E = mc^2 สมการฟิสิกส์เปลี่ยนโลก

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 27 มี.ค. 2022
  • E = mc^2 เป็นหนึ่งในสมการทางฟิสิกส์ที่หลายคนเคยผ่านหูผ่านตา แต่อาจไม่ทราบว่ามันมีความสำคัญอย่างไร และเปลี่ยนโลกฟิสิกส์อย่างไรบ้าง คลิปวีดีโอนี้จะเล่าให้ฟังครับ
    .................................................
    ท่านที่สนใจที่มาที่ไปของคณิตศาสตร์แบบสนุกๆ
    แนะนำ หนังสือภาษาจักรวาล : ประวัตย่อโลกคณิตศาสตร์ ผมเขียนให้เข้าใจง่ายๆ สั่งได้ทาง shopee
    shopee.co.th/product/86566545...
    หรือ Lazada
    www.lazada.co.th/shop/greatst...
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 543

  • @informationoperation8003
    @informationoperation8003 2 ปีที่แล้ว +559

    ถ้าช่วงสมัยเรียนเมื่อ 20 ปีที่แล้ว ถ้ามีอาจารย์ที่สอนแบบนี้ มันจะทำให้เราอยากเรียนทุกวัน เพราะบางสมการเราไม่รู้เลยว่า เอาไปใช้ทำอะไร ทุกคนมีขีดจำกัดในการรับรู้แต่ถ้าผู้ที่สื่อสารเข้าใจ..ขีดจำกัดนั้นจะทำให้คนที่ไม่อยากรับรู้ได้กลับใจเพื่อศึกษาต่อยอด

    • @jichutarot
      @jichutarot 2 ปีที่แล้ว +47

      อาจารย์ที่สอนก็อาจจะไม่รู้ 555

    • @HisokaYuri
      @HisokaYuri 2 ปีที่แล้ว +46

      อาจารย์ที่สอน สมัยเรียน ไม่เคยสอนให้เข้าใจเลย สอนบางทีก็ข้ามขั้นตอน อธิบายไม่ชัดเจน ผมเลยไม่รู้เรื่อง แถมรู้สึกเบื่อ อีก 😆

    • @informationoperation8003
      @informationoperation8003 2 ปีที่แล้ว +25

      @@HisokaYuri วันนี้ผมต้องกลับมาเรียนอีกครั้งเพื่อเอาไว้ตอบลูกสาวคนสวยของผม อย่างน้อยพ่อก็ยังพอมีคลังความรู้บ้าง 555

    • @HisokaYuri
      @HisokaYuri 2 ปีที่แล้ว +5

      @@informationoperation8003 ดีจังเลยที่มีลูก ผมยังไม่มีเลย ทำงานเก็บเงินไปแต่ง มีอยู่ตอนนี้ 😆😆😆😆

    • @playphone7175
      @playphone7175 2 ปีที่แล้ว +2

      ใช่คับ

  • @hislemon5751
    @hislemon5751 ปีที่แล้ว +168

    E = Energy / m = Milk / c = Coffee
    สมการที่ก่อเกิดพลังงานอันยิ่งใหญ่เพื่อมวลมนุษยชาติ และเอาชนะแรงเฉื่อยได้

    • @takemichitake1489
      @takemichitake1489 ปีที่แล้ว +21

      E= Espressoรึป่าวครับ🤔

    • @TalRtIV
      @TalRtIV ปีที่แล้ว

      M ไม่ใช่Mass หรอคครับ

    • @nshynshy353
      @nshynshy353 ปีที่แล้ว +1

      555555555ฉีกจัดชอบๆ

    • @bezanexe4471
      @bezanexe4471 ปีที่แล้ว +1

      @@TalRtIV เขาเปรียบเทียบกับกาแฟครับ

    • @mr.siibsaam1379
      @mr.siibsaam1379 ปีที่แล้ว +1

      ฉีกทุกกรอบทฤษฎี 😅😅

  • @nutch1413
    @nutch1413 10 หลายเดือนก่อน +10

    ชอลการสอนของอาจารย์ ที่อธิบายวิทยาศาสตร์ด้วยตัวอย่างของสิ่งรอบตัว ทำให้เข้าใจศัพท์วิทยาศาสตร์มากขึ้น และทำให้รู้สึก เข้าใจจริงๆว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องรอบตัว อยากเรียนกับครู อาจารย์แบบนี้มากๆเลยค่ะ

  • @MrJurk
    @MrJurk ปีที่แล้ว +6

    วิธีใช้คือ
    E = MC^2
    สมมุติกำหนดให้ M คือพลังหมัด C คือความเร็วที่เราปล่อย คูณ 2 จากนั้น นำ M เเละ C^2 มาคูณกัน = E

  • @user-tr1dg1pf2r
    @user-tr1dg1pf2r ปีที่แล้ว +52

    E = mc2 ไม่เปลี่ยนเฉพาะโลกเท่านั้นแต่เปลี่ยนจักรวาลด้วย นั่นคือ E = mc2 หมายถึง m หรือ มวล มาจาก E (energy)หรือพลังงาน การเกิดจักรวาลก็มาจาก E = mc2 ด้วย นั่นหมายถึงจักรวาลไม่ได้เกิดมาจากบิ๊กแบงค์ แต่เกิดจากการเปลี่ยนรูปแบบพลังงานมาเป็นมวลที่เราเห็นในรูปแบบของดวงดาว สิ่งที่เราจะต้องต่อยอดไอน์สไตนน์ก็คือแล้ว E energy หรือพลังงานมาจากไหน เห็นว่าพลังงานมาจากปฏิกิริยาต่างๆเช่น การชนกัน การหมุนตัว การเคลื่อนที่ ฯลฯ ของอีเทอร์ชึ่งเป็นสิ่งพื้นฐานของจักรวาล ก่อให้เกิดพลังงานต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ พลังงานไฟฟ้า ฯลฯ ซึ่งต่อไปจะเปลี่ยนเป็นมวล เป็นดวงดาว แล้วระเบิดตัวเองเป็นดาวฤกษ์อย่างเช่นดวงอาทิตย์ แล้วก็ดับลงเป็นดาวถ่านแบ๊กโฮล black hole ดูดกินพลังงานต่อไปเป็นดาวเคราะห์เมื่อถึงจุด ๆ หนึ่งก็ระเบิดอีก เป็นเช่นนี้ตลอดไป.

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m ปีที่แล้ว +1

      คนที่ค้นพบไฟฟ้าต่างหากที่เปลี่ยนแปลงโลก

    • @nattapolpunpaen2539
      @nattapolpunpaen2539 6 หลายเดือนก่อน

      ​​@@user-pn1wi3hg7mมันคือการระเบิดปะจุลบ
      ให้ปะจุบวกวิ้งเข้าหา
      จึงเกินปฏิกิริยาฟิวชั่นลูกโซ่ครับ..ที่ระเบิดใหญ่ๆ
      #การรวมเอาแค่3เเรงพื้นฐานมาใช้ครับแต่ยังไม่สามารถรวมแรงที่4ได้คือแรงโน้มถ่วง
      (#ที่บอกว่าไฟฟ้าเปลี่ยนโลกถูกต้องที่สุด)

    • @nattapolpunpaen2539
      @nattapolpunpaen2539 6 หลายเดือนก่อน

      คิดเเบนี้ก็ถูกไปอีกแบบนะ..
      ใช้ครับ E เปลียนเป็นมวล
      แล้ว E มันโคจรมาชนกันก็เป็นบิ๊กแบงอยู่ดีแหละ...😂
      #ผมชอบนะความคิดนี้

  • @atipbodeepanyim1178
    @atipbodeepanyim1178 ปีที่แล้ว +3

    ชอบตรงเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวัน มันทำให้เข้าใจมากขึ้นคร้บ

  • @user-be7hx6ot3y
    @user-be7hx6ot3y 9 หลายเดือนก่อน

    เข้าใจและเห็นความจริงแล้ว สมัยตอนผมเด็กๆครูพูดแค่ สมการแต่ไม่อธิบายขยายความเลย.

  • @user-ws8mr6gv8b
    @user-ws8mr6gv8b 2 ปีที่แล้ว +4

    เรื่องยาก
    แต่อธิบายให้เข้าใจได้ง่าย
    ฟังแล้วน่าติดตามดีครับ

  • @zizerokub6799
    @zizerokub6799 ปีที่แล้ว +1

    1.พลังทุกฃนิดมันก็คือ สสารที่เคลื่อนที่
    2.สสารที่เล็กที่สุดที่มนุษย์สัมผัสได้ก็คือแสง
    3.สสารทุกอย่างเปลี่ยนไปเป็นแสงได้ด้วยการเผา ยกเว้นน้ำ

  • @user-yp4wp7dv6b
    @user-yp4wp7dv6b 2 ปีที่แล้ว +5

    อาจารย์สุดยอดครับ แทนค่าสมการ เห็นภาพชัดเลยครับ

    • @user-ln6gg1xv2s
      @user-ln6gg1xv2s ปีที่แล้ว +1

      E=mc²เขียนเเบบนี้ใช่ไหมครับ

  • @banchertdonnatengam4016
    @banchertdonnatengam4016 2 ปีที่แล้ว +7

    กลศาสตร์ของนิวตันใช้อธิบายวัตถุใหญ่ๆ ส่วนกลศาสตร์ของไอสไตส์ใช้อธิบายอนุภาคหรือสิ่งที่เล็กกว่านั่น ดังนั้นมวลของนิวตันจึงเป็นมวลของสสารหรืออนุภาคที่รวมตัวกันหนาแน่น ส่วนมวลของไอสไตส์เป็นมวลอะตอมในระดับอนุภาค ส่วนเร่งของนิวตัน ก็เปลี่ยนเป็นความเร็วแสง เพราะความเร่งมีกรอบพิจารณามากมายไม่คงที่ (ความโน้มถ่วงแต่ละที่ไม่เท่ากัน) แต่ความเร็วแสงไม่ว่าพิจารณาในกรอบไหนในเอกภพจะมีค่าคงที่ตลอด พลังงานในระดับมหภาคทีเห็นการเปลี่ยนแปลงชัดเจนอธิบายได้ด้วยกลศาสตร์นิวตัน แต่หากพลังงานที่มิงการเปลี่ยนแปลงได้ยากในระดับจุลภาคอธิบายได้กลศาสตร์ควอน์ตัมบนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพันธ์ภาค ผมเข้าใจเองแบบนี้ครับ

    • @ytn2005
      @ytn2005 2 ปีที่แล้ว +4

      ถ้าเอาตามหลักการ นิวตันอธิบายในสเกลของภายในดวงดาว ไอซ์สไตร์อธิบายในสเกลระดับจักวาล ส่วนเสกลระดับอะตอมต้องใช้ทฤษฎีครอนตัม ส่วนที่เจ้าของคลิปอธิบายมันเป็นผลมาจากทฏษฎีสัมพันธภาพ แต่ที่มาของ E=mc2 มันมาจากการศึกษาเรื่องพฤติกรรมของความเร็วแสง ซึ่งจะมีค่าคงที่เสมอ

    • @justkidding4967
      @justkidding4967 2 ปีที่แล้ว +2

      กลศาสตร์นิวตันใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของดวงดาวไม่ได้เลยแม้แต่นิดเดียวครับแต่สัมพัทธภาพทำได้ กลศาสตร์ของไอน์สไตน์ก็ไม่สามารถอธิบายสิ่งที่เล็กได้เหมือนกันครับ เพราะสิ่งที่เล็กเราใช้กลศาสตร์ควอนตัมในการอธิบายซึ่งเป็นความน่าจะเป็น ต่างจากสัมพัทธภาพที่เป็นความแน่นอน

  • @Mr3903
    @Mr3903 2 ปีที่แล้ว +3

    ฟังแล้วอยากกลับไปแก้มือ สมัยเป็น นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ ใหม่เลย ตอนนั้นเรียนยังไงก็ไม่เข้าใจฟิสิกส์

  • @user-ej8rt4sg4b
    @user-ej8rt4sg4b ปีที่แล้ว +2

    ทำคลิบเข้าใจง่ายๆแบบนีออกมาอีกนะครับ ชอบมากได้ความรู้เข้าใจง่ายครับ

  • @TheBomkmutnb
    @TheBomkmutnb ปีที่แล้ว +1

    อธิบายได้เข้าใจง่าย ฟังสบายมากครับ

  • @CreativeAudience
    @CreativeAudience ปีที่แล้ว

    ถ้าตอนมัธยม อาจารย์อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ แบบนี้ คงเลือกเรียนสายวิทย์คณิตไปและ

  • @Nate7676
    @Nate7676 2 ปีที่แล้ว

    ปกติเป็นคนที่ปิดกั้นฟิสิกส์ครับ พอมาฟังคริปนี้แล้ว อยากเรียนขึ้นมาเลย

  • @ytn2005
    @ytn2005 2 ปีที่แล้ว

    สิ่งที่แตกต่างกัน ระหว่าง นิวตันกับไอสไตร์ คือ เวลา นิวตัน เวลาเป็นสิ่งสัมบรูณ์ ไอสไตร์ เวลาเป็นสิ่งไม่สัมบรูณ์ ขึ้นอยู่กับความเร็ว
    พฤติกรรมของแสงคือจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่เสมอ ดังนั้นเมื่อแสงถูกทำให้เคลือนที่ต่างไปจาก สามแสน กม ต่อ ชม แสงจะทำให้เวลาลดลง
    คือ time dilation ซึ่งพิสูจน์และนำมาพัฒนาจนเป็นระบบ GPS นอกจากนั้นยังมีผลเรื่องมวล relativity mass และ ความยาว relativity length
    แน่นอนจะเกิดพลังงานมหาศาลจากมวลที่ลดลงคูณกับความเร็วแสงยกกำลังสอง จากสมการ E=mc2 แต่สิ่งที่นำมาสู่การนี้คือพฤติกรรมเรื่องความเร็วของเเสง
    ไม่ควรสรุปว่า พลังงานเกิดจาก มวลคูณด้วยความเร็วแสงกำลังสอง เป็นที่มาของทฤษฎีสัมพันธภาพ

  • @soburapha9486
    @soburapha9486 ปีที่แล้ว +1

    กราบขอบพระคุณครับ

  • @kuuhaku3503
    @kuuhaku3503 2 ปีที่แล้ว +2

    ต่อไปของกฎทรงมวลครับ เพราะเกี่ยวข้องกับสมการนี้

  • @jureechonlahan6966
    @jureechonlahan6966 ปีที่แล้ว

    กินไข่​เราจะได้พลังงาน​จากไข่.. ชอบกินไข่มากคะ

  • @glittermercury3234
    @glittermercury3234 ปีที่แล้ว +1

    ชอบการอธิบายนะคะ เข้าใจนิดหน่อยว่ามวลกับพลังงานมันสำพันธ์กัน. รอติดตามนะคะ♡

  • @artto7112
    @artto7112 2 ปีที่แล้ว

    รอติดตามฟังทฤษฎีสัมพัทธภาพอยู่นะคับ อยากให้อาจารย์เล่ามากๆเลย

  • @Zennerolgy007
    @Zennerolgy007 2 ปีที่แล้ว +2

    ผมชอบที่มานั่งดูพี่พูดทฤษฎีต่างๆ

  • @gunsy5267
    @gunsy5267 2 ปีที่แล้ว +5

    อยากให้อธิบายทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา สมการx^n+y^n=z^n โดยที่nมากกว่า2 หน่อยครับ

  • @TienKhaiTH
    @TienKhaiTH 2 ปีที่แล้ว +26

    I LOVE your vid doc. The easy to understand with all the creative pictures and everything. Keep going

    • @ch.6412
      @ch.6412 ปีที่แล้ว

      You understand thai?

    • @zadkungch5789
      @zadkungch5789 ปีที่แล้ว

      @@ch.6412 i guess he's a Thai but he just tries to write down as English sentence.

    • @ch.6412
      @ch.6412 ปีที่แล้ว

      @@zadkungch5789 ออ ผมลืมดูชื่อ

  • @UnknownCapybara
    @UnknownCapybara 2 ปีที่แล้ว

    ชอบมากๆครับ ฟังเข้าใจง่ายดี

  • @___mont200
    @___mont200 2 ปีที่แล้ว

    อยากให้ทำเรื่องไฟฟ้าหน่อยครับ ว่าไฟฟ้ามันเปลี่ยนไปเป็นพลังงานรูปเเบบ อื่นอย่างไรเเละไฟฟ้าคืออะไร

  • @MossHouse
    @MossHouse ปีที่แล้ว

    สมการที่เรียบง่ายนี้อธิบายต้นกำเนิดของจักรวาล ที่ก่อนหน้านั้นไม่มีสิ่งใดแม้แต่มิติ ณ จุดเล็กๆจุดหนึ่งที่เล็กจนเป็นอนันต์แต่มีพลังงานความร้อนมหาศาลบรรจุอยู่ มันเลยขยายออกในทุกทิศทาง และ E ตรงนั้นมันมากและหนาแน่นพอที่จะทำให้เกิดสะสารขึ้นตั้งแต่นาทีแรกๆของจักรวาล คือธาตุ H นั่นเอง แต่สำหรับในทางศาสนาเชื่อว่ามีสิ่งที่เป็นอนันต์ไม่มีรูปร่างที่ทำให้เกิดเหตุการณ์นั้น หรือพระเจ้านั่นเอง

  • @topchinnatip5013
    @topchinnatip5013 2 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้พูดเรื่อง ปัญหาของบุฟฟ่อนครับ หาค่าพายจากตะปู

  • @BLACKCAT-wn1qq
    @BLACKCAT-wn1qq 2 ปีที่แล้ว +174

    energy = milk × coffee²

  • @user-rc4ws7ur1s
    @user-rc4ws7ur1s ปีที่แล้ว

    ติดตามตั้งแฟนพันธุ์แท้แล้วครับ เพิ่งมาเจอช่องงรักเลย

  • @wanchaimongkolpant390
    @wanchaimongkolpant390 ปีที่แล้ว +3

    อยากให้อธิบายความหมายของพลังงานจากความดันลบในสภาพของ ภาวะเอกฐาน (singularity)ขอบคุณครับ

  • @jumnumddladphrao9815
    @jumnumddladphrao9815 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ครับ ผมมองเห็นว่าพลังงานนิวเคลียร์เนี่ยมันให้พลังงานได้เยอะมากๆแล้วทำไมเราไม่สร้างรถยนต์พลังงานนิวเคลียร์ล่ะครับหรือเราสร้างเตาพลังงานนิวเคลียร์ไว้ในบ้านส่วนตัวได้ไหมจะได้ไม่ต้องจ่ายค่าไฟที่แพงเหลือเกิน

  • @kittiphopdhammawiwatnukul9977
    @kittiphopdhammawiwatnukul9977 6 หลายเดือนก่อน

    k.e. = (mv^2)/2
    หากความเร็วมากๆๆ...ขนาดความเร็วแสง
    ความต่างของ มวล แทบจะไม่มีนัยยะสำคัญเมื่อเทียบสมการ
    จึงตัด มวล ให้เป็น 1 ซะเลย...ไม่ต้องหยุมหยิม...
    ทำให้ ไอน์สไต.. เป็นผู้ประการ สมการนี้แก่สาธารณชนก่อนคู่แข่งที่ทำใจประกาศไม่ได้เพราะตัวเลขจุ๊บจิ๊บที่ยังหาได้ไม่ถ้วน

  • @user-jm5ds5kt3j
    @user-jm5ds5kt3j ปีที่แล้ว +91

    E=mc² ตามสมการ
    E คือพลังงาน
    M คือมวล
    C ความเร็วแสงในสุญญากาศ
    คือการเปลี่ยนมวลสารให้กลายเป็นพลังงาน หรือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์
    คือมวลที่เปลี่

    • @theexercise7930
      @theexercise7930 ปีที่แล้ว +1

      @@nebulajn มันเกี่ยวไรกับเวลาครับ นี่สัมพันธภาพ

    • @apinanaubolsak
      @apinanaubolsak ปีที่แล้ว +2

      สัมพันธภาพเกี่ยวเกือบหมดทั้งทางตรงทางอ้อม เป็นแนวคิดที่เรายังแหกไม่ได้ เพระทฤษฎี ต่างๆถ้าอธิบายไปยังไงมันจะมาก็สอดคล้องและยังอยู่ในแนวคิดของไอสไตอยู่ดี เช่นปะระมานู ที่จริงมีมาก่อนแล้วแต่ยังไม่สมบูรณ์ แต่พอทฤษฎีนี้ขึ้นมา มันตรงแนวทางพอดี เลยเอามาประยุกต์ การที่เราจะทำให้มวลสารก้อนหนึ่งให้เป็นพลังงาน100เปอร์เซนต์ได้คือมันเป็นสมการนี้และ แนวคิดนี้ทางไอสไตสเขาคิดมาเพื่อหาพลังงานอนาคตทางเลือก แต่มีนักคิดค้นระเบิดนี้คนเยอรมันทั้งสองแหละที่ไม่เห็นด้วยกับผู้นำตอนนั้น ที่อเมกาต้องการตัวโดยที่ใช้นามไอสไตพาอพยบเข้ามาและทำให้เสร็จก่อนเยอรมัน มันจึงเป็นแนวคิดนี้ ที่สร้างเร็วและสมบูรที่สุด เอาละ แต่ใช่ว่าอะไรก็ได้ที่มาทำประมะนูได้ ต้องเป็นธาตุที่มีกัมมันตรังสี จะเป็นธาตุที่หนัก เพราะครึ่งชีวิตมันหลายหมื่นปเลนอัดกันจนเป็นธาตุหนักมีกัมตรังสี อธิบายของรังสีของธาตุหนัก คือการปล่อยพลังงานของมันตามธรรมชาติออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รังสีเอ็กซ์ ,กัมมันตรังสีเป็นแกรมม่า ในครึ่งชีวิตมัน เอาละ ขนาดในครึ่งชีวิต ปล่อยออกมายังหลายหมื่นปี แล้วทีนี้การเอามันมาทำปะระมานูระเบิดนั้น คือจากที่มันปลดปล่อยรังสีออกมาเองมันยังหลายหมื่นปี แต่เราใช้สมการนี้บังคับ ให้มันปลดปล่อยออกมาทีเดียวหมดในเสี้ยววินาทีในรูปพลังงานร้อยเปอร์เซนต์ ให้คิดเอา คือ ในช่วงแรกที่พัฒนา ไม่ซับซ้อน แค่ทำให้อะตอมแตกตัว ถ้าอธิบายบ้านไคือเอาธาตุที่ว่ามานี้แบงเป็นสองก้อน ก้อนหนึ่งใหญ่ก้อนหนึ่งแค่1/4พอ ทำยังไงให้ก้อนเล็กวิ่งชนก้อนใหญ่แต่ต้องเร็วพอ เช่น ทำเป็นกระสุนแล้วยิงเข้าเป้าใตกบางก้อนใหญ่ แค่นี้ธาตุพวกนี้มันระเบิดแล้วครับ (การทดลองนี้ตอนเรายังไม่รุ้ธาตุเท่าที่ควร นักวิทย์ฯได้สละชีวิตหลายคนละ ไม่ใช่โดนเพราะระเบิดใส่ โดนเพราะพลาด ทำกระแทกกันบ้าง ปล่อยมันไว้โดยไม่มีที่กันรังสีโดยไม่รู้บ้าง และธาตุพวกนี้เอาไว้ไกล้กันมันจะขยับหากันด้วย และการกระทำแบบนี้มันอาจไม่ระเบิดเพราะปฎิกิริยายังไม่สมบูณ์ แต่มันจะได้แค่ปล่อยรังสีออกมามากในตอกนั้น และทำให้นักวิทย์ฯ ได้พบ ได้ศึกษา ฯ วันมันอันตรายมากตอนนั้น โดยที่รู้ชะตากรรมว่าต้องตายอีกไม่กี่วัน พูดถึงตอนนี้ก็เป็นการเสียสละที่มีคุณค่ามากๆ )ธาตุที่ว่านี้จะเป็นโลหะหนัก จะมี ยูเรเนียม 235พลูโตเนียม โคบอน60ฯ แต่ที่ดีที่สุดคือ ยูเรเนียมต้อง235เท่านั้นที่จะทำระเบิดได้

    • @apinanaubolsak
      @apinanaubolsak ปีที่แล้ว

      @@theexercise7930 ทกอย่างในจักรวาลสัมพันกันลึกซึ้ง ในระดับจุลภาค คุณถามแบบนี้ คุณยังไม่เข้าใจ คุณอาจเข้าใจแบบยังไม่ลึก

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m ปีที่แล้ว

      คำนวนออกมาได้พลังงานเป็นจูล แล้วจูลคือเท่าไหร่ 9หมื่นล้านล้านจูลหรา จริงดิ สมการที่อธิบายได้แบบครึ่งๆกลางๆ ต้องมีเงื่อนไขโน่นนี่นั่นก็เพ้อเจ้อแล้ว x+3=0 ยังดูจริงกว่าเลย

    • @akskskjsjjsis5401
      @akskskjsjjsis5401 ปีที่แล้ว

      @@user-pn1wi3hg7m ผมว่าไอน์สไตยรู้ว่าเขาทำอะไรอยู่เเต่เราไม่เข้าใจเขาเอง

  • @jaransukngam2682
    @jaransukngam2682 ปีที่แล้ว

    ท่านพูดสิ่งที่ไม่รู้ให้ไม่รู้ได้ดีมาก...ใครอยากรู้ตามไปฟังทางนี้ th-cam.com/video/FdVS4ZjAvBM/w-d-xo.html

  • @ramanlemoshenma5825
    @ramanlemoshenma5825 ปีที่แล้ว

    สนุกมากๆเลยครับเข้าใจขง่ายด้วย

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 ปีที่แล้ว

    #ตอนนี้รวมแรงพื้นฐานได้3แรงแล้ว..หน้าตาแบบนี้ครับ..E=MC²
    #ถ้าเรา"#รวมแรงพื้นฐานทั้ง4รูปแบบได้"..!!
    พลังงางจะหน้าตาประมาณนี้ครับ..♾️ 😊🌏🌎🌍
    #เอกภพเป็นกลางสสารเคลื่อนผ่านเวลาของเวลา..

  • @noteprom8171
    @noteprom8171 ปีที่แล้ว

    ฟังเพลิน เล่าได้สนถกดีครับ

  • @theerathaspanpun4803
    @theerathaspanpun4803 ปีที่แล้ว +7

    การเล่นเกมสามเหลี่ยม: ฉันวาดรูปทรง 2 มิติที่ง่ายที่สุด
    ตำนานสามเหลี่ยม: A+B+C=180°
    T= √s(s-a)(s-b)(s-c)
    ถ้า A =90° (ab)²+ (ac)²= (bc)²
    บาป A=1
    (bc)²=(ab)²+(ac)²- 2cos(A)
    พื้นที่=pb/2
    T=1/2I det( Xa Xb Xc)I
    I ( Ya Yb Yc) I
    I (1 1 1) I = 1/2 I XaYb- XaYc+XbYc-XbYa+XcYa-XcYb I
    และอื่น ๆ....
    รูปแบบการเล่นแบบวงกลม: ว้าว ทุกจุดบนเส้นรอบวงอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเท่ากัน
    วงกลมตำนาน: π= เส้นรอบวง/เส้นผ่านศูนย์กลาง= 3.14159265....
    เส้นรอบวง = 2πr
    พื้นที่= πr²
    π=4(1-0.3333+0.2-0.142.....)
    สมการ= (x-a)²+ (yb)²=r²
    x= a+r cos(t)
    y= b+r บาป (t)
    e^π^√-1= -1
    e^2π^√-1= 1
    หลักการความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์กซึ่งเป็นกลศาสตร์ควอนตัม: (อินทิกรัลจาก -♾️ ถึง ♾️ ของ x²If(x)I²)*(อินทิกรัลจาก-♾️ ถึง ♾️ ของ (ซีต้า)2 I f(zeta)l²≥ ((1/4π)(อินทิกรัลจาก -♾️ ถึง ♾️ ของ lf(x)l²))²
    และอื่น ๆ....
    ค่าคงที่ e (2.718281...) การเล่นเกม: ขีดจำกัดของ (1 + 1/n)^n เมื่อ n เข้าใกล้อนันต์
    ประวัติคงที่: d/dx e^x= e^x
    d/dx ใน(x)= 1/x
    e= n/((n!)^1/n) as n -> ♾
    e^π^√-1= -1
    e^x= 1+ x+ x²/2+ x³/6...
    บาป x= e^√-1^x- e^-√-1^x/2√-1
    cos x= e^√-1^x+ e^-√-1^x/2
    การเล่นเกมโยนบอล: บอลไปวี
    ตำนานการขว้างบอล: s=ut+0.5at²
    s=((u+v)/2)*t
    ที่+u=v
    u²+2ad=v²
    ความเร็วแนวตั้ง = (ความเร็ว)(sin theta)
    ความเร็วแนวนอน= (ความเร็ว)(cos theta)
    a=(ค่าคงที่โน้มถ่วง)(มวลของโลก)/(รัศมีของโลก)²
    wt*

    • @kan6402
      @kan6402 ปีที่แล้ว

      ครับ

    • @user-ud3gj5oy2q
      @user-ud3gj5oy2q 8 หลายเดือนก่อน

      โครตเท่โครตอัจฉริยะเลยครับโอ้โห

  • @jakapankongsuwan4440
    @jakapankongsuwan4440 ปีที่แล้ว

    ข้อมูลดีมากๆ ครับ มุมบนขวามีอะไรหรือครับ เห็นเหลือบไปมองตลอด

  • @ball3256
    @ball3256 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้จารย์พูดเรื่องtritiumแบบที่dr.oc ทำในspidermanอ่ะคับ ผมว่ามันน่าจะเป็นพลังงานในอนาคตที่แท้trueกว่าไฟฟ้า รบกวนด้วยนะคาบ

  • @somsakkulchanapakorn95
    @somsakkulchanapakorn95 ปีที่แล้ว

    ช่วยยกตัวอย่าง การ นำ ทฤษฏี ชโรดิงเจอร์
    มาใช้หน่อยในงานวิจัย
    ครับ

  • @adisornthamphan5637
    @adisornthamphan5637 ปีที่แล้ว

    ชอบมาก,สนับสนุนครับ

  • @boxtoboxacademy3007
    @boxtoboxacademy3007 ปีที่แล้ว

    ตอนอยู่ ม.ปลาย ผมเรียนฟิสิกส์ ติดศูนย์ตลอดเลยครับ เรียนไม่รู้เรื่อง😅😆

  • @rattasaks
    @rattasaks 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @leaf3221
    @leaf3221 ปีที่แล้ว +2

    สอนได้ดีครับอาจารย์

  • @user-vk1zt9yh7p
    @user-vk1zt9yh7p ปีที่แล้ว

    ฟังแล้วไม่เบื่อเลย

  • @PCMN679
    @PCMN679 ปีที่แล้ว

    มีข้อสงสัยครับ .. หากพลังงาน ทำลายไม่ได้ ผมสงสัยว่า คอมพิวเตอร์ ที่เราใช้คำนวน เมื่อพลังงานไฟฟ้าถูกจ่ายเข้า ระบบประมวลผล หลังจากนั่น พลังไฟฟ้าจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานอะไรครับ ผมลองคิดดู เหมือนว่ามันจะถูกลบหายไป ไม่ได้เปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น

  • @cyn.2408
    @cyn.2408 ปีที่แล้ว

    ฟังสนุกมากค่ะ😊

  • @pattiepaper
    @pattiepaper 2 หลายเดือนก่อน

    ตกใจเสียงพี่เค้า ค่อนข้างเหมือนน้าต๋อยเลย = =

  • @lavna1395
    @lavna1395 2 ปีที่แล้ว +3

    Modern physics คือวิชาที่เปิดโลกของผมมากๆ

  • @krungthailasthit8320
    @krungthailasthit8320 2 ปีที่แล้ว

    อยากฟังทฤษฎีสัมพันธภาพมากๆครับ

  • @bmnv3955
    @bmnv3955 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดเลีย👍🇱🇦

  • @user-gf9mu3we1b
    @user-gf9mu3we1b ปีที่แล้ว

    เนื้อหาดีมากเลยครับ อยากให้เสียงดังกว่านี้หน่อยครับ

  • @bothchick4962
    @bothchick4962 2 ปีที่แล้ว +52

    คำถามที่ผมสงสัยมาตลอดชีวิตคือทำไมสมการนี้ต้องคูณกับความเร็วแสงยกกำลัง 2 มันเป็นเรื่องที่แปลกมาก แล้วไม่คิดว่าไอสไตล์จะมั่วขึ้นมาแล้วบังเอิญถูก คือถ้าอธิบายว่ามันคือการ Trial โดยตั้งสมมติฐานว่า E อาจจะเท่ากับ m คูณค่าคงที่บางอย่างสมมติว่าเป็น X แล้วไปทำการทดลองซ้ำ ๆ จนได้ค่าคงที่ X ออกมา ก็อาจจะพอเข้าใจได้ว่าสูตรนี้เป็นสูตร Empirical ที่ได้มาจากการพิสูจน์ซ้ำ ๆ แต่จากที่ผมไปดู ๆ และค้นหามาก็ยังไม่พบนะครับว่าการทดลองที่ไอสไตล์ทำขึ้นมาเพื่อหาตัวแปร X คืออะไร และตามตรรกะแล้วไอสไตล์คนเดียวจะไปประดิษฐ์เครื่องมือทดสอบที่ซับซ้อนขนาดนั้นได้ยังไง การทดลองเชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ให้เห็นว่าสมการนี้เป็นจริง มันเกิดขึ้นหลังจากที่ไอสไตล์เขียนสูตรนี้ออกมาแล้ว ถามว่ามันเป็นไปได้หรอที่เค้าจะมั่วขึ้นมาแบบหลับตายิงนกตัวเดียวถูก ไอสไตล์ต้องมีแนวคิดและสมมติฐานอะไรบางอย่างที่เราไม่รู้ บ้างก็บอกว่าการยกกำลังสองคือเลขปกติที่มีอยู่ในธรรมชาติ อ่าวววว แล้วทำไมไม่เอาเลขอื่นยกกำลังสอง มันประหลาด และความคิดเห็นส่วนตัวผมเชื่อว่าจริง ๆ แล้วค่า c มันไม่ใช่ 3*10^8 m/s โดยสมบูรณ์ แต่มันจะต้องเป็นค่าที่ใกล้เคียงกันมาก ๆ สองค่าคูณกันอยู่ และผมเชื่อว่าหนึ่งในสองค่านั้นมีค่ามากกว่าความเร็วแสงแน่นอน เพียงแต่ยังไม่มีใครค้นพบ หรือกล้าหาญพอจะทำลายข้อจำกัดความเร็วแสงได้ นี่อาจจะเป็นเหตุผลที่ทำไมการคำนวณโดยวิธีสัมพัทธภาพยังมีความคลาดเคลื่อนจากของจริงในธรรมชาติอยู่เล็กน้อยไม่ 100%

    • @gorillula9650
      @gorillula9650 2 ปีที่แล้ว

      สุดไปเลยครับ

    • @apirakkla.5491
      @apirakkla.5491 ปีที่แล้ว +3

      ไปดูทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษสิครับ มันมีที่มาอยู่

    • @slopefungus2576
      @slopefungus2576 ปีที่แล้ว +4

      ขออนุญาตแสดงความคิดเห็นนะครับ จากที่ฟังต้นคลิปอธิบายกับความรู้มอปลายที่พอจำได้บ้าง คือต้องเข้าใจนิยามของพลังงานก่อนว่าคืออะไร ซึ่งก็คืองานรูปแบบนึงโดยนิยามที่สื่อความหมายจากสูตรเริ่มต้นแบบตรงๆ เลยก็คือผลคูณของแรงกระทำกับระยะทางที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเดียวกัน และเมื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงานจะพบว่า พลังงาน(N-m หรือ kg-m^2/s^2) เท่ากับ มวล (kg) คูณกับ ความเร็วยกกำลังสอง (m^2/s^2) ลองพิสูจน์สูตรจากนิยามเริ่มต้นของพลังงานดูจะพบว่ามวลต้องคูณกับความเร็วยกกำลังสองอยู่แล้วถึงจะสอดคล้องกับนิยามของพลังงาน

    • @testermu7476
      @testermu7476 ปีที่แล้ว

      ขออนุญาติแสดงความคิดเห็นด้วยนะครับ ข้อนี้ผมเห็นด้วยกับเจ้าของเม้น ถ้าลองคิดดีๆ เวลามันเป็นเพียงสิ่งสมมุติขึ้นมาเท่านั้นไม่มีจริง เราสมมุติ1ปี เท่ากับโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1วัน เท่ากับโลกหมุนรอบตัวเอง ถ้าเราอยู่นอกโลก นั่นแสดงว่า 1วันไม่มีจริง ถ้าเราอยู่นอกวงโคจรของดวงอาทิตย์ 1ปีก็ไม่มีเหมือนกัน ดังนั้นอกโลกหรือระดับอะตอมลงไปเวลาใช้ไม่ได้ ทุกอย่างน่าจะเกี่ยวข้องกับ cycle คือวงโคจรรอบมวล หรือความถี่ที่แปลผันตามขนาดของมาล แสงก็มีคลื่นความถี่ ถ้า E=mc2 ความเร็วแสงนี้คือความเร็วแสงช่วงความถี่ไหน

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m ปีที่แล้ว +1

      สมการคือการกำหนดมาตรฐานเรื่องใดเรื่องนึง ซึ่งก็สามารถกำหนดได้หมด เช่น พลังงานเท่านี้จะให้ค่าเป็นโดยเพื่อเปรียบเทียบเท่านั้น ไม่ได้แสดง1จูลคือขนาดไหน ตามสมการ 1จูลเท่ากับแรงผลักของหนัก1โลให้เคลื่อนไป1เมตรใน1วิ แค่นี้ก็เทียบ(บันหยัดตะยาง)(เขียนไม่เป็น)คำนวนได้หมดแล้ว มันก็แค่สมการธรรมดา ที่คนคิดไม่เป็นเชิดชูซะเกิน

  • @user-vm4vf2pu3q
    @user-vm4vf2pu3q ปีที่แล้ว +1

    ครูสมัยก่อนถึงสมัยนี้ สอนให้นักเรียน งง ละน่าเบื่อ
    กว่าจะเข้าใจบางทีจนไม่อยากเข้าใจ
    แต่มาเข้าใจตอนไปติวละก็คิดว่าถ้าครูที่ รร สอนแบบนี้มันจะตายหรือไงสอนให้สนุกและเข้าใจ แต่ก็นั่นละครับการศึกษาไทย สรุปแล้ว ชิกม่า F = ma
    สูตรครอบจักรวาล 5555

  • @dukeduke2450
    @dukeduke2450 10 หลายเดือนก่อน

    สมการนี้ คือ การบอกว่า เราเปลี่ยน มวล ไปเป็นพลังงาน และเปลี่ยนพลังงาน เปนมวลได้
    อย่างแรก เปลี่ยนมวล เปนพลังงาน เราทำได้แล้ว คือ เราเผาน้ำมัน เพื่อต้มน้ำ ผลิตไฟฟ้า
    อย่างหลัง เปลี่ยนพลังงาน เปนมวล อันนี้ เรายังทำไม่ได้ เรายังไม่มี เทคโนโลยี ที่อัดพลังงาน จนกลายเปนก้อนอิฐ ได้ หรือ แปลงความร้อนในอากาศ ให้กลายเปน ก้อนกหิน แต่ต้นไม้ และจุลินทรีย์ สามารถแปลง พลังงานจากแสง เปน น้ำตาล หรือแป้งได้
    อันนี้ ทำให้ กระการการสังเคราะห์แสง น่าสนใจมาก เพราะ มันเปน กระบวนการเดียว ที่เรารู้จัก ที่สามารถเปลี่ยนพลังงาน เปน มวล ได้จริงๆ
    จริง เราก็มีเทคโนโลยีโซลาเซล และแบตเตอรี่ ที่ เปลี่ยน พลังงาน จาก แสง เปน ไฟฟ้า และจากไฟฟ้า เปนเคมี อีกทอดหนึ่ง แต่ประสิทธิภาพ (พลังงาน ที่ให้ได้ ต่อ น้ำหนัก) solar cell + battery ก็ยังสู้ น้ำตาล หรือแป้ง ที่ได้จาก การสังเคราะห์แสง ไม่ได้
    ในการ์ตูนเรื่องโดราเอม่อน หุ่นแมวจากโลกอนาคตมี ของวิเศษ ที่เปลี่ยนแสงอาทิตย์ และความร้อนในอากาศ เปน ก้อนแร่ อยู่ใต้ดิน ให้ โนบิตะ ขุดไปขายได้ นี้เปนแนวคิดที่น่าสนใจมากเลย ถ้าเราทำได้แบบนี้ ปัญหาโลกร้อน หรือพลังงานราคาแพง จะหายไปเลย

  • @sirakupbuakhaew3399
    @sirakupbuakhaew3399 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้อาจารย์ช่วยProve ถึงที่มาของสูตรนี้หน่อยครับ ว่ากว่าจะกลายมาเป็นสมการอันเลื่องชื่อ​มันมีต้นต่อที่มาที่ไปเป็นยังไงครับ
    #ขอบคุณมากครับผม

  • @-H-yk2dy
    @-H-yk2dy 9 หลายเดือนก่อน

    ใช้คำนวณ ตัวเลข แทงหวย ได้ไหม
    และหวย ใช้สมการ อะไรคำนวณได้บ้าง

  • @user-th8vk1xn6n
    @user-th8vk1xn6n 2 ปีที่แล้ว

    พี่พูดใด้เข้าใจง่ายดีอะหน้าฟังมาก

  • @misterk3193
    @misterk3193 ปีที่แล้ว +1

    เคยไปออกแฟนพันธุ์แท้มั้ยครับ แว่นตา น้ำเสียง ท่าทางการสื่อสารที่ชัดเจน คุ้นมากครับ

    • @user-wc3fl7eb2p
      @user-wc3fl7eb2p ปีที่แล้ว +1

      ใช่ครับ อาจารย์เขาเป็นสุดยอดแฟนพันธุ์แท้นักวิทยาศาสตร์ครับ

  • @fedfe7976
    @fedfe7976 2 ปีที่แล้ว

    แสนซับไวๆครับจาน

  • @happynikki1000
    @happynikki1000 2 ปีที่แล้ว

    ชอบกราฟฟิกที่ทำมาอธิบายประกอบมากๆเลย
    ขอบคุณค่ะ

  • @user-bd9ik7iu9f
    @user-bd9ik7iu9f 2 ปีที่แล้ว +35

    เมื่อไหร่จะออกคลิป interstallar ตอน4คับ อยากดูเนื้อหาที่ละเอียดกว่าไปดูเองคับ(ดูเองไม่ค่อยรู้เรื่อง ให้พี่เล่ารู้เรื่องกว่าคับ)

    • @andachain
      @andachain 2 ปีที่แล้ว

      +++

    • @johnocha4500
      @johnocha4500 2 ปีที่แล้ว

      ดันนน

    • @27section
      @27section 2 ปีที่แล้ว

      ช่วยดันอีกคนครับ รออยู่นะครับ :)

    • @trainwidewalker
      @trainwidewalker 2 ปีที่แล้ว

      ++

  • @fozzchannel5901
    @fozzchannel5901 ปีที่แล้ว

    รอฟังเรื่องระเบิดปรมณู อยู่ครับ

  • @eerybuzzero9229
    @eerybuzzero9229 ปีที่แล้ว

    ไม่มีจุดเริ่มต้นไม่มีจุดสิ้นสุด พลังงานสร้างใหม่ไม่ได้ทำหายไปไม่ได้ พลังจิตก็ไม่ต่างกันในแง่นี้แต่ต่างกันตรงที่ เป็นผู้หยิบยื่นความจริงมาให้เมื่อเจริญสมาธิภาวนา

  • @sleepflowz
    @sleepflowz ปีที่แล้ว

    ตามมาจากริค&มอตี้ครับ

  • @user-zg6ej4pt3x
    @user-zg6ej4pt3x ปีที่แล้ว

    อธิบายได้ดีครับ

  • @mkhazard
    @mkhazard 2 ปีที่แล้ว

    อยากหาความรู้ด้านคณิตนะ เคยอ่านการ์ตูนมังงะเรื่อง Q.E.D. ที่มาแนวนักสืบ แต่ใส่มุขคณิตวิทย์ขั้นสูงซะเยอะ(เพราะโม้ว่าพระเอกเป็นอัจฉริยะคณิตไร้อารมณ์จบมหาลัยตั้งแต่ม.ต้น😆)
    แต่หลายเรื่องในนั้น เป็นชื่อที่หาข้อมูลต่อยากมาก และไม่รู้คนแปลตรวจทานข้อมูลให้มั้ย
    อย่างพวกจุดตัดเดเดคิน, ขวดเลเด้น, การวิเคราะห์ฟูริเย่, e^πi=-1ฯลฯ
    หรือพวกเรื่องไร้เฉลยอย่างโมโนโพล, การล่าสูตรหาค่าเฉพาะที่อนันต์ฯลฯ
    จนปัญญาจะหาข้อมูลต่อเอง เพราะเราสายศิลป์🤣

    • @achirawich_019
      @achirawich_019 ปีที่แล้ว

      อยากได้ชื่อเรื่องครับ

  • @vuttable
    @vuttable ปีที่แล้ว +1

    พุทโธขอบคุณพุทโธ

  • @user-ql7et6jq5k
    @user-ql7et6jq5k ปีที่แล้ว +6

    E=MC² E=พลังงาน M=มวล. C=ความเร็วคงที่ของแสง

    • @nattapolpunpaen2539
      @nattapolpunpaen2539 ปีที่แล้ว +1

      แล้ว C เท่ากับความเร็วคงที่แล้ว
      C² เท่ากับอะไรครับความเร็วไม่คงที่หรอ..ไม่ใช่นะมันคือความเร็วอิเล็กตรอน เพราะ M เป็นมวลของอิเล็กตรอน..งัน C² ก็ต้องเป็นความเร็วอิเล็กตรอน..

    • @user-ud3gj5oy2q
      @user-ud3gj5oy2q 8 หลายเดือนก่อน

      ​@@nattapolpunpaen2539 Cคือค่าคงที่ความเร็วแสงครับ ถึงแม้ว่าแสงจะมีความเร็วเปลี่ยนไปเมื่อเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางคนละชนิดกัน เหตุที่ใช้ความเร็วแสงเพราะอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสงครับ ลองเข้าไปหาฟังในยูทูปตาม เลคเชอร์ของมหาวิทยาลัยดังๆ Stanford Harvard เขาจะมีคนที่เคยทำงานด้านนี้จริงๆมาบรรยายให้ฟังจะเข้าใจได้ง่ายกว่า

  • @user-lh4kz3qj5t
    @user-lh4kz3qj5t ปีที่แล้ว +12

    ผมชอบการเสนอสื่อของอาจารย์อาจวรงค์ ที่ตรงประเด็น ไม่ออกนอกขอบเขตไปเยอะเกินไปโดยใช้เวลาเพียง13นาทีทำให้คนฟังอย่างผมเข้าใจง่าย จากที่เรียนในห้องเรียนแล้วไม่มีความเข้าใจในเรื่องสมการE=mc² ขอบคุณครับ😃

  • @pumin7845
    @pumin7845 ปีที่แล้ว

    ผมที่ไม่ได้ มัธยม มาแต่สนใจจะเรียนเกี่ยวกับเรื่องนี้ ต้องศึกษาจากตรงไหนคับ😅

  • @kamakich2088
    @kamakich2088 ปีที่แล้ว +1

    ผมเคยได้ยินจาก อนิเมะเรื่อง Doctor stone จากเซนคูอะครับ

    • @earth4367
      @earth4367 ปีที่แล้ว

      อ๋อครับ

  • @t-rextyscarlett4242
    @t-rextyscarlett4242 ปีที่แล้ว

    ได้ยินมาจาก DR.STONE

  • @rafaelreddevils9048
    @rafaelreddevils9048 2 ปีที่แล้ว

    ดูเหมือนนศ.ปี1 ปี2 เลยครับอาจารย์

  • @damrongsupho5200
    @damrongsupho5200 2 วันที่ผ่านมา

    ถ้ามีพลังงานความร้อน เเล้วมันมีพลังงานความเย็นหรือเปล่าครับจารย์🙏🏻

  • @user-ss2rw7hx5b
    @user-ss2rw7hx5b 8 วันที่ผ่านมา

    e=mc^2มาจาก 1/2mv^2เมื่อvคือความเร็วแสงและmคือมวลที่หายไปจะได้1/2mv^2+1/2mv^2=e=mv^2=mc

  • @user-os9uz6ni9e
    @user-os9uz6ni9e ปีที่แล้ว +1

    FCครับ

  • @cikgu_tadika
    @cikgu_tadika 3 วันที่ผ่านมา

    ถ้าเราสามารถเอาทุกสสารเปลี่ยนเป็นพลังงานการระเบิด แค่คลิปหนีบกระดาษอาจมีพลังงานพอๆกับระเบิดลูกนึง

  • @vorapobautomation9760
    @vorapobautomation9760 2 ปีที่แล้ว +1

    มีเรื่อง ที่มาของ สมการ ความเร็วไหมครับ V=wr วี เท่ากับ โอเมก้าอาร์ ครับ
    อยากรู้ครับ

    • @justkidding4967
      @justkidding4967 2 ปีที่แล้ว +1

      มีการพิสูจน์ตอน ม.ปลาย อยู่นะครับ ในเรื่อง simple harmonic ลองเปิด text ฟิสิกส์ต่างประเทศดูครับ

  • @situp4150
    @situp4150 ปีที่แล้ว +1

    ผมรู้จักสมการนี้กับอนิเมะแนววิทยาศาสตร์เรื่อง Dr.Stone ครับ 😅 และ ผมรู้สึกว่านักวิทย์สมัยก่อนสุดยอดมากๆ คิดสมการที่ ไม่ว่ากี่สิบกี่ร้อยปีก็ยังใช้ได้อยู่เสมอ

    • @fanciless5591
      @fanciless5591 10 หลายเดือนก่อน

      จริง พอได้ดูแล้วทึ่งว้าวมากกับในคนในอดีต ที่เริ่มจากโลกที่ไม่มีอะไรเลย

  • @paumpk4411
    @paumpk4411 ปีที่แล้ว

    E=mc² อ่านว่า อี-เท่า-กับ-เอ็ม-ซี-กำ-ลัง-สอง ได้มั้ยครับ

  • @rockyff.2904
    @rockyff.2904 ปีที่แล้ว

    ผมเห็นมาจากอนิเมชั่น ริกเเอนมอตี้ครับ

  • @seeyouokff4737
    @seeyouokff4737 ปีที่แล้ว

    แล้วใช้เพื่ออะไรคับ

  • @chatchaloemjira9521
    @chatchaloemjira9521 ปีที่แล้ว

    E = mc2 คนเราอาจพอทำความเข้าใจได้ว่า มวล กับ พลังงาน มันสามารถสลับสับเปลี่ยนกันได้...แต่ที่น่าจะเข้าใจได้ยากกว่านั้น ก็คือ ทำไมหนอ ค่ามันถึงได้ ลงตัว เป๊ะ เป็น 2.0 หรือ เลขจำนวนเต็ม ได้ เหตุใดไม่มี ทศนิยมเข้ามาเกี่ยวข้องเลย...ใครรู้ช่วยบอกที....

  • @roeun428
    @roeun428 ปีที่แล้ว +1

    ถ้ามีครูเจ๊งๆแบบนี้เราคงชอบวิทไปตั้งนานแล้วเรียนมาสายนี้แต่จบแบบงงงง

  • @Sobach3650
    @Sobach3650 ปีที่แล้ว +1

    เห็นสมการนี้นึกถึง อนิเมะ เรื่อง dr.stone เลย 55

  • @uriusflara2180
    @uriusflara2180 2 ปีที่แล้ว +9

    รบกวนเรียนถามอาจารย์ สมการ E=mc^2 มันต่างจากสมการ พลังงาน(E/นิวตัน) = มวล(m/กิโลกรัม) x ความเร่ง(v^2/เมตร/วินาที^2) ยังไง?

    • @kuuhaku3503
      @kuuhaku3503 2 ปีที่แล้ว +8

      แสงไม่มีความเร่ง แสงมีความเร็วคงที่ในสุญญากาศ ความเร็วจะไม่เปลี่ยนแปลงตามผู้สังเกตุการณ์

    • @justkidding4967
      @justkidding4967 2 ปีที่แล้ว +2

      Concept ของ E=mc^2 คือ ไม่ว่าผู้สังเกตจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแค่ไหน จะสามารถวัดความเร็วแสงได้เท่าเดิมเสมอครับ

    • @kohkan454
      @kohkan454 2 ปีที่แล้ว +1

      Ma มันเเรงเฉยๆนะครับ กฏข้อ2นิวตัน

    • @bothchick4962
      @bothchick4962 2 ปีที่แล้ว +3

      ก่อนอื่นเลยคือโลกนี้ไม่มีสูตร E = ma นะ มีแต่ F = ma ซึ่งต่อให้เป็น F = ma มันก็ต่างจาก E = mc^2 อยู่ดี ตรงที่แนวคิดของสองคนนี้ต่างกัน นิวตันมองแรงคือสิ่งที่ใช้ผลักวัตถุให้เคลื่อนที่ ซึ่งเมื่อออกแรงเท่าเดิมต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ วัตถุจะมีความเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในอัตราคงที่ หรือเรียกอีกอย่างว่ามีความเร่ง สมการนี้มองว่าแรงกับความเร่งเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงกันไปมาได้ แต่มวลสำหรับนิวตันเค้ามองว่ามันเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เหมือนกฎข้อนึงของฟิสิกส์คลาสสิกที่จะระบุเลยว่ามวลของวัตถุมีค่าคงที่เสมอไม่ว่าจะอยู่ที่ใดในจักรวาล คือถ้าเอาก้อนหินก้อนนึงไปวางไว้บนดวงจันทร์ หรือวางไว้บนโลก ก้อนหินก้อนนี้ย่อมมีมวลเท่ากัน แต่ขอร้องว่าอย่าสับสนมวลกับน้ำหนักนะ เพราะน้ำหนักคือแรงชนิดนึงซึ่งก็คือมวลคูณด้วยความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงอีกที แต่ทั้งนี้แนวคิดจากโลกยุคหลังก็ถูกทำลายโดยไอสไตล์ ด้วยสมการ E = mc^2 อยู่ดี โดยถ้าให้เปรียบเทียบ E กับ F จริง ๆ มันก็เป็นสิ่งที่สัมพันธ์กันอยู่ อาจจะมองว่าเป็นสิ่งเดียวกันไปก่อนก็ได้ แต่จุดสำคัญของสมการนี้คือเค้ามองว่าความเร็วเป็นสิ่งคงที่โดยกำหนดไว้ให้เท่ากับความเร็วแสง แล้วเปลี่ยนมุมมองมาเล่นกับมวลแทน เพราะงั้นถ้าถามว่ามันต่างกันยังไง ผมบอกได้เลยว่าสมการของไอสไตล์นั้นเหมือนเป็นการจับสมการของนิวตันมาพลิกหน้าเป็นหลัง แล้วกลับตะเข็บเอาข้างในออกข้างนอกใหม่หมดเลย เหมือนคนใส่เสื้อกลับด้านอะ สมุดท้ายแล้วมันก็เกิดแฟร์ชั่นใหม่ ๆ ขึ้น แต่แฟร์ชั่นนั้นมันกลับกลายเป็นการพลิกประวัติวงการวิทยาศาสตร์ เกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขึ้นมากมาย ไอสไตล์ก็ได้แนวคิดของสมการมาจากนิวตันนั่นแหละ แต่ถามว่าทำไมต้อง C กำลังสองผมก็ไม่รู้ อาจจะเป็นเพราะการทดลองในยุคนั้นเริ่มพอมองเห็นแล้วก็ได้ว่าความเร็วสองเป็นสิ่งคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับความเร็วของผู้สังเกตการณ์ ไอสไตล์เลยปิ๊งไอเดียจับความเร็วแสงมายัดลงสมการแล้วบอกว่าเนี้ยมันคงที แต่จริง ๆ ผมว่ามันไม่มีอะไรคงที่หรอกทั้งมวลและความเร็ว ผ่านไปซัก 100 กี เดี๋ยวก็ทีคนเอาสมการของไอสไตล์มาแยกตัวแปรพิสูจน์อีกที ทีนี้แหละขีดจำกัดความเร็วแสงจะถูกทำลายคุณเชื่อผมมั้ย

    • @kuuhaku3503
      @kuuhaku3503 2 ปีที่แล้ว

      @@bothchick4962 Σf = dp/dt ต้องเป็นสูตรนี้ Σf = ma ใช้ได้เมื่อมวลไม่เปลี่ยนแปลง เช่นการผลักกล่อง

  • @WanaanSecret
    @WanaanSecret 2 ปีที่แล้ว +1

    งานหนังสือเมือวาน ได้ไปซื้อหนังสือภาษาจักรวาลของอาจารย์มาด้วย ชอบมากเลยครับ 5555

  • @CH-vt4hf
    @CH-vt4hf 10 หลายเดือนก่อน

    บุคคล ผู้คิดคน วิธี ฆ่า เพื่อนมนุษย์ ที่มากที่สุด ยกย่องเป็นคนที่ฉลาดที่สุดในโลกได้ไง

  • @paswit881
    @paswit881 ปีที่แล้ว +2

    เห็นใน dr.stone

  • @user-mk8sy5tc6d
    @user-mk8sy5tc6d ปีที่แล้ว

    E=อิลูเมีย M=มาลอช C=ซิลิก้า2ตัว
    =อิลูเมียกดอันติใส่มาลอชให้มาลอชฆ่าซิลิก้า2ตัว

  • @Saru_se
    @Saru_se ปีที่แล้ว

    เห็นอยู่บนเสื้อเซ็นคูครับ

  • @benjapolp5730
    @benjapolp5730 2 ปีที่แล้ว

    สนใจหนังสือทั้งสามเล่มครับ
    ปล ตัดผมโกนหนวด แล้วหน้าไม่คุ้นเลยครับ ^_^

  • @maxo_thai_lish
    @maxo_thai_lish ปีที่แล้ว

    อธิบายได้ดีทำให้ผู้นึกภาพออกเลยครับว่ามันเอาไปใช้อะไรได้บ้าง ตอนผมเรียนนี้สอนแต่คำนวณแต่ไม่ได้สอนในส่วนของมวลยึดเหนี่ยวหรืออื่นๆเลยพึ่งมารู้ในคลิปนี้แหละครับ

  • @bieber4206
    @bieber4206 2 ปีที่แล้ว

    ผมอยากอยากคริบที่อธิบายE=mc²มานานเเล้วครับดี

  • @NitasW
    @NitasW ปีที่แล้ว

    ผมมีไข่ 2 ฟองครับ

  • @FirstKunCH
    @FirstKunCH 2 ปีที่แล้ว

    ผมอ่านว่า. อี เท่ากับ เอ็มซี กำลัง สอง
    แบบนี้ถูกมั้ย ใครก็ได้ช่วยบอกที