การไทเทรต กรด เบส

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 2 ต.ค. 2015
  • ประกอบการอบรมทักษะปฏิบัติการพื้นฐานทางเคมี ม.4 ห้องเรียนพิเศษและ พสวท. โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย 29 กย-2 ตค 58

ความคิดเห็น • 40

  • @SOULLOSTGAMER
    @SOULLOSTGAMER 5 ปีที่แล้ว +28

    จากสีที่เห็นมันทำปฏิกิริยาเกินพอดีนะครับ สีต้องอ่อนกว่านี้

  • @SOULLOSTGAMER
    @SOULLOSTGAMER 5 ปีที่แล้ว +8

    ต้องกลั่วบิวเรตและปิเปตก่อนด้วยสารที่จะใช้ด้วยนะครับ

  • @nattarudeetanyoonurak721
    @nattarudeetanyoonurak721 7 ปีที่แล้ว +8

    ขอบคุณมากๆเลยครับได้ความรู้เรื่องการใช้อุปกรณ์เเล้ว กำลังจะต้องสอบฏิบัติอยู่พอดี

  • @user-ix8dw3ow3c
    @user-ix8dw3ow3c 2 ปีที่แล้ว +2

    ได้ความรู้มากครับ ตอนนี้ผมก็ทำงาน ห้องแล็ป ในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งด้วยครับ

  • @inwzoom
    @inwzoom 4 ปีที่แล้ว +7

    ทำไมคนสอนไม่ใส่ถุงมือในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีหรอครับ แค่ 1 หยดก็สามารถซึมเข้าสู่ร่างกายได้แล้ว

  • @user-sr6bi7kb9x
    @user-sr6bi7kb9x 6 ปีที่แล้ว

    Smart chem อาจารย์ค้ะอยากให้อาจารย์ ทำคลิปสอนออนไลน์ในรายวิชาทฤษฎี ของเคมีวิเคราะห์อ่ะค่ะ คือหนูเรียนไม่เข้าใจมากกกค่ะ กลัวจะ F ค่ะอาจารย์

  • @user-un2hn4sq8m
    @user-un2hn4sq8m 5 ปีที่แล้ว +6

    ม่วงมาก

  • @sitinonbuaporm1066
    @sitinonbuaporm1066 18 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณครับ

  • @user-sr6bi7kb9x
    @user-sr6bi7kb9x 6 ปีที่แล้ว +3

    ทำใมใช้8.3mLแล้วมันเข้มจังเลยค้ะหนูใช้ไป9.4สียังไม่เห็นเข้มขนาดนี้เลยค่ะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  6 ปีที่แล้ว +1

      กุศลชัย บุพศิริ ขึ้นกับความเข้มข้นที่ใช้ค่ะ สีเข้มก็เกิดจากแสงกล้องด้วย จริงๆไทรเทรตที่ดีควรได้สีอ่อนๆ

  • @asuwanbueraheng698
    @asuwanbueraheng698 6 ปีที่แล้ว

    ไทเทรต HCL กับ NaOH ใช้อินดิเคเตอร์ ใช้ เมทิดโอเร้น.
    ใช้ HCl 10 mL
    NaOH 50 mL ลดประมานเท่าไหรครับ. จึงจะเปลี่ยนสี

    • @asuwanbueraheng698
      @asuwanbueraheng698 6 ปีที่แล้ว

      ค่ามาตรฐานประมานเท่าไหรคับ. ของผมปริมาน ลดลงถึง 10.3 mL ในบิวเรต

    • @SmartChem
      @SmartChem  6 ปีที่แล้ว

      HCl กรกแก่ ไทเทรต NaOH เบสแก่ pH เปลี่ยนอย่างรวดเร็ว ในช่วง 4-7 และปฏิกิริยาเป็นแบบ 1:1 ถ้าใช้ NaOH 1 M ปริมาณที่ใช้ ก็จะขึ้นกับความเข้มข้น HCl ค่ะ เช่น ถ้า HCl 1M ก็น่าจะใช้ประมาณ 10 ml

    • @asuwanbueraheng698
      @asuwanbueraheng698 6 ปีที่แล้ว

      ออครับ. ขอบคุนมากครับ

  • @gK-bv7mp
    @gK-bv7mp 2 ปีที่แล้ว +4

    ไทเทรตกรดแก่-เบสแก่ ควรใช้อินดิเคเตอร์ชนิดไหนหรอคะ ใช้โบรโมไทมอลบลู เหมาะสมสุดแล้วหรือเปล่าคะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  2 ปีที่แล้ว +1

      ฟีนอลเรด pH 6.8 น่าจะเหมาะสดค่ะ ใช้ฟีนอฟทาลีนจึงต้องได้สีอ่อนมากๆ แต่ในVDO จะไม่เห็นจึงทำสีเข้มค่ะ

    • @gK-bv7mp
      @gK-bv7mp 2 ปีที่แล้ว

      @@SmartChem ที่ร.ร.มีเพียวโบรโมไทมอลบลู เมทิลออเรนจ์ เมทิลเรดและฟีนอล์ฟทาลีนเองค่ะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  2 ปีที่แล้ว

      @@gK-bv7mp เมทิลเรด ให้เป็นสีเหลืองนะคะ

  • @thumnoonnhujak5626
    @thumnoonnhujak5626 ปีที่แล้ว

    (1) การอ่านสเกลปริมาตรของปิเปตที่ใช้นี้ 1 ขีดย่ิอย 0.1 mL เป็นค่าที่แน่นอน หรืออ่านค่าที่แน่นอนทศนิยมตำแหน่งที่หนึ่ง จึงต้องประมาณทศนิยมในตำแหน่งที่ 2 ด้วย เช่น สเกลปริมาตรเริ่มต้น 3.00 mL และสเกลปริมาตรที่จุดยุติ 11.30 mL ปริมาตรที่ใช้ไป คือ 8.30 mL
    (2) ปิเปตที่ใช้ขนาด 10 mL โดยทั่วไปมีค่าไม่แน่นนอน +/- 0.03 หรือ +/- 0.02 ตามเลขนัยสำคัญ จึงต้องบันทึกปริมาตรเป็น 10.00 mL
    (3) ความเข้มข้นของ NaOH 1 M มีเลขนัยสำคัญเพียงตัวเท่านั้นเองหรือ
    (4) 1 x 8.3 = C * 10 ถ้าตัวเลขคำนวณแบบนี้ คำตอบต้องมีเลขนัยสำคัญแค่ 1 ตัว ตามเลข 1

  • @KwaorMumie
    @KwaorMumie 7 ปีที่แล้ว +1

    ก่อนไทเทรตจำเป็นต้องกลั้วด้วยNaOH ก่อนมั้ยคะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  7 ปีที่แล้ว +1

      KwaorMumie ถ้า บิวเรตไม่แห้ง และไม่มั่นใจควรกลั้ว ค่ะ

  • @nitinanR
    @nitinanR 2 ปีที่แล้ว +1

    อะไรจะเป็นตัวบอกว่าตอนนี้ถึงจุดยุติแล้วคะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  2 ปีที่แล้ว +1

      สีของอินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนไปค่ะ ดังนั้นการเลือกอินดิเคเตอร์จึงมีความสำคัญและต้องเลือกตัวที่เปลี่ยนสีเมื่อปฏิกิริยาถึงจุดยุติค่ะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  2 ปีที่แล้ว +2

      ถ้าเป็นปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่ กับเบสแก่จะได้เกลือกับน้ำ ซึ่งจุดสมมูล pH เท่ากับ7 ต้องเลือกอินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีช่วง pH 7 จะทำให้ได้จุดยุติ ณ จุดสมมูล

  • @noxth
    @noxth 4 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ครับ ถ้าเราเอา hci หยดลงบนหินปูนจะเกิดอะไรขึ้นครับ ขอบคุณครับ

    • @SmartChem
      @SmartChem  4 ปีที่แล้ว +1

      noxth CaCO3 +HCl = CaCl2 +H2O +CO2 ค่ะ

    • @noxth
      @noxth 4 ปีที่แล้ว

      @@SmartChem รบกวนถามอีกนิดนะครับ ว่า กรด ในน้ำมะนาว มีค่า เท่ากับ HCI มั้ยครับ หรือ ขาดอะไรไปครับ ผมหมายถึง ถ้าบีบน้ำมะนาวลงบนหินปูน จะได้ ผมลัพธ์ เท่ากับ CaCl2 +H2O +CO2 มั้ยครับ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆแบบนี้ครับ อาจารย์

    • @SmartChem
      @SmartChem  4 ปีที่แล้ว +1

      noxth กรดในน้ำมะนาวเป็นกรดอ่อนค่ะ คนละตัวเลย เป็น C6H10 O8 จะได้ Ca3(C6H5O7)2 +CO2 +H2O แต่เป็นกรดอ่อนปฏิกิริยาก็ไม่รุนแรง ค่ะ

    • @noxth
      @noxth 4 ปีที่แล้ว

      @@SmartChem เราจะสามารถใช้กรดมะนาว (น้ำมะนาว) หยดบนหินปูน แล้วเราจะสามารถเห็น ฟองคาบอนได้มั้ยคร้บ หรือ ต้องใช้ HCI อย่างเดียวถึงจะเกิด ฟอง คาบอน ครับ ขอบคุณครับ

    • @SmartChem
      @SmartChem  4 ปีที่แล้ว +1

      noxth ถ้าผงหินปูน อาจพอเห็นค่ะ

  • @user-mr4sv8vt8q
    @user-mr4sv8vt8q 5 ปีที่แล้ว

    ถ้าเราได้ความเข้มข้นมาแล้วแต่เราต้องอยากทราบว่าสารมีกี่เปอร์เซ็นต้องใช้สูจตรไหนค่ะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  5 ปีที่แล้ว

      จุฬารัตน์ ศรีสุนา c = 10d%/MW ค่ะ

    • @user-mr4sv8vt8q
      @user-mr4sv8vt8q 5 ปีที่แล้ว

      @@SmartChem ถ้าสมมุตว่าโซดาไฟเราซื้อมามันบอกว่า50%w/wเราต้องการทราบความเข้มข้นว่าโซดาไฟที่เราซื้อมา50%จริงไหมเราเอาโซดาไฟมาเราต้องเจือจางก่อนไทเทรตไหมค่ะหรือว่าทำการไทเทตรกคบกรดไฮโดรคลอริกเลยค่ะ(กรดไฮโดรคลอลิก 1M)ค่ะ

    • @SmartChem
      @SmartChem  5 ปีที่แล้ว

      ควรเจือจางค่ะ เพราะ 50% ถ้า NaOH ในรูปสารละลาย เข้มข้นสูง 12

    • @user-mr4sv8vt8q
      @user-mr4sv8vt8q 5 ปีที่แล้ว

      @@SmartChem ขอบคุณค่ะเรานำมาเจือจางได้ค่าทุกอย่างแล้วเราค่อยมาคูณกับจำนวนที่เราเจือจางว่าเจือจางไปกี่เท่าใช่ไหมค่ะ

    • @user-mr4sv8vt8q
      @user-mr4sv8vt8q 5 ปีที่แล้ว

      @@SmartChem แล้วค่าความหนาแน่นของ50%NaOH=1.529ใช่ไหมค่ะ

  • @pairutchobson4254
    @pairutchobson4254 6 ปีที่แล้ว

    เราสามารถกลั้วด้วยน้ำกลั่นได้มั้ยครับ

    • @SmartChem
      @SmartChem  6 ปีที่แล้ว

      เราควรกลั่วด้วยสารที่จะใส่ค่ะ

  • @SmartChem
    @SmartChem  7 ปีที่แล้ว +2

    buretts Clamp