9lh4td7t
    @user-gf9lh4td7t ปีที่แล้ว

    น้อมกราบสาธุสาธุสาธุครับผม

  • @user-uc2mw1uh8g
    @user-uc2mw1uh8g ปีที่แล้ว +1

    กราบสาธุค่ะ

  • @user-kp6to3xe3p
    @user-kp6to3xe3p ปีที่แล้ว +1

    สาธุ​สาธุ​สาธุ​ค่ะ

  • @khanuruc1692
    @khanuruc1692 ปีที่แล้ว +2

    🙏🙏🙏

  • @buddhawajana8609
    @buddhawajana8609  ปีที่แล้ว +14

    สาธุค่ะ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สาธุค่ะ

    • @user-ox1lz8te6y
      @user-ox1lz8te6y ปีที่แล้ว +1

    • @user-ox1lz8te6y
      @user-ox1lz8te6y ปีที่แล้ว +1

    • @user-po2iw1vm1n
      @user-po2iw1vm1n ปีที่แล้ว +1

      น้อมกราบคำสอนด้วยเศียรเกล้า
      ....กราบพระอาจารย์ด้วยความเคารพอย่างสูงเจ้าค่ะ

  • @tikkvenera2711
    @tikkvenera2711 ปีที่แล้ว +2

    🙏🙏🙏🙏🙏

  • @user-su4sn1ou1j
    @user-su4sn1ou1j ปีที่แล้ว

    สาธุๆๆครับผม

  • @tk9162
    @tk9162 ปีที่แล้ว +1

    🙏🙏🙏❤

  • @ramthian
    @ramthian ปีที่แล้ว +1

    ❤️❤️❤️🙏🙏🙏

  • @user-jx6rf7ff6u
    @user-jx6rf7ff6u ปีที่แล้ว +5

    สาธุ สาธุ สาธุ ครับพระอาจารย์

  • @adketpower3624
    @adketpower3624 ปีที่แล้ว +1

    ด้วยความเคารพในธรรมของพอจ.คึกฤทธิ์
    คงต้องขอแย้งในการอธิบายขยายความของท่านพอจ.ในเรื่องไตรลักษณ์ ดังนี้
    1 ไตรลักษณ์คือสามัญลักษณะของสรรพสิ่งทั้งหลายในจักรวาล (ไม่เพียงแต่ในโลก) ดังนั้น ไตรลักษณ์ เป็นเรื่องของคุณลักษณะเฉพาะตัว ไม่ใช่ขบวนการ จึงไม่สามารถนำเอากฎธรรมชาติข้ออื่นๆ เช่นกฎอิทัปปัจยตาหรือปฏิจสมุปบาทซึ่งเป็นกฎธรรมชาติว่าด้วยขบวนการมีเปรียบเทียบหรือครอบคุมได้ เพราะจะทำให้ผู้ฟังเขาใจว่า สามัญลักษณะเป็นขบวนการเช่นกัน
    2 ดังนั้นเมื่อไตรลักษณ์ไม่ใช่ขบวนการ จึงไม่มีลักษณะของการเกิดเรียงลำดับกันไป ดังที่ท่านพอจ.อธิบายคือ ซึ่งมีทั้งข้อถูกและข้อผิดดังนี้
    ข้อถูก - เพราะมีการเกิดขึ้นของรูปนาม ไตรลักษณ์จึงเกิด
    ข้อผิด- ไม่ใช่มีอนิจจังเกิดก่อนแล้วทุกขังกับอนัตตาจึงเกิดเรียงตามกันมา
    กฎไตรลักษณ์เป็นลักษณะเฉพาะที่สามัญลักษณะทั้ง3ต้องเกิดขึ้นพร้อมกันทันที่ที่รูปนามเกิด
    ไม่ใช่เรียงลำดับว่า อนิจจังเกิดแล้ว ทุกขังเกิดตาม แล้วตามด้วยอนัตตา
    3 ตามพระสูตรที่ว่า สิ่งใดเป็นอนิจจังสิ่งนั้นก็เป็นทุกขัง สิ่งใดเป็นทุกขังสิ่งนั้นย่อมเป็นอนัตตา พอจ.แปลเองตามความเข้าใจของท่าน ในรูปแบบของขบวนการ ซึ่งเขียนเป็นสัญญลักษณฺได้ดังนี้
    1อนิจจัง --------2 ทุกขัง --------3 อนัตตา
    ซึ่งผู้เขียนคิดว่าไม่น่าจะเป็นเช่นนั้น แต่ควรเป็นแบบนี้คือ
    อนิจจัง=ทุกขัง=อนัตตา
    เพราะธรรมทั้ง3นั้นให้ผลในเรื่องเดียวกัน แค่คนละลักษณะ แล้วแต่ใครจะเห็นในมุมไหนชัดกว่า หรือเห็นก่อนมุมอื่น เช่นบางคนเห็น อนิจจังชัด ก็จะเห็นอนิจจังก่อน บางคนเห็นทุกขังชัด ก็จะเห็นทุกขังก่อน บางคนเห็นอนัตตาชัดก็จะเห็นอนัตตาก่อน แต่ทั้งนี้ก็ต้องขึ้นกับอุปนิสัยของตน และได้เทคนิควิธีฝึกตามความรู้ความชำนาญของครูที่เป็นพอจ.ของตนเองว่า ถนัดสอนให้เห็นลักษณะไหนก่อน แต่ในที่สุด เมื่อฝึกเป็นแล้วก็จะเห็นได้ทั้ง3ลักษณะ ในเวลาเดียวกันแล้วแต่เจ้าตัวจะเลือกดู
    4 ความจริงในไตรลักษณ์นั้นคุณลักษณะที่มีอิทธิผลและกำกับให้อีก2ลักษณะเกิดขึ้นตามทันที่คือ ทุกขัง
    ทุกขังในไตรลักษณ์ไม่ได้หมายถึงว่าทุกข์อย่างที่เราเข้าใจ ที่มุ่งไปยังความหมายถึงทุกขเวทนา ทั้งทางรูป(กาย)นาม(ใจ)แต่เป็นเป็นสมุททัยของทุกขเวทนาเหล่านั้น (ตามปฏิจสมุปบาท ที่รวบรวมชนิดของความทุกข์เอาไว้ว่า โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิทุกขา)
    ดังนั้นทุกขังในไตรลักษณ์จึงแปลว่า การบีบคั้น เพราะมีการบีบคั้น รูป นามจึงต้องแปรเปลี่ยนตลอดเวลา(อนิจจังจึงเกิดขึ้นทันที่พร้อมๆกับอนัตตาเพราะรูปเดิมหายไปเปลี่ยนเป็นรูปใหม่) ลักษณะนี้จึงเรียกว่าสามัญลักษณะที่มีประจำ ในรูปนาม ไม่ไช่ขบวนการ
    (สรุปคือ ทุกขังไม่ใช่ทุกขเวทนา แต่เป็นเหตุให้เกิดทุกขเวทนา)และไม่ควรแปลว่าความเสื่อม เพราะทำให้คนทั่วไปเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอาจจะนำมาซึ่งความกลัวความไม่พอใจเป็นส่วนใหญ่ ทั้งๆที่การเปลี่ยนแปลงนั้นอาจทำให้เกิดความพอใจก็ได้ ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างความน่าพอใจ เช่นเด็กทารกถูกบีบคั้นให้โตขึ้นน่ารักน่าเอ็นดู ผู้หญิงถูกบีบคั้นด้วยวัยให้สวย(ตามวัย)ขึ้น ลูกถูกบีบคั้น(เพราะโตขึ้น)ให้เรียนเก่งขึ้นเป็นต้น
    5 ตราบใดที่ยังต้องเวียนเกิดในวัฏฏะสงสาร ก็ต้องได้รูปนามที่มีสามัญลักษณะประกอบอยู่ตลอดไปโดยมีชีวิตดำนินไปตามกฎธรรมชาติ3ข้อคือ 1 กฎแห่งกรรม 2 กฎอิทัปปัจจยตา 3 กฎปฏิจสมุปบาท ตลอดไปจนกว่าจะสร้างปัญญามาทำลายอวิชชาคือความไม่รู้ในกฎธรรมชาติเหล่านี้ลงได้สำเร็จ จนเข้านิพพาน

    • @adketpower3624
      @adketpower3624 ปีที่แล้ว

      ส่วนข้อนิพพาน เป็นอนัตตา ใช่หรือไม่นั้น ผู้เขียนก็ส่งสัยและอยากจะตีความไปแบบที่ท่านพอจ.อธิบายไว้ว่า ไม่น่าจะใช่อนัตตา เพียงแต่ไม่ทราบว่า คำอธิบายว่า"นิพพานเป็นอนัตตา"นั้นเป็นคำแต่งใหม่ของสาวกตามที่พอจ.กล่าวอ้างรึเปล่า จึงไม่กล้าประมาทต่อ หลักธรรมอันสำคัญนี้
      แต่ถึงกระนั้นการเป็นผู้ปฏิบัติธรรมที่ดี เมื่อมีข้อสงสัยในหลักธรรมข้อใด ก็จำต้องศึกษาค้นคว้าหาความจริงด้วยตนเองโดยมีหลักยึดที่เหมาะสม ที่ตนเองจะต้องวางเอาไว้เพื่อมิให้ตนเองกระทำสิ่งอันผิดพลาดประมาทล่วงเกินไปอันจะสร้างผลกรรมเป็นวิบากอันแสบร้อนในภายภาคหน้า จะขอเล่าว่าตัวผู้เขียนมีหลักเกณฑ์อย่างไร เมื่อเกิดความสงสัยเผื่อไว้ให้ผู้มีปัญหาข้อสงสัยในเรื่องแบบนี้ได้ลองนำไปใช้เป็นตัวอย่างสร้างขั้นตอนดูการศึกษาค้นคว้าเฉพาะของตนเองดู
      1 พิจารณาข้อธรรมนั้นไปอย่างละเอียดถี่ถ้วนด้วยตนเอง หากมีข้อสงสัยระหว่างทางแตกแขนงออกไป ก็เก็บบันทึกไว้ อาจจะเป็นข้อเขียนหรือเป็นความทรงจำ)ซึ่งปกติผู้ฝึกตนจะไม่ลืมหรอกแม้ไม่ได้จดไว้
      2 ต้องประเมินถึงความสำคัญของข้อธรรมนั้นว่ามากน้อยแค่ไหน อย่างในกรณีนี้คือ นิพพาน ซึ่งมีความสำคัญมาก จึงไม่ควรที่จะตัดสินเชื่อว่าใช่หรือไม่ใช่เพราะในเรื่องนี้ ต้องคิดก่อนว่า มีแต่ผู้เข้าถึงพระนิพพานแล้วเท่านั้นจึงจะบอกความจริงได้ (แล้วในยุคนี้จะเป็นใครละ)
      ดังนั้นเราจึงต้องค้นหาพิสูจน์ความจริงด้วยตัวเราเองโดยยังไม่ตัดสินใดๆ เพราะยังไมใช่เรื่องสำคัญสำหรับเราที่จะต้องรู้ในเวลานี้ ยังมีหน้าที่ภารกิจในการสร้างปัญญารออยู่ และเมื่อถึงเวลาที่ปัญญามีมากพอ เราก็จะเข้าใจได้เอง นิพพานเป็นอนัตตาหรือไม่
      3 ในระหว่างทำภารกิจสร้างปัญญาอยู่นั้น บางครั้ง ปัญญาที่เพิ่มพูนขึ้น ก็จะนำเอาหลักธรรมที่เราสงสัยและเก็บไว้ในความทรงจำ ยกขึ้นมาทบทวนดูว่า ผู้ฝึกมีปัญญามากพอจะเข้าใจรึยัง หากยัง ข้อสงสัยนั้นก็จะถูกเก็บกลับไป แต่ถ้าปัญญาดูเหมือนจะสามารถตีความเข้าใจได้บ้าง ความรู้ในเรื่องนั้นๆที่สงสัยก็จะค่อยๆจางลง แม้จะยังสรุปฟันธงลงไปไม่ได้แต่ก็จะค่อยๆเข้าใจมากขึ้นกว่าเดิม ก่อนที่จะถูกเก็บไว้ต่อไปเพื่อรอเวลาถูกนำกลับมาพิจารณาในครั้งต่อไป
      4 นำหลักธรรมนั้นๆมาพิจารณาเทียบเคียงกับหลักธรรมในข้ออื่นๆที่เกี่ยวข้องกัน แล้วตั้งสมมติฐาน หรือข้อสงสัยความน่าจะเป็นเอาไว้อย่างคราวๆ อย่างในกรณีนี้คือ "นิพพานคืออนัตตา" มีข้อธรรม2ข้อ คือ 1 นิพพาน
      2 อนัตตา
      พิจารณาคุณสมบัติของนิพพานว่ามีหลักฐานทางพระสูตรใดๆแสดงไว้อย่างบ้างที่อาจเชื่อมกับคำว่าอนัตตา เท่าที่เห็นก็น่าจะเป็น คำว่าสูญญตา ไร้รูปนาม ซึ่งอนัตตา ก็อาจแปลได้ว่า ไม่มีจริงหรือเป็นสูญญตาเหมือนกัน
      แล้วอนัตตาในไตรลักษณ์ละ แปลว่าอะไร แปลว่าไม่มีตัวตนอย่างแท้จริงเช่นกัน ตย.เช่น ปัจจุบันใครคนหนึ่งอายุ70 แล้วเขาตอนอายุ20 มีอยู่จริงไหม มันเคยมีอยู่จริงแต่ปัจจุบันไม่มีตัวตนนั้นแล้ว ไม่สามารถจะไปหากลับมาได้ ดังนั้นรูปเมื่ออายุ20จึงเป็นอนัตตา แต่เพราะมันมีการสืบเนื่องกันต่อมาด้วยสันตติ ดังนั้นจึงยังมีรูปที่อายุ70อยู่ และหากคนผู้นั้นยังเป็นผู้ยึดติดกับวิญญาณ ถ้าบังเอิญเขาตายไปในอายุขัย70 เขาก็จะต้องไปเกิดตามที่ปฏิสนธิวิญญาณพาไปด้วยแรงแห่งกรรมของเขาเอง
      แต่หากเขาเป็นผู้ปฏิบัติจนไม่เป็นผู้ยึดติด แล้วมาจบชีวิตที่รูปนามที่อายุ70 โดยเขาไม่ไปยึดติดกับวิญญาณใดๆอีก ปฏิสนธิวิญญาณก็ไม่มีจึงไม่มีอะไรพาไปเกิดอีกแล้ว ก็เป็นอันว่าเขาผู้นั้นก็ทำกาละที่รูปอายุ70 เขาได้ทำกาละในขณะที่รูปและนามดับไปคือเป็นอนัตตาแล้วไม่ต้องไปเกิดอีก เมื่อทุกอย่างมันจบลงที่อนัตตา แล้วจะเป็นอย่างไรต่อในสภาวะของนิพพาน ถ้าใครอยากรู้
      ก็ต้องไปให้ถึงนิพพานกันเองละว่า เขาผู้จากไปในขณะรูปนามสุดท้ายเป็นอนัตตาเขาจะเป็นสภาวะอย่างใดในนิพพาน ยังเป็นอนัตตาต่อไปรึเปล่า?
      การสมมติแบบนี้จะตีความเป็นไฉน แต่ละคนก็ต้องเอาไปพิจารณาด้วยตนเองโดยยังไม่ต้องตัดสินใจสรุป ปล่อยให้ปัญญาพร้อมมีมากพอ แล้วมันก็จะให้คำตอบกับเราเอง

    • @Send2Suradate
      @Send2Suradate ปีที่แล้ว

      ขอโอกาสครับ 😮
      "พระศาสดาสอนว่าธรรมทั้งหลายเกิดแต่เหตุ"
      เมื่อพระอัสสชิกล่าวประโยคนี้จบ
      พระสารีบุตรก็มีศรัทธาชวนพระโมคคัลลานะ ไปหาพระพุทธเจ้า
      พระศาสดาท่านก็สอนว่า ธรรมใดเป็นเหตุ ธรรมใดเกิดแต่เหตุ ไปตามลำดับ จนกระทั่งถึงเหตุที่จะเกิดวิชชา วิมุติ
      ตอนบรรลุธรรม พระสารีบุตรใคร่ครวญว่า "สิ่งใดไม่มีก็มีมา สิ่งใดมีมาก็ดับไป"
      ธรรมทั้งชีวิตของพระศาสดา คือ เรื่องเดียวกัน
      อิท้ป ปฏิจจ ไตรลักษณ์ สังขตะ อสังขตะ ทั้งหมดคือเรื่องเดียวกัน แต่อธิบายโดยอเนกปริยาย
      พระศาสดาจึงกล่าวว่า
      "ผู้ใดเข้าใจธรรมของพระองค์แม้เพียงบทเดียว ก็เป็นประโยชน์แก่ผู้นั้นชั่วกาลนาน " คือ บรรลุธรรมครับ
      ไม่ว่าจะตามฟังธรรมพระองค์ให้หมดทั้งชีวิต มันก็ลงที่ประโยคเดียว
      เพียงแต่ที่ธรรมมันพิสดาร เพราะ "ธรรมอันเป็นเหตุ และธรรมที่เกิดมาแต่เหตุ มีเป็นเอนกปริยาย"
      แต่ถ้าเข้าใจบทเดียว ก็เข้าใจทั้งหมด
      ทั้งหมด คือ เรื่องเดียวกัน แค่นั้นเองครับ

    • @adketpower3624
      @adketpower3624 ปีที่แล้ว

      @@Send2Suradate เป้าหมายแห่งชีวิตมันคือเรื่องเดียวกันคือการพ้นทุกข์ แต่ระหว่างทางที่จะนำไปสู่การพ้นทุกข์จะต้องศึกษาเส้นทางการเดินทางอย่างถูกต้องตามหลักธรรมจึงจะไม่เนิ่นช้า และเสียเวลา เพราะเวลาที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์และได้พบพระพุทธศาสนาในช่วงเวลาที่คำสอนยังครบสมบูรณ์ ทั้ง ปริยัติ ปฏิบัติ และปฎิเวธ เป็นสิ่งมีค่าหายากมาก
      การศึกษาและเข้าใจในหลักธรรมอย่างถูกต้องจึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะพาให้ไปสู่หนทางพ้นทุกข์ และเมื่อใครสักคนไปถึงตรงนั้นแล้ว ค่อยมาบอกกล่าวรวบยอดเพียงประโยคเดียวได้ว่า ธรรมทุกอย่างมันเป็นเรื่องเดียวกัน เพราะเขาเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งแล้วนั่นเอง
      แต่ถ้าใครยังไปไม่ถึง ก็ต้องศึกษาให้เข้าใจในธรรมแต่ละข้อว่ามันคืออะไร เพราะแม้จะเป็นเรื่องเดียวกัน แต่บนเส้นทางการปฏิบัติ มันทำหน้าที่ต่างกัน ผู้เดินทางต้องรู้จักอย่างถูกต้อง เพื่อจะได้ให้หลักธรรมนั้นนำไปพบความรู้รวบยอดสุดท้ายที่ว่า มีแต่ทุกข์เท่านั้นที่เกิดขึ้น และมีแต่ทุกข์เท่านั้นที่ดับไป
      (เมื่อรู้จักทุกข์ และรู้วิธีดับทุกข์ ก็พ้นทุกข์ ...จบ)

    • @Send2Suradate
      @Send2Suradate ปีที่แล้ว

      ธรรมแต่ละบท
      จะบอกเหตุ และธรรมที่เกิดแต่เหตุ ไปจนสุด คือหลุดพ้น ทุกบท
      สอดรับไม่ขัดกันทุกบท
      สรุปให้สั้น คือ "ธรรมทั้งหลายเกิดแต่เหตุ"
      หรือจะใช้คำอื่น ๆ ก็มีความหมายเดียวกันทั้งหมด
      เข้าใจ 1 ก็เข้าใจทั้งหมด สอดรับกันทั้งหมด ไม่ขัดแย้งกันเลย
      ยังไม่บรรลุก็เข้าใจได้ 😀
      เข้าใจแล้ว แม้ตายโดยขาดสติก็จะเป็นเทวดาและบรรลุธรรมในภพนั้นครับ

    • @adketpower3624
      @adketpower3624 ปีที่แล้ว +1

      @@Send2Suradate ถูกต้องที่สุด ดังนั้นจึงต้องทำเข้าใจธรรมแต่ละบทอย่างถูกต้อง แต่เมื่อปัญญายังไม่ถึง จึงต้องใช้เวลาในการพิจารณาอย่างรอบคอบ และเมื่อปัญญายังไปไม่ถึง ก็ต้องยอมละไว้ในฐานที่ยังไม่เข้าใจ โดยไม่รีบร้อนไปตัดสินธรรมบทนั้นๆ เสียแต่เนิ่นๆ การศึกษาธรรมแต่ละบท(ตามปริยัติ)จึงต้องทำฝึกควบคู่กับการปฏิบัติจนเกิดปฎิเวธจึงเป็นอันแน่ใจได้ว่าถูกต้องเท่านั้น จริงๆ
      จะฟัง(สุตตะ)เพียงอย่างเดียวนั้นไม่พอ แค่เก็บไว้เป็นฐานความรู้ของตนเอาไว้ใช้เทียบเคียง ที่เหลือต้องพิสูจน์ด้วยตนเองต่อไปจนรู้และเข้าใจเองใน ธรรมบทนั้นๆที่กำลังศึกษาอยู่อย่างแจ่มแจ้ง ก็จะเกิดผล(ปฎิเวธ)ประจักษ์ชัดกับตนเองด้วยตนเอง

  • @nooruckwheals1533
    @nooruckwheals1533 ปีที่แล้ว +2

    น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะอาจาร์วัดป่าพงอยู่ จังหวัดอะไร

    • @buddhawajana8609
      @buddhawajana8609  ปีที่แล้ว

      อยู่จังหวัด ปทุมธานี คลอง10 ค่ะเข้าเว็บ วัดนาป่าพง ได้เลยค่ะ

  • @user-yc5ob6ey7c
    @user-yc5ob6ey7c ปีที่แล้ว +1

    อนุโมทนาสาธุ

  • @narinthongseubsai7263
    @narinthongseubsai7263 ปีที่แล้ว +1

    ธรรมทั้งปวงเเป็นอนัตตา ดังนั้น นิพพานก็เป็นอนัตตาด้วย ผมมองว่าเป็นการใช้ตรรกกะมาสรุป ก็สงสัยมานานว่า ธรรมะของพระพุทธเจ้าเอาตรรกกะมาใช้ไม่ได้ ต้องรู้แจ้งเห็นจริงเท่านั้น, แล้วที่ถูกคืออะไร , อ. ว่า ถ้านิพพานเป็นอนัตตา นิพพานก็เป็นทุกข์ , ผมว่าจริงครับ

    • @buddhawajana8609
      @buddhawajana8609  ปีที่แล้ว

      นิพพานไม่ใช่อนัตตา ฟังคลิปอีกหลายๆรอบนะคะ

    • @narinthongseubsai7263
      @narinthongseubsai7263 ปีที่แล้ว

      @@buddhawajana8609 ผมพูดสั้นไป ผมหมายถึงว่า กระแสหลักๆ ก็มีสามแบบ คือนิพพานเป็นอัตตา นิพพานเป็นอนัตตา นิพพานไม่ใช่สองแบบข้างต้น , นิพพานเป็นอัตตานี่น่าจะสายธรรมกาย นิพพานเป็นอนัตตาเพราะตีความตามที่ผมกล่าวข้างต้นนี่น่าจะเถรวาทสายตีความพระไตรปิฎก สายพุทธปรัชญา

  • @kesinikesini9993
    @kesinikesini9993 ปีที่แล้ว +2

    น้อมจิตกราบสาธุสาธุสาธุเจ้าค่ะอนิจจังทุกขังอนัตตาสิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นเป็นอนัตตาทุกข์เพราะการแปรเปลี่ยนของรูปทุกๆอย่างเป็นของไม่เที่ยงแตกสลายดับไปตามกาลเวลาสาธุสาธุสาธุเจ้าค่ะ

  • @user-xs4nf8ll4i
    @user-xs4nf8ll4i ปีที่แล้ว +1

    สาธุครับ

  • @user-pj4zl2lc4d
    @user-pj4zl2lc4d ปีที่แล้ว +2

    สาธุ

    • @user-pj4zl2lc4d
      @user-pj4zl2lc4d ปีที่แล้ว +2

      เราต้องเรียนรู้คำว่าความรู้สีกให้เข้าใจก่อน

  • @user-ls7iu1qf8s
    @user-ls7iu1qf8s ปีที่แล้ว +2

    🙏🙏🙏

  • @thanakritthumjun4277
    @thanakritthumjun4277 ปีที่แล้ว +1

    สาธุครับ