ชักชาวัด | นาฏศิลป์นิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 29 ก.ย. 2024
  • ผลงานสร้างสรรค์การแสดงทางนาฏศิลป์ ประจำปี 2566
    โดย นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
    สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
    ณ ฮอลล์ 2 โคราชฮอล์ ชั้น 4 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล โคราช
    การแสดงชุด ชักชาวัด
    คณะผู้วิจัย
    นายธนพนธ์ คุมขุนทด
    นายฐิติกร ขุนพิชัย
    นายแสน ไชยโพธิ์
    นางสาวนันทิยา สมน้อย
    นางสาวทัตพิชา บุญไสว
    นางสาวกัญญารัตน์ วัชรพงษ์
    นางสาวลลิตา มาตรทะเล
    ที่ปรึกษา
    ดร.ชุมพล ชะนะมา
    แนวคิดและแรงบันดาลใจ
    ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก การละเล่นพื้นบ้านของบ้านโนนเมือง
    ตำบลโนนเมือง อำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมามีแนวคิดในการแสดง
    นำเสนอถึง การละเล่นชักชาวัดที่มีลักษณะคล้ายการชักเย่อ
    โดยจะแยกเป็นฝ่ายชายฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายหญิงฝ่ายหนึ่ง
    หากฝ่ายใดแพ้จะต้องถูกปรับให้เป็นผู้เข้าไปรำเกี้ยวอีกฝ่ายหนึ่ง
    นิยมเล่นกันในวันสงกรานต์การแสดงชุดนี้นำเสนอ
    ในรูปแบบของนาฎศิลป์ พื้นบ้านโคราช มีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ
    โดยแบ่งการแสดงออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
    ช่วงที่ 1 กล่าวถึง การรวมตัวของชายหนุ่หญิงสาว ที่มีพ่อเพลงแม่เพลงเป็นผู้ชักชวนให้เข้าร่วมเล่นชักชาวัด
    ช่วงที่ 2 กล่าวถึง วิธีการละเล่น โดยแบ่งเป็นฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ถ้าฝ่ายใดแพ้จะต้องร าเชิดไปหาฝ่ายที่ชนะ โดยฝ่ายหญิง
    มักเป็นผู้ชนะอยู่เสมอ
    ช่วงที่ 3 กล่าวถึง การเกี้ยวพาราสีระหว่างชายหนุ่มและหญิงสาวก่อนที่จะลาจากกัน
    📌 ไก่ทอด โปรดักชั่น
    - ภาพนิ่ง / อาร์ตเวิร์ค
    - วีดีโอทุกรูปแบบ
    - ไลฟ์สตรีม
    📞 ติดต่องานถ่ายวีดีโอได้ที่ 088-0707617 (แซ็ค)
    Facebook : แซ็ค ไม่ค่อยพอใจ
    Fanpage : ไก่ทอด โปรดักชั่น
    #นาฏศิลป์ไทย #ไก่ทอดจงเจริญ

ความคิดเห็น • 8