ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
🙏🙏🙏
ขอน้อมกราบขอบพระคุณความรู้ดีๆจากทีมคณะอาจารย์โอห์มLaw ด้วยนะคะ 🙏
สอนดี สอนสนุกมากค่ะ
เทพ จริงๆ ครับ
2:00:02 ข้อนี้218โจทย์กับจำเลยฎีกาได้มั้ยครับ
บทตัดสิทธิในการฎีกาตามมาตรา 218 จะใช้กับกรณีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนหรือแก้ไขเล็กน้อยเท่านั้นครับ ข้อเท็จจริงตามตัวอย่าง เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขทั้งบทลงโทษ และแก้อัตราโทษด้วย จึงเป็นการพิพากษาแก้ไขมาก จะต้องพิจารณาบทตัดสิทธิในการฎีกาตามมาตรา 219 ครับ
ขอบคุณครับ
รบกวนถามเรื่องฎีกา ม.219 แก้มาก ถ้าบทมาตราไม่เปลี่ยน ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษ แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้รอ อย่างนี้ฎีกาได้รึเปล่าครับ
การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขเรื่องการรอการลงโทษ ถือว่าเป็นการพิพากษาแก้ไขมากครับ ส่วนจะฎีกาต่อไปได้หรือไม่ ก็ต้องพิจารณาตามเงื่อนไขในมาตรา 219 ครับผม
@@OhmsLawTutor ขอบคุณครับ
1:01:04 158(5)
🙏🙏🙏
ขอน้อมกราบขอบพระคุณความรู้ดีๆจากทีมคณะอาจารย์โอห์ม
Law ด้วยนะคะ 🙏
สอนดี สอนสนุกมากค่ะ
เทพ จริงๆ ครับ
2:00:02 ข้อนี้218โจทย์กับจำเลยฎีกาได้มั้ยครับ
บทตัดสิทธิในการฎีกาตามมาตรา 218 จะใช้กับกรณีที่ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนหรือแก้ไขเล็กน้อยเท่านั้นครับ ข้อเท็จจริงตามตัวอย่าง เมื่อศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขทั้งบทลงโทษ และแก้อัตราโทษด้วย จึงเป็นการพิพากษาแก้ไขมาก จะต้องพิจารณาบทตัดสิทธิในการฎีกาตามมาตรา 219 ครับ
ขอบคุณครับ
รบกวนถามเรื่องฎีกา ม.219 แก้มาก ถ้าบทมาตราไม่เปลี่ยน ศาลชั้นต้นพิพากษาลงโทษ แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษาให้รอ อย่างนี้ฎีกาได้รึเปล่าครับ
การที่ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ไขเรื่องการรอการลงโทษ ถือว่าเป็นการพิพากษาแก้ไขมากครับ ส่วนจะฎีกาต่อไปได้หรือไม่ ก็ต้องพิจารณาตามเงื่อนไขในมาตรา 219 ครับผม
@@OhmsLawTutor ขอบคุณครับ
1:01:04 158(5)