ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ขอบคุณทุกท่านที่ชมเนื้อหาในบทนี้ครับ หวังว่าเนื้อหาที่นำเสนอจะมีประโยชน์กับเพื่อนๆ นะครับ หากเนื้อหาในคลิปมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยด้วยนะครับ ยินดีรับฟังทุกความคิดเห็นครับ 🙏👍 ฝากกดไลค์ กดแชร์ ❤️ กดติดตาม 🛎 กดกระดิ่ง❤️เพื่อเป็นกำลังใจให้ผมด้วยนะครับ ❤️
ช่วยใด้มากครับเข้าใจง่ายดมากๆครับ
ขอบคุณมากๆนะครับ
มีประโยชน์มากๆเลยค่ะ 👍
ขอบคุณมากๆนะครับ ❤️❤️❤️
มาฟังข้อมูลดีๆด้วยครับ
ขอบคุณมากนะครับพี่ ❤️
เยี่ยมเลยครับ ขอบคุณมากครับ
ขอบคุณมากเช่นกันครับ
ขอบคุณครับ สำหรับความรู้
ขอบคุณมากๆนะครับ ❤️
ขอบคุณครับ🙏
ขอบคุณครับ มีประโยชน์มากเลยครับ
ขอบคุณมากๆเช่นกันครับ
เดินสายเมนไปกับราง wire way เดิม มีหลักการคำนวณยังไงครับ...
ขอบคุณมากครับ YnwA.
ขอบคุณมากๆเช่นกันนะครับ
สียนระม 🍊☺😯📋
ขอบคุณครับ
พี่ทำงานไฟฟ้าอะไรครับเก่งจัง
ไฟฟ้าภายในอาคารครับ
ครับผม
🙏😊
ตู้ยี่ห้อที่พี่แนะนำใช่เมนยี่ห้ออื่นใด้ใหม
ใช้ได้นะครับ แต่ต้องดูให้ดีว่าสามารถต่อเข้าได้สนิทรึเปล่าครับ ส่วนใหญ่จะแนะนำให้ใช้ยี่ห้อเดียวกันครับ
@@thekopengineer พอดีครับขอบคุณครับผมที่นำสาระดีๆใด้ความขึ้นมากครับสุดยอกครับพี่👍👍👍👍👍👍
KVAจะเทียบหรือแปลงอย่างไรครับกับKW
W กับ VA คือค่าเดียวกันครับ
พี่ครับ ตอนนี้ผมคำนวณโหลดของโรงงานอยู่ครับ มี MDB จ่ายไฟให้ 3 LP ตอนหาสายป้อนของเมน LP ต้อง DF มั้ยครับ ถ้า DF แล้วต้อง DF อีกรอบตอน หา MDB มั้ยครับ
อยู่ที่การออกแบบครับมี 2 แนวทางครับ 1 LP ไม่ DF จะ DF MDB2 DF ที่ LP แล้ว MDB ไม่ต้อง DF ครับ ส่วนตัวผมใช้แบบข้อ 1 ครับเพราะผมมองว่าที่ LP อนาคตสามารถเพิ่มโหลดได้ เลยไม่ DF ครับ
ค่า KVA นาทีที่ 6:44 คือค่า KVAที่เอาไปคิด DF แล้วใช้ไหมครับ (หมายถึงคิดแบบ DF แสงสว่างปลั๊กอะไรแบบนั้นครับ) แล้วก็เอามาคิด DF อีกรอบเพื่อหา เมนเบกเกอร์หรือป่าวครับ
ตัวอย่างช่วงแรกเป็นการ DF แบบ วสท ครับ จะจำแนกโหลดออกเป็นชนิดต่างๆครับ แล้วนำค่า DF ที่ได้มารวมกันเพื่อหา MCCB ครับตัวอย่างที่สอง เป็นการ DF โดยดูตัวอย่างจากจำนวนตู้ไฟย่อย นาที 6.33 ถึง 7.17 เป็นค่าที่ยังไม่ได้ DF ครับ ตั้งแต่นาที 7.17 เป็นต้นไปจะ DF และหา MCCB ของวิธีที่2 ครับ
@@thekopengineer ตอนนี้ผมทำตามแล้วครับ ตามตัวอย่างที่สอง โหลดอาคารผมจะ 98.41kVA ผมก็เลือกหม้อแปลงขนาด 100kVA ได้ไหมครับแล้วทีนี้ หากระแสต่อ ได้142.04Aครับแล้วนำไปx1.25ก็จะได้ 177.55A ผมจึงเลือก MCCBขนาด 180AT 3P แล้วสายไฟเป็น 1C-4x95 CV แล้วผมสงสัยต่อครับหม้อแปลง 100kVAจะใช้งานกับหม้อมิเตอร์ 30/100 ได้ไหมครับ พอดีอยู่ต่างจังหวัดครับ PEA ขอบคุณครับ
@@amnorth3521 โหลดของเรารวมแล้วหลัง DF = 98.41 KVA => กระแสโหลด 141.71 แอมป์ครับ ซึ่งมิเตอร์แรงต่ำ PEA มีสูงสุด 30/100A ครับ ซึ่งไม่เพียงพอกับโหลดที่คำนวณได้ ในเคสที่ติดตั้งหม้อแปลง สามารถเลือกพิกัดหม้อแปลง 100KVA ได้ ซึ่งหม้อแปลงตัวนี้จะจ่ายกระแสได้ 144 แอมป์ที่แรงดัน 400V หรือจ่ายกระแสได้ 139 แอมป์ที่แรงดัน 416V ( แรงดันต้องดูครับว่าเลือกใช้หม้อแปลงที่แรงดันใด )จาก Spec หากใช้หม้อแปลง 100KVA ข้อกำหนดการไฟฟ้าให้ใช้ MCCB 125 AT ครับ ส่วนพิกัดกระแสสายให้เลือกดูสายที่ทนกระแสได้มากกว่า 125AT ครับ
@@thekopengineer ขอบคุณข้อมูลมากๆเลยครับ
ยินดีครับ
1.25คือค่าอะไรครับตอนใกล้จะจบ
ตอนเลือกขนาด CB, สายเมน ของตู้ MDB อันนี้ใช้ Demand IEC แล้วตอนเลือกขนาด CB, สายป้อน ของตู้ย่อย (LPA, LPB...LPD) ใช้ Demand ตาม วสท.ร่วมด้วยไหมครับ
รอ วสท เล่มใหม่ที่จะออกมากลางปี 65 นี้ครับ ว่าจะมีแก้ไขวิธีการเลือก Main Feeder อย่างไรบ้างครับ
พี่ผมอยากรุ้เหดผมว่าทำไมเราถึงได้คูนค่า Demand factor ครับ และ เพื่ออะไรครับ
เป็นการคูณตัวลดครับ เพราะในความเป็นจริงอาจจะไม่ได้ใช้โหลดไฟฟ้าทุกตัวพร้อมกัน เช่น ปลั๊กไฟก็อาจไม่ได้ใช้งานทุกตัวพร้อมกันครับ วสท. ก็จะมีแนวทางการ Demand ให้เลือกใช้งานครับ แต่ก็แล้วแต่ความเหมาะสมของผู้ออกแบบด้วยครับ
@@thekopengineer ขอคุณครับมากครับพี่ พอดีพรุ่งนี้ผมจะขื้นนำเสนอบทโคงการจบการศึกษาครับ ขอคุณ
คำว่า Demand factor ถ้าใช้ศัพท์บ้านๆเข้าใจง่าย หมายถึงอะไรครับผม ❤
ตัวคูณลดครับ
@@thekopengineerและคำว่า Demand load ความหมายคือ การประมาณการ ปริมาณของ Load ผมเข้าใจถูกไหมครับพี่เอกครับขอบพระคุณครับ❤
@@MrTSP-mr2dl ถูกต้องครับ
@@thekopengineer ขอบพระคุณมากครับ❤️
ผมไม่เข้าใจเรื่อง VA ในตารางโหลดครับ
ในการคำนวณโหลด เราจะใช้ค่า VA ( Volt Amp) ในการรวมโหลดวงจรต่างๆมาใช้คำนวณเพื่อหาค่ากระแส หาขนาดเบรกเกอร์และขนาดสายไฟครับส่วนตารางโหลดก็จะมีแบบ 1 เฟส กับแบบ 3 เฟสครับ เป็นตารางที่ใช้แสดงค่าโหลด ขนาดเบรกเกอร์ ขนาดสายไฟของววจรที่เราคำนวณครับ
ลองดูคลิปนี้ครับแบบ 1 เฟส th-cam.com/video/4TRxe_Z7Xtg/w-d-xo.html
อยากจะสอบถามว่าแล้วถ้าเป็นโหลดของโรงพยาบาลเราต้องใช้มาตรฐานอื่นหรอคะ
ของโรงพยาบาลจะใช้การคำนวณดีมานด์โหลดอีกแบบนึงครับ และการต่อลงดินของห้องผ่าตัดจะมีกำหนดไว้ใน วสท ครับ
ถ้าเป็นพวกตู้โหลดเซ็นเตอร์นี่ต้องคำนวณยังไงครับ
การดีมานด์พื้นฐานตามมาตรฐาน วสท ในบทที่ 3 ครับ นำโหลด VA แต่ละระบบมารวมกันแล้วเทียบตามตารางครับ
อธิบายได้เข้าใจง่ายมากเลยครับจารย์
ขอบคุณทุกท่านที่ชมเนื้อหาในบทนี้ครับ หวังว่าเนื้อหาที่นำเสนอจะมีประโยชน์กับเพื่อนๆ นะครับ หากเนื้อหาในคลิปมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยด้วยนะครับ ยินดีรับฟังทุกความคิดเห็นครับ 🙏
👍 ฝากกดไลค์ กดแชร์
❤️ กดติดตาม
🛎 กดกระดิ่ง
❤️เพื่อเป็นกำลังใจให้ผมด้วยนะครับ ❤️
ช่วยใด้มากครับเข้าใจง่ายดมากๆครับ
ขอบคุณมากๆนะครับ
มีประโยชน์มากๆเลยค่ะ 👍
ขอบคุณมากๆนะครับ ❤️❤️❤️
มาฟังข้อมูลดีๆด้วยครับ
ขอบคุณมากนะครับพี่ ❤️
เยี่ยมเลยครับ ขอบคุณมากครับ
ขอบคุณมากเช่นกันครับ
ขอบคุณครับ สำหรับความรู้
ขอบคุณมากๆนะครับ ❤️
ขอบคุณครับ🙏
ขอบคุณครับ
มีประโยชน์มากเลยครับ
ขอบคุณมากๆเช่นกันครับ
เดินสายเมนไปกับราง wire way เดิม มีหลักการคำนวณยังไงครับ...
ขอบคุณมากครับ YnwA.
ขอบคุณมากๆเช่นกันนะครับ
สียนระม 🍊☺😯📋
ขอบคุณครับ
พี่ทำงานไฟฟ้าอะไรครับเก่งจัง
ไฟฟ้าภายในอาคารครับ
ครับผม
🙏😊
ตู้ยี่ห้อที่พี่แนะนำใช่เมนยี่ห้ออื่นใด้ใหม
ใช้ได้นะครับ แต่ต้องดูให้ดีว่าสามารถต่อเข้าได้สนิทรึเปล่าครับ ส่วนใหญ่จะแนะนำให้ใช้ยี่ห้อเดียวกันครับ
@@thekopengineer พอดีครับขอบคุณครับผมที่นำสาระดีๆใด้ความขึ้นมากครับสุดยอกครับพี่👍👍👍👍👍👍
KVAจะเทียบหรือแปลงอย่างไรครับกับKW
W กับ VA คือค่าเดียวกันครับ
พี่ครับ ตอนนี้ผมคำนวณโหลดของโรงงานอยู่ครับ มี MDB จ่ายไฟให้ 3 LP ตอนหาสายป้อนของเมน LP ต้อง DF มั้ยครับ ถ้า DF แล้วต้อง DF อีกรอบตอน หา MDB มั้ยครับ
อยู่ที่การออกแบบครับมี 2 แนวทางครับ
1 LP ไม่ DF จะ DF MDB
2 DF ที่ LP แล้ว MDB ไม่ต้อง DF ครับ
ส่วนตัวผมใช้แบบข้อ 1 ครับเพราะผมมองว่าที่ LP อนาคตสามารถเพิ่มโหลดได้ เลยไม่ DF ครับ
ค่า KVA นาทีที่ 6:44 คือค่า KVAที่เอาไปคิด DF แล้วใช้ไหมครับ (หมายถึงคิดแบบ DF แสงสว่างปลั๊กอะไรแบบนั้นครับ) แล้วก็เอามาคิด DF อีกรอบเพื่อหา เมนเบกเกอร์หรือป่าวครับ
ตัวอย่างช่วงแรกเป็นการ DF แบบ วสท ครับ จะจำแนกโหลดออกเป็นชนิดต่างๆครับ แล้วนำค่า DF ที่ได้มารวมกันเพื่อหา MCCB ครับ
ตัวอย่างที่สอง เป็นการ DF โดยดูตัวอย่างจากจำนวนตู้ไฟย่อย นาที 6.33 ถึง 7.17 เป็นค่าที่ยังไม่ได้ DF ครับ ตั้งแต่นาที 7.17 เป็นต้นไปจะ DF และหา MCCB ของวิธีที่2 ครับ
@@thekopengineer ตอนนี้ผมทำตามแล้วครับ ตามตัวอย่างที่สอง โหลดอาคารผมจะ 98.41kVA ผมก็เลือกหม้อแปลงขนาด 100kVA ได้ไหมครับแล้วทีนี้ หากระแสต่อ ได้142.04Aครับแล้วนำไปx1.25ก็จะได้ 177.55A ผมจึงเลือก MCCBขนาด 180AT 3P แล้วสายไฟเป็น 1C-4x95 CV แล้วผมสงสัยต่อครับหม้อแปลง 100kVAจะใช้งานกับหม้อมิเตอร์ 30/100 ได้ไหมครับ พอดีอยู่ต่างจังหวัดครับ PEA ขอบคุณครับ
@@amnorth3521 โหลดของเรารวมแล้วหลัง DF = 98.41 KVA => กระแสโหลด 141.71 แอมป์ครับ ซึ่งมิเตอร์แรงต่ำ PEA มีสูงสุด 30/100A ครับ ซึ่งไม่เพียงพอกับโหลดที่คำนวณได้ ในเคสที่ติดตั้งหม้อแปลง สามารถเลือกพิกัดหม้อแปลง 100KVA ได้ ซึ่งหม้อแปลงตัวนี้จะจ่ายกระแสได้ 144 แอมป์ที่แรงดัน 400V หรือจ่ายกระแสได้ 139 แอมป์ที่แรงดัน 416V ( แรงดันต้องดูครับว่าเลือกใช้หม้อแปลงที่แรงดันใด )
จาก Spec หากใช้หม้อแปลง 100KVA ข้อกำหนดการไฟฟ้าให้ใช้ MCCB 125 AT ครับ ส่วนพิกัดกระแสสายให้เลือกดูสายที่ทนกระแสได้มากกว่า 125AT ครับ
@@thekopengineer ขอบคุณข้อมูลมากๆเลยครับ
ยินดีครับ
1.25คือค่าอะไรครับตอนใกล้จะจบ
ตอนเลือกขนาด CB, สายเมน ของตู้ MDB อันนี้ใช้ Demand IEC แล้วตอนเลือกขนาด CB, สายป้อน ของตู้ย่อย (LPA, LPB...LPD) ใช้ Demand ตาม วสท.ร่วมด้วยไหมครับ
รอ วสท เล่มใหม่ที่จะออกมากลางปี 65 นี้ครับ ว่าจะมีแก้ไขวิธีการเลือก Main Feeder อย่างไรบ้างครับ
พี่ผมอยากรุ้เหดผมว่าทำไมเราถึงได้คูนค่า Demand factor ครับ และ เพื่ออะไรครับ
เป็นการคูณตัวลดครับ เพราะในความเป็นจริงอาจจะไม่ได้ใช้โหลดไฟฟ้าทุกตัวพร้อมกัน เช่น ปลั๊กไฟก็อาจไม่ได้ใช้งานทุกตัวพร้อมกันครับ
วสท. ก็จะมีแนวทางการ Demand ให้เลือกใช้งานครับ แต่ก็แล้วแต่ความเหมาะสมของผู้ออกแบบด้วยครับ
@@thekopengineer ขอคุณครับมากครับพี่ พอดีพรุ่งนี้ผมจะขื้นนำเสนอบทโคงการจบการศึกษาครับ ขอคุณ
คำว่า Demand factor ถ้าใช้ศัพท์บ้านๆเข้าใจง่าย หมายถึงอะไรครับผม ❤
ตัวคูณลดครับ
@@thekopengineerและคำว่า Demand load ความหมายคือ การประมาณการ ปริมาณของ Load ผมเข้าใจถูกไหมครับพี่เอกครับ
ขอบพระคุณครับ❤
@@MrTSP-mr2dl ถูกต้องครับ
@@thekopengineer ขอบพระคุณมากครับ❤️
ผมไม่เข้าใจเรื่อง VA ในตารางโหลดครับ
ในการคำนวณโหลด เราจะใช้ค่า VA ( Volt Amp) ในการรวมโหลดวงจรต่างๆมาใช้คำนวณเพื่อหาค่ากระแส หาขนาดเบรกเกอร์และขนาดสายไฟครับ
ส่วนตารางโหลดก็จะมีแบบ 1 เฟส กับแบบ 3 เฟสครับ เป็นตารางที่ใช้แสดงค่าโหลด ขนาดเบรกเกอร์ ขนาดสายไฟของววจรที่เราคำนวณครับ
ลองดูคลิปนี้ครับแบบ 1 เฟส th-cam.com/video/4TRxe_Z7Xtg/w-d-xo.html
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากเช่นกันครับ
อยากจะสอบถามว่าแล้วถ้าเป็นโหลดของโรงพยาบาลเราต้องใช้มาตรฐานอื่นหรอคะ
ของโรงพยาบาลจะใช้การคำนวณดีมานด์โหลดอีกแบบนึงครับ และการต่อลงดินของห้องผ่าตัดจะมีกำหนดไว้ใน วสท ครับ
ขอบคุณครับ
ถ้าเป็นพวกตู้โหลดเซ็นเตอร์นี่ต้องคำนวณยังไงครับ
การดีมานด์พื้นฐานตามมาตรฐาน วสท ในบทที่ 3 ครับ นำโหลด VA แต่ละระบบมารวมกันแล้วเทียบตามตารางครับ
อธิบายได้เข้าใจง่ายมากเลยครับจารย์
ขอบคุณมากเช่นกันครับ