FixIT EP.35

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 7 ก.พ. 2025
  • อธิบายหลักการทำงานของตัวต้านทานปรับค่าได้ หรือที่เรียกว่าตัวปรับระดับ สามารถนำไปสร้างสรรค์ผลงานได้หลากหลาย เช่น ตัวเร่งเสียง ตัวปรับแสง ตัวควบคุมความเร็วมอเตอร์ ตัวเร่งระดับเพื่อความคุมสัญญาณอนาล๊อค เพื่อนำค่าอินพุตที่ได้ไปเขียนโปรแกรมควมคุมสิ่งต่าง ๆ ได้อีกมากมายครับ
    ซื้อเครื่องมือช่างพื้นฐาน อุปกรณ์ทดลอง ที่จำเป็น mycollection.s...
    คลิ๊ปที่เกี่ยวข้อง
    PNP ทรานซิสเตอร์ เรียนรู้+ปฏิบัติ #Transistor EP.7 • PNP ทรานซิสเตอร์ เรียน...
    ทรานซิสเตอร์ EP.6.1 Self Bias by Optocoupler and Zener Protection • 📲💡 Self Bias by Optoco...
    ทรานซิสเตอร์ EP.6 Self Bias and Zener Diode Protection Part 1 • 📲💡 Self Bias and Zener...
    ทรานซิสเตอร์ EP.5 Boost Mode ตัวแปรสร้างเสถียรภาพ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.4 Boost Mode สภาวะเร่งพลังงาน • ทรานซิสเตอร์ ( transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.3 การไบอัสแบบคงที่ เพื่อเป็น Power Supply • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.2 การจัดวงจรลักษณะต่าง ๆ Push-Pull เรียนรู้ เข้าใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.1 ทฤษฎี+workshop เบื้องต้น • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเตอร์ ให้ บอร์ดทดลอง (DIY Volt-Amp meter to BreadBoard) • เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเต...
    ซีเนอร์ไดโอด • ซีเนอร์ไดโอด (Zener Di...
    ตัวต้านทาน pull up-down • ตัวต้านทาน Pull up Pu...
    regulator • Regulator เรกูเลเตอร์ ...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.1 หลักการทำงาน การวัด การต่อใช้งาน • FixIT EP.35 #ตัวต้านทา...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.2 การต่อใช้งาน ข้อดี ข้อเสีย การจัดวงจร แนวทางการแก้ไข • FixIT EP.35.1 #ตัวต้าน...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.3 ขับกระแสสูงให้โหลด • FixIT EP.35.2 #ตัวต้าน...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.4 การวัดตัวต้านทานปรับค่าได้ ที่ซื้อมาจาก Online • FixIT EP.35.3 #การวัดต...
    DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแรงดันได้" จากแบตเตอรี่ เพื่อใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์ • DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแ...
    รับชมความรู้อื่น ๆ เลือกดูได้ตามความสนใจได้เลยครับ www.youtube.co...

ความคิดเห็น • 28

  • @Nadontokpla
    @Nadontokpla ปีที่แล้ว +1

    ช่างครับไม่ว่าโวลุ้มจะใชสั่งงานอะไรก็จะต่อเหมือนกันใช้ใหมครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว

      ใช่ครับ ถ้าต่อในลักษณะปรับแรงดัน จะใช้ทั้ง 3 ขา (Voltage divider หรือแบ่งแรงดัน) ถ้าใช้งานแค่ 2 ขา จะใช้ในลักษณะปรับกระแสไฟฟ้า (แรงดันเท่าเดิม) แต่ทั้ง 2 แบบ ไม่ว่าจะใช้งานแบบไหน จะถูกนำไปใช้ในการปรับเพื่ออ้างอิง หรือขยายสัญญาณ ต่อ ๆ ไปครับ

    • @Nadontokpla
      @Nadontokpla ปีที่แล้ว +1

      @@CoreComCenter ครอบคุณครับ

  • @snan0682homnan
    @snan0682homnan หลายเดือนก่อน +2

    ถ้าจะปรับ V และ ปรับ แอม ต้องต่อแบบไหนครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  หลายเดือนก่อน +1

      ตัวนี้เน้นปรับโวลต์ครับ เพื่อสำหรับทดสอบงานขนาดเล็ก เวลาเราต่อโหลดที่กินกระแสไฟฟ้า กระแสจะตก เราก็ปรับโวลต์ไบอัสขึ้นเรื่อย ๆ ครับ เป็นวงจรง่าย ๆ ที่ได้ผลครับ ฝากติดตามครับ ขอบคุณมาก ๆ ครับ

    • @snan0682homnan
      @snan0682homnan หลายเดือนก่อน +1

      @@CoreComCenter ตัวนี้ กี K ครับ จะชื่อปรับโวน ปรับแอมครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  หลายเดือนก่อน

      @@snan0682homnan ลองศึกษาให้ครอบคลุมก่อนครับ กี่ K ได้กี่แอมป์ บอกไม่ได้ ไม่มีสูตรตายตัวครับ ให้ค่อย ๆ ซื้อมาทดลอง เดี๋ยวจะร้องอ๋อครับ

  • @sawahboungkhue5338
    @sawahboungkhue5338 11 หลายเดือนก่อน +2

    ค่า k สูงต่ำมีผลกับกระแสไฟไหมครับสมมุติว่าผมใช้แบตเตอรี่ 12 โวลท์ปรับซ้ายขวาแล้วกำลังไฟจะเกิน 12 โวลท์ไหมครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  11 หลายเดือนก่อน +1

      ถ้าแหล่งจ่ายเป็น 12V ก็จะปรับแรงดันออกได้ 0 ถึง 12V ครับ แต่ไม่นิยมใช้โดยตรง สำหรับวิธีการใช้งาน ผมได้ทำคลิ๊ปแยกออกมาอีกหลายคลิ๊ปเลยครับ th-cam.com/video/0cPT8j_zbVM/w-d-xo.html และ th-cam.com/video/xgMj0bovJjY/w-d-xo.html เป็นต้นครับ

  • @kittisakudonphong5219
    @kittisakudonphong5219 4 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณครับอาจารย์

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  4 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมาก ๆ ครับผม

  • @วีระศักดิ์ต้นงาม-ญ1บ

    ขอบคุณมาก ครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากๆ ครับ

  • @neungremington6521
    @neungremington6521 9 หลายเดือนก่อน +1

    ตัวต้านทาน5แทบสี 1ตัว ถ้าต่อ ใส่เเบตตารี่ บวกหัว / ลบหาง
    ตัว R จะพัง เลยไหมครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  9 หลายเดือนก่อน

      เดี๋ยววันนี้ทำคลิปอธิขายให้จ้า

  • @pigpig99
    @pigpig99 ปีที่แล้ว +1

    ผมจะใช้ปรับรอบอินเวอร์เตอร์ ต่อไงครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว

      ใช้การต่อเพื่อป้อนแรงดันอ้างอิงครับ ต้องหาจุดที่จะใส่ในระบบที่เราจะนำไปใช้ครับ ไม่ทราบว่าเป็นอินเวอร์เตอร์ เป็นแบบไหนครับ

    • @pigpig99
      @pigpig99 ปีที่แล้ว +1

      @@CoreComCenter อินเวอร์เตอร์ควบคุมมอเตอร์ครับ สวิทย์เก่ามันค้างก็เลยจะเปลี่ยนสวิทย์ใหม่ ปรับค่าเฮิทของอินเวอร์เตอร์ให้เร็วให้ช้า ประมาณนี้ครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว +1

      @@pigpig99 ตัวเดิมเป็นแบบสวิชท์ หรือที่หมุนได้ครับ รบกวนแอดไลน์ sanya.doctorcom เพื่อส่งรูปภาพมาดูได้ครับผม

  • @studio-tl2mc
    @studio-tl2mc 2 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าใช้ต่อเพื้อปรับแรงดัน กระแสจะขึ้นลงตามไหมครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  2 ปีที่แล้ว

      กระแสไฟ สัมพันธ์ กับแรงดันเสมอครับ ถ้าปรับแรงดันสูงขึ้น กระแสก็จะสูงขึ้นตามครับ ปรับแรงดันลง กระแสก็จะลงตาม (กระแสที่ขึ้นลงผ่านตัวต้านทานปรับค่าได้ จะเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้นครับ) เดี๋ยวจะทยอยทำออกมาในอีกหลายเวอร์ชั่นครับ ฝากติดตามนะครับผม ขอบคุณมาก ๆ ครับ

  • @aegcbtk
    @aegcbtk 11 หลายเดือนก่อน +1

    สอบถามครับ ถ้าเอาวอลลุ่ม ไปต่อเข้ากับเกจลูกลอยน้ำมัน เพื่อจูนค่าให้ตรงกับเกจวัด ต้องใช้กี่K ครับ การต่อ สามารถต่อตรงเลยได้ไหมครับ หรือต้องเพิ่มอะไรอีกครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  11 หลายเดือนก่อน

      ผมยังไม่เคยต่อครับ ให้ลองดูหน้างานครับ โดยใช้ทฤษฎีว่า มันปรับค่าความต้านทาน ขึ้น และ ลง ใช้ 1K 5K 10K แล้วทดลองว่าตัวไหนใช้งานได้ตรงตามความต้องการของเรา ตอบโจทย์งานเราก็ใช้ได้ครับผม ขอบคุณมาก ๆ ครับ

    • @aegcbtk
      @aegcbtk 11 หลายเดือนก่อน +1

      @@CoreComCenter ขอบคุณครับ🙏🏻🙏🏻

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  11 หลายเดือนก่อน +1

      ทดลองหน้างาน เป็นสิ่งสำคัญมากครับ ให้นำหลักการไปใช้ ตัวต้านทานคือต้านทานกระแสไฟฟ้า ประมาณนี้ครับ@@aegcbtk

    • @aegcbtk
      @aegcbtk 11 หลายเดือนก่อน +1

      @@CoreComCenter 🙏🏻🙏🏻

  • @payongrotkaew7560
    @payongrotkaew7560 2 ปีที่แล้ว

    ทนกระแสได้กี่วัตต์..คิดยังไงครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  2 ปีที่แล้ว +2

      ขึ้นอยู่กับกระแสสูงสุดของ VR ครับ ที่จะไปไบอัสทรานซิสเตอร์ ขึ้นอยู่กับกำลังขยายของทรานซิสเตอร์ เบื้องต้นควรใช้ VR สเปคดี ๆ ควรใช้ค่าต่ำ ๆ เช่น 500 โอมห์ (สำหรับแหล่งจ่ายโวลต์สูง) เพราะจะได้กำลังไบอัสดี) แต่ถ้าเป็นพวกทรานซิสเตอร์แบบพาเวอร์แอมป์กำลังขยายเป็น 100 เท่า ก็ควรคำนวณกระแสสูงสุดของ VR ที่จะออกมาด้วยครับ การใช้ VR ยังมีจุดด้อยหลายจุด แต่ถ้าเป็นการปรับสปีดมอเตอร์ VR ใช้งานได้ดีเลย การทนกระแสได้กี่แอมป์ ขึ้นอยู่กับสเปคของทรานซิสเตอร์ และการจัดการความร้อนครับ กระแส Output ต้องไม่เกินสเปคที่ Datasheet ระบุครับ รอติดตามคลิ๊ปต่อไปนะครับ ตอนนี้อยู่ในช่วงลองผิดลองถูกครับ แหล่งอุปกรณ์ก็หาซื้อยากพอสมควรครับ