ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
รำได้สวยงามมากๆ เหมาะสำหรับร่ายรำต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่เป็นนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาเที่ยวยังเมืองเก่าศรีสัชนาลัยจังหวัดสุโขทัยเช่น ชาวอังกฤษ ชาวรัฐเชีย ชาวออสเตรเลีย ๆลๆ เป็นต้น
เมืองเก่าศรีสัชนาลัยเป็นเมืองร่วมแบบศิลปะวัฒนธรรมเขมรลพบุรีและชาวไทยที่อพยพมาจากมณฑลพายัพ โดยมาตั้งรกรากปักฐานอยู่ด้วยกันในฐานะทางเครือญาติ มีมาแต่ทีหลังเมืองเชลียงขึ้นไปโดยมีพระร่วงเจ้าปกครองเป็นถึงท่านเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยมาก่อนแล้ว ส่วนเมืองเชลียงนั้นมีอยู่ก่อนแล้ว เพราะเคยเป็นที่ตั้งพระราชวังเก่าแก่สถานที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าสุริยวรมันที่๑ มาก่อนและขุนนางเขมรอีกหลายร้อยกว่าท่าน โดยไม่ทราบพระนามได้ ว่าชื่ออะไร ที่เสด็จมาแต่กรุงละโว้ ลพบุรี มายังเมืองเชลียงในจังหวัดสุโขทัยมหานครธานีและเคยเป็นชุมชนชาวเขมรโบราณอยู่เมื่อหลายพันกว่าปีผ่านมาแล้วในสมัยเขมรกัมพูชาและเขมรลพบุรี ส่วนพระร่วงเจ้าท่านเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยนั้น จะสัมพันธไมตรีอันดีกับมหากษัตริย์สุริยวรมันที่๑อย่างมั่นคงหรือไม่นั้นยังคงเป็นปมปริศนาอยู่ตลอดไป ที่จะทำให้นักวิชาการในหลายๆด้านได้ไขความจริง หลายประการ
เมืองเชลียงมีมาก่อนแล้วสร้างในสมัยอาณาจักรเขมรกัมพูชาและอาณาจักรขอมละโว้(เขมรลพบุรี)ส่วนเมืองศรีสัชนาลัยนั้นมีมาทีหลัง อันเป็นเมืองที่สมเด็จพระร่วงเจ้าท่านพระราชทานพระนามเองว่า ( ศรีสัชนาลัย) ชึ่งปัจจุบันคือเมืองเก่าศรีสัชนาลัยมรดกโลก ตำบลศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยมหานครธานีรุ่งอรุณแห่งความสุข
ถึงทางนักวิชาการกัมพูชากว่าหลายคนในประเทศกัมพูชาจะรู้ว่าเมืองเชลียงปรากฏอยู่ในศิลาจารึกสุริยวรมันที่๑ว่าเมืองเชลียงนั้นเป็นของประเทศกัมพูชาหรือไม่ก็รู้มาจากสื่อก็ตาม ถึงแม้ว่ากัมพูชาจะส่งพระสงฆ์จากกรุงพนมเปญหรือใครก็ตามมาถึงยังเมืองเชลียงก็ไม่สามารถที่จะเอาไปได้หรอก เพราะอยู่ในฝั่งไทยเป็นผลสำเร็จแล้วและเป็นของประเทศสยามไทยด้วย บายเถ่อะกัมพูชา ระวังจะโดนเจ้าโขนอสูรตะขาบเจ็ดร้อยปี ฉบับชไมพร จากเมืองเชลียงตามหลอกตามหลอนเอาจนเป็นบ้านะ จงระวังนะ นักวิชาการกัมพูชาเอ๋ย ฮ่ะๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆฮ่าๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ จากทายาทอสูร ฉบับชไมพร จตุรพุท
เจ้าโขนอสูรตะขาบเจ็ดร้อยปีก็คือชายหนุ่มเขมรกัมพูชาที่อพยพมาอยู่เมืองเชลียงบ้านเครือญาติของตนแล้วมาหลงรักแม่นางคำหยาด พระธิดาในพญาเชลียงในขณะที่เดินตลาดอยู่ แล้วเล่นของบูชายัญญ์ตนเองแล้วปลิดชีพ ตายในถ้ำเป็นวิญญาณอสูรตะขาบเข้าสิงในตุ๊กตาสังคโลกเจ็ดร้อยกว่าปีเฝ้าถ้ำหวงแหนนายพรานแลคนเดินป่าและ หาของป่า ในสมัยนั้นคือ สมัยแคว้นสุโขทัย แลเพื่อจะแก้แค้นเข้าสิงในร่างของธิดาพญาเชลียงด้วย ที่ไปทำกับมันอย่างสาสม คือ เฆี่ยนตีเอาจนเกือบตายสามสลบ แล้วก็เอาน้ำสาดใส่ก่ะบาลให้ตืนสะดุ้งเป็นต้น เสร็จแล้วก็เฆี่ยนใหม่ อีกจนครบพอดีสามสลบ ถือว่าเป็นการลงโทษที่รุนแรงมาก ในสมัยแคว้นสุโขทัย๗๐๐กว่าปี จากทายาทอสูรฉบับชไมพร จตุรพุท
ศิลปะสมัยศรีสัชนาลัยเป็นที่นิยมตามแบบศิลปะแบบเขมรแบบบาปวน แบบนครวัด และบายน ที่จะเน้นลายปูนปั้นเป็นหลักและศิลาแลงตามมาในชั้นหลัง โดยการก่อสร้างวัดต่างๆนี้ภายในเมืองเก่าศรีสัชนาลัยและนอกเมืองเก่าศรีสัชนาลัยด้วย จะผสมผสานช่างต่างๆไว้รวมกัน ทั้งช่างสุโขทัย ช่างลาว ช่างเขมรละโว้ลพบุรี ช่างเขมรกัมพูชา และช่างพม่า ช่างมอญ กับช่างไทยมณฑลภาคพายัพมารวมๆกันกว่าหลายช่าง โดยการก่อสร้างนั้นจะยากยิ่งและลำบากแสนเข็ญมาก ต้องใช้ช้างใช้ม้าเยอะกว่าหลายแสนขนาน ในการขนหินศิลาแลงที่ได้จากการตัดอยู่บนเขา ที่มีอยู่ทั่วไป ของอำเภอศรีสัชนาลัยโดยมีกองทหารของเขมรละโว้ลพบุรีกว่าหลายพันแสนนาย ควบคุมและดูแลการก่อสร้างอยู่ โดยใช้เวลากว่าหลายปี จนสำเร็จลุล่วงผ่านไปได้ด้วยดี โดยไม่มีอะไรขาดตกบกพร่อง แต่การก่อสร้างนั้นอาจใช้เวลายาวนานมาก และมากที่สุดของเมืองเก่าศรีสัชนาลัย จนต้องทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นการธรรมดา จากอุบัติเหตุบ้าง เจ็บป่วยบ้าง หรือเป็นลมบ้าง อ่อนแรงบ้างหรือเป็นไข้ป่าบ้าง เป็นธรรมดา ที่คนเราทุกคนจะพึงมี ทุกอย่างล้วนแต่เป็นอนัตตาทั้งนั้น ตามหลักฐานศิลาจารึกในพระพุทธศาสนาของเมืองเก่าสุโขทัยได้บอกไว้หลายประการชื่อ ไตรภูมิพระร่วงและเตรภูมิกถา เป็นต้น จากหนังสือเรียนสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรื่อง เมืองเก่าสุโขทัย และเมืองเก่าศรีสัชนาลัย ท่องเที่ยวในดินแดนพระร่วงพระลือ ตำนานอมตะในยุคเขมรละโว้ลพบุรีธานีแห่งอารยะธรรม
งามๆ
ชอบรำสวย เพลงไพเราะมาก#
ระบำชุดนี้ จีบเเบบปากนกเเก้วเหมือนสุโขทัยไหมคะ
อำนวยการออกแบบและประดิษฐ์โดยท่านอาจารย์ จตุพร รัตนวราหะ ศิลปินแห่งชาติ ขณะนั้นท่านดำรงตำแหน่ง ผอ.วนศ.สุโขทัย นับเป็นผลงานล้ำค่าของชาติ
ระบำชุดนี้งามมากค่ะ เป้นงานชิ้นเอกของ วนศ สุโขทัยเลยก้ว่าได้ แอบรู้สึกว่าหลังจากสุโขทัยมีระบำชุดนี้ ที่อื่นๆก็เริ่มมีการทำระบำที่มีชื่อแนว "เทวีศรี..." ที่นั่นบ้าง ที่นี่บ้าง โดยชุด ท่ารำ ก้จะละม้ายคล้ายเทวีศรีสัชนาลัย แต่ดูกี่ที่ๆ ก็ไม่ตรึงใจเท่าเทวีศรีสัชนาลัยเลยค่ะ
ชวนจินตนาการไปยังลายปูนปั้นที่วัดนางพญา อ่อนหวาน พริ้วไหว
ของดีบ้านเราจริงๆ
งดงามมากๆๆๆๆค่ะ
สมเด็จพระเทพฯกรุงเทพมหานคร พระมารดา สคส สมเด็จแม่เทพ
วันเกิดน้องปริม 27 ปี ครบอายุ 37 ปี แม่ผอของกวาง
เนร์เบิก๒๒๐ล้านเตร์ขอม~••✓™
รำได้สวยงามมากๆ เหมาะสำหรับร่ายรำต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่เป็นนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาเที่ยวยังเมืองเก่าศรีสัชนาลัยจังหวัดสุโขทัยเช่น ชาวอังกฤษ ชาวรัฐเชีย ชาวออสเตรเลีย ๆลๆ เป็นต้น
เมืองเก่าศรีสัชนาลัยเป็นเมืองร่วมแบบศิลปะวัฒนธรรมเขมรลพบุรีและชาวไทยที่อพยพมาจากมณฑลพายัพ โดยมาตั้งรกรากปักฐานอยู่ด้วยกันในฐานะทางเครือญาติ มีมาแต่ทีหลังเมืองเชลียงขึ้นไปโดยมีพระร่วงเจ้าปกครองเป็นถึงท่านเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยมาก่อนแล้ว ส่วนเมืองเชลียงนั้นมีอยู่ก่อนแล้ว เพราะเคยเป็นที่ตั้งพระราชวังเก่าแก่สถานที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าสุริยวรมันที่๑ มาก่อนและขุนนางเขมรอีกหลายร้อยกว่าท่าน โดยไม่ทราบพระนามได้ ว่าชื่ออะไร ที่เสด็จมาแต่กรุงละโว้ ลพบุรี มายังเมืองเชลียงในจังหวัดสุโขทัยมหานครธานีและเคยเป็นชุมชนชาวเขมรโบราณอยู่เมื่อหลายพันกว่าปีผ่านมาแล้วในสมัยเขมรกัมพูชาและเขมรลพบุรี ส่วนพระร่วงเจ้าท่านเจ้าเมืองศรีสัชนาลัยนั้น จะสัมพันธไมตรีอันดีกับมหากษัตริย์สุริยวรมันที่๑อย่างมั่นคงหรือไม่นั้นยังคงเป็นปมปริศนาอยู่ตลอดไป ที่จะทำให้นักวิชาการในหลายๆด้านได้ไขความจริง หลายประการ
เมืองเชลียงมีมาก่อนแล้วสร้างในสมัยอาณาจักรเขมรกัมพูชาและอาณาจักรขอมละโว้(เขมรลพบุรี)ส่วนเมืองศรีสัชนาลัยนั้นมีมาทีหลัง อันเป็นเมืองที่สมเด็จพระร่วงเจ้าท่านพระราชทานพระนามเองว่า ( ศรีสัชนาลัย) ชึ่งปัจจุบันคือเมืองเก่าศรีสัชนาลัยมรดกโลก ตำบลศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยมหานครธานีรุ่งอรุณแห่งความสุข
ถึงทางนักวิชาการกัมพูชากว่าหลายคนในประเทศกัมพูชาจะรู้ว่าเมืองเชลียงปรากฏอยู่ในศิลาจารึกสุริยวรมันที่๑ว่าเมืองเชลียงนั้นเป็นของประเทศกัมพูชาหรือไม่ก็รู้มาจากสื่อก็ตาม ถึงแม้ว่ากัมพูชาจะส่งพระสงฆ์จากกรุงพนมเปญหรือใครก็ตามมาถึงยังเมืองเชลียงก็ไม่สามารถที่จะเอาไปได้หรอก เพราะอยู่ในฝั่งไทยเป็นผลสำเร็จแล้วและเป็นของประเทศสยามไทยด้วย บายเถ่อะกัมพูชา ระวังจะโดนเจ้าโขนอสูรตะขาบเจ็ดร้อยปี ฉบับชไมพร จากเมืองเชลียงตามหลอกตามหลอนเอาจนเป็นบ้านะ จงระวังนะ นักวิชาการกัมพูชาเอ๋ย ฮ่ะๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆฮ่าๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ จากทายาทอสูร ฉบับชไมพร จตุรพุท
เจ้าโขนอสูรตะขาบเจ็ดร้อยปีก็คือชายหนุ่มเขมรกัมพูชาที่อพยพมาอยู่เมืองเชลียงบ้านเครือญาติของตนแล้วมาหลงรักแม่นางคำหยาด พระธิดาในพญาเชลียงในขณะที่เดินตลาดอยู่ แล้วเล่นของบูชายัญญ์ตนเองแล้วปลิดชีพ ตายในถ้ำเป็นวิญญาณอสูรตะขาบเข้าสิงในตุ๊กตาสังคโลกเจ็ดร้อยกว่าปีเฝ้าถ้ำหวงแหนนายพรานแลคนเดินป่าและ หาของป่า ในสมัยนั้นคือ สมัยแคว้นสุโขทัย แลเพื่อจะแก้แค้นเข้าสิงในร่างของธิดาพญาเชลียงด้วย ที่ไปทำกับมันอย่างสาสม คือ เฆี่ยนตีเอาจนเกือบตายสามสลบ แล้วก็เอาน้ำสาดใส่ก่ะบาลให้ตืนสะดุ้งเป็นต้น เสร็จแล้วก็เฆี่ยนใหม่ อีกจนครบพอดีสามสลบ ถือว่าเป็นการลงโทษที่รุนแรงมาก ในสมัยแคว้นสุโขทัย๗๐๐กว่าปี จากทายาทอสูรฉบับชไมพร จตุรพุท
ศิลปะสมัยศรีสัชนาลัยเป็นที่นิยมตามแบบศิลปะแบบเขมรแบบบาปวน แบบนครวัด และบายน ที่จะเน้นลายปูนปั้นเป็นหลักและศิลาแลงตามมาในชั้นหลัง โดยการก่อสร้างวัดต่างๆนี้ภายในเมืองเก่าศรีสัชนาลัยและนอกเมืองเก่าศรีสัชนาลัยด้วย จะผสมผสานช่างต่างๆไว้รวมกัน ทั้งช่างสุโขทัย ช่างลาว ช่างเขมรละโว้ลพบุรี ช่างเขมรกัมพูชา และช่างพม่า ช่างมอญ กับช่างไทยมณฑลภาคพายัพมารวมๆกันกว่าหลายช่าง โดยการก่อสร้างนั้นจะยากยิ่งและลำบากแสนเข็ญมาก ต้องใช้ช้างใช้ม้าเยอะกว่าหลายแสนขนาน ในการขนหินศิลาแลงที่ได้จากการตัดอยู่บนเขา ที่มีอยู่ทั่วไป ของอำเภอศรีสัชนาลัยโดยมีกองทหารของเขมรละโว้ลพบุรีกว่าหลายพันแสนนาย ควบคุมและดูแลการก่อสร้างอยู่ โดยใช้เวลากว่าหลายปี จนสำเร็จลุล่วงผ่านไปได้ด้วยดี โดยไม่มีอะไรขาดตกบกพร่อง แต่การก่อสร้างนั้นอาจใช้เวลายาวนานมาก และมากที่สุดของเมืองเก่าศรีสัชนาลัย จนต้องทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นการธรรมดา จากอุบัติเหตุบ้าง เจ็บป่วยบ้าง หรือเป็นลมบ้าง อ่อนแรงบ้างหรือเป็นไข้ป่าบ้าง เป็นธรรมดา ที่คนเราทุกคนจะพึงมี ทุกอย่างล้วนแต่เป็นอนัตตาทั้งนั้น ตามหลักฐานศิลาจารึกในพระพุทธศาสนาของเมืองเก่าสุโขทัยได้บอกไว้หลายประการชื่อ ไตรภูมิพระร่วงและเตรภูมิกถา เป็นต้น จากหนังสือเรียนสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรื่อง เมืองเก่าสุโขทัย และเมืองเก่าศรีสัชนาลัย ท่องเที่ยวในดินแดนพระร่วงพระลือ ตำนานอมตะในยุคเขมรละโว้ลพบุรีธานีแห่งอารยะธรรม
งามๆ
ชอบรำสวย เพลงไพเราะมาก#
ระบำชุดนี้ จีบเเบบปากนกเเก้วเหมือนสุโขทัยไหมคะ
อำนวยการออกแบบและประดิษฐ์โดยท่านอาจารย์ จตุพร รัตนวราหะ ศิลปินแห่งชาติ ขณะนั้นท่านดำรงตำแหน่ง ผอ.วนศ.สุโขทัย นับเป็นผลงานล้ำค่าของชาติ
ระบำชุดนี้งามมากค่ะ เป้นงานชิ้นเอกของ วนศ สุโขทัยเลยก้ว่าได้ แอบรู้สึกว่าหลังจากสุโขทัยมีระบำชุดนี้ ที่อื่นๆก็เริ่มมีการทำระบำที่มีชื่อแนว "เทวีศรี..." ที่นั่นบ้าง ที่นี่บ้าง โดยชุด ท่ารำ ก้จะละม้ายคล้ายเทวีศรีสัชนาลัย แต่ดูกี่ที่ๆ ก็ไม่ตรึงใจเท่าเทวีศรีสัชนาลัยเลยค่ะ
ชวนจินตนาการไปยังลายปูนปั้นที่วัดนางพญา อ่อนหวาน พริ้วไหว
ของดีบ้านเราจริงๆ
งดงามมากๆๆๆๆค่ะ
สมเด็จพระเทพฯกรุงเทพมหานคร พระมารดา สคส สมเด็จแม่เทพ
วันเกิดน้องปริม 27 ปี ครบอายุ 37 ปี แม่ผอของกวาง
เนร์เบิก๒๒๐ล้านเตร์ขอม~••✓™