ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
จากประสบการณ์นะครับ - ที่น้ำมันออกเบา เพราะใช้สายยยางเล็กตั้งแต่ต้นทางครับ ให้เปลี่ยนไปใช้ท่อดำแทน (ถ้าระยะไม่ไกล ใช้ขนาดประมาณครึ่งนิ้วก็พอ) แล้วค่อยนำสายเล็กไปเจาะเข้าเป็นระยะ ๆ ไป- เคยใช้แบบตัวธรรมดา ติดตั้งแล้วปล่อยไว้จนลืม จนกระทั่งถ่านมันหมด (มันใช้ได้นานมากกก เลยชะล่าใจไม่ได้มาเช็คบ่อย) แล้วมันไม่มีอะไรแจ้งเตือน จนดินแห้งแบบเกือบแข็งเลย จึงเป็นเหตุผลให้เปลี่ยนมาใช้แบบ Smart ครับ- แล้วพอใช้แบบ Smart ก็จะมีอุปกรณ์งอกมาอีกครับ เนื่องจากตั้งเงื่อนไขช่วงมรสุม แล้วพยากรณ์อากาศไม่ตรง เกิดการรดน้ำซ้ำหลังฝนตกบ่อยมากกก (ตัวที่ใช้ไม่มี sensor น้ำฝน) เลยงอก sensor อุณหภูมิ + ความชื้น แบบปักไว้ในดินเลย (ต่อผ่าน gateway เหมือนกัน) โดยเอามาตั้งเป็นเงื่อนไขว่า "ถ้าความชื้นถึงที่กำหนดให้หยุดทำงาน" และ "ในช่วงกลางวัน ถ้าความชื้นต่ำกว่ากำหนด ให้ทำงานจนกว่าจะถึงที่กำหนด" ครับ ผลพลอยได้คือช่วยประหยัดน้ำ + ไฟ (ปั๊ม) ไปได้อีกหน่อยหลังจากนั้นก็ใช้จนลืมมาถึงทุกวันนี้เลยครับ
แบบตัวธรรมดา ถ่านมันอยู่ได้ประมาณกี่เดือนครับ
ประมาณปีนึงเลยครับ
แบบนี้เอามาประยุกต์ใช้กับรดหลังคาได้ไหมครับ (ลดความร้อนในบ้าน)
@@ssptfamily5184 ได้นะเคยเห็นคนทำอยู่
ผมใช้ตัวตั้งีดน้ำแบบทั่วไปแต่มีหน้าจอ LCD ราคาน่าจะสามร้อยกว่าบาท ใส่ถ่านอัลคาไลน์(ถ้าจำไม่ผิดคือ 4 ก้อน) ตั้งเวลาวันเดือนปีก่อน แล้วก็จะ set โปรแกรมได้ว่าจะให้รดวันไหนของสัปดาห์ กี่โมงถึงกี่โมง (ไม่แน่ใจว่าได้กี่โปรแกรม) แต่ผมตั้งจริงก็ใช้แค่สองโปรแกรม อันหนึ่งรดน้ำช่วงเช้า 3 นาที อีกอันรดตอนเย็นอีก 3 นาที ตั้งไว้จันทร์ถึงอาทิตย์เลย เครื่องใช้งานได้ดี ใช้มาน่าจะราวๆ 10 เดือนแล้ว ยังไม่ได้ต้องเปลี่ยนถ่านหรือไปเซ็ตอะไรใหม่เลยจริงๆเครื่องมีให้เลือกแบบงดการรดน้ำวันฝนตกด้วย แต่ผมไม่เคยลองใช้ว่ามันทำงานอย่างไร เพราะผมใช้รดต้นไม้ที่ระเบียงคอนโด ไม่ใช่กลางแจ้งตัวหัวรดน้ำ ผมใช้แบบพ่นออกมาเป็นละอองฟู่ ไม่ใช่เป็นสายหลายทิศทางแบบในคลิป เลยไม่เจอปัญหาความแรงน้ำปลายสาย แต่ผมก็ใช้แค่ระยะความยาวแค่ระเบียงคอนโดแค่ 6-7 เมตรด้วยแหละ มันเลยอาจจะยิ่งไม่มีผลปัญหาเดียวที่เจอคือ สายหลุดตามข้อต่อ three way ก็ไปเสียบกลับ นานๆเจอที แต่คิดว่าถ้าเป็นบ่อยก็จะเปลี่ยนสายตรงบริเวณนั้นใหม่ได้ง่ายๆ
@@leo-mi3gy ถ่านชาจถ์จีนห่วยๆ 500ma 2 ก้อนอยู่ได้ 3 เดือนครับ ถ้าถ่านชาจถ์ดีๆ 800MA ก็ 6 เดือน แนะนำให้ใช้ถ่านชาจถ์นะครับเพราะมันไม่ละลายแบบถ่านอัลคาไลน์
Bluetooth Gateway เราไปต่ออย่างอื่นได้ครับเช่นหุ่นยนต์นิ้วกด กับWall Swtich ที่เป็นบลูทูธของTuya ส่วนตัวรดน้ำต้นไม้ของTuya ตัวนี้อย่างน้อยมันก็เตือนเวลาถ่านใกล้หมดได้ครับฮ่าๆส่วนท่อPE ลองเดินไทวัสดุแล้วซื้อท่อขนาดครึ่งนิ้วมาครับ แล้วเวลาต่อหัวสปริงเกอร์ ก็เพียงแค่เจาะด้วยที่เจาะท่อPE ใช้แรงหน่อยแล้วเอาสปริงเกอร์ที่มีอยู่เสียบตรงรูครับ รับรองแรงครับ อย่าลืมซื้อตัวปิดปลายPE มีทั้งแบบสวมท่อ กับแบบรัดท่อครับ
เราสามารถประยุกต์ใช้ลดน้ำผักได้โดยเพิ่มขนาดท่อให้หลักให้ใหญ่ขึ้นประมาณ 1 นิ้ว (ซึ่งจะทำให้บริมาณน้ำมีมากขึ้น) แล้วต่อท่อ ขนาด 1/2 แยกไปตามแปลงผักแล้วเอาไปต่อกับสปริงเกอร์ ได้อีกหลายหัว สำหรับความแรงของน้ำหากเอาไปต่อหลังปั้มน้ำก็จะทำให้ได้พิ้นที่ในการลดได้มากขึ้นจะจำนวนหัวสปริงเกอร์ก็จะมากขึ้น ซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกกรณีที่เราไม่อยู่บ้าน สำหรับท่อผมใช้ท่อ PE ครับ
ให้นึกภาพว่ามันก็เหมือนก็อกน้ำที่เราเปิดปิดใช้งาน ถ้าปั้มน้ำบ้านเราแรงแค่ไหน มันก็ปล่อยออกมาแรงเท่านั้น (ถ้าเราไม่ได้หรี่หัวก้อกไว้ก่อนเพื่อให้เราจ่ายน้ำเบาลงนะ) ถ้าท่อที่ออกจากไทม์เมอร์เล็ก แรงดันในนั้นก็จะน้อย เมื่อมันน้อย ถ้ามีจุดรดน้ำแค่1~2จุด อาจจะไม่มีปัญหา แต่ถ้ามีมากกว่านั้นมันจะเริ่มจ่ายน้ำได้ไม่พอ โดยแรงแค่หัวแรกและเบาในหัวถัดๆไป วิธีแก้คือให้คุณเดินท่อเมนหรือ ท่อ pe ขนาด 16~20มิลไปเลยให้เดินท่อไปตามแปลงต้นไม้เลยครับมันใกลแค่ไหนก็เดินไป แล้วเมื่อต้องการให้จุดไหนมีสปริงเกอร์รดน้ำให้เจาะท่อเมนแล้วติดตั้งหัวเสียบเพื่อแยกเดินท่อ pe 3~5 มิลงอกออกมา โดยติดตั้งวาวล์ที่ท่อ pe เล็กไว้ด้วยนะ วิธีนี้เราจะสามารถกำหนดขนาดวงของน้ำ การกระจายตัว ปริมาณน้ำ ได้ละเอียดขึ้น โดยเฉลี่ยเท่าที่ผมใช้งานถ้าท่อเมนขนาด 20มิล เดินยาวสูงสุด 30 เมตร ถ้าปั้มน้ำทั่วไปตามหมู่บ้านพวกบ้าน2ชั้น สามารถติดได้สูงสุด 30~40ตัว แล้วแต่การปรับการใช้งานของเราอีกทีนะ
ส่วนการติดตั้งท่อpe เราจะใช้ข้อต่อสวมไว ตอนเลือกก็เลือกขนาดให้พอดีกับขนาดท่อด้วยนะครับโดยส่วนตัวแนะนำให้เดินตามไทวัสดุเพราะถูกและมีรูปแบบให้เลือกมากมาย โดยเฉพาะถ้าเราไม่เคยจับงานพวกนี้เลย แนะนำพี่คิมลองไปดูซักครั้ง มันมีเยอะมาก แล้วที่อยากจะให้ระวังคือพวกสปริงเกอร์ กับท่อไมโคร มันจะมี2~3แบบ ต่างที่ความหนาขนาดท่อ และความแข็งแรง ซึ่งมันก็ใช้กับหัวมินิสปริงเกอร์ได้แตกต่างกัน ถ้าจะซื้อก็ซื้อที่เป็นประเภทเดียวกันจะได้ติดตั้งได้ไม่ยุ่งยาก และสปริงเกอร์รุ่นต่างๆ ถ้าสังเกตุดีๆมันจะมีระบุว่า1ชม.จะให้น้ำได้กี่ลิตร ให้ดูตามเหมาะสมซึ่งแนะนำว่าเป็นรุ่นที่ให้น้ำน้อยก็ได้ ถ้าต้องการติดตั้งเยอะๆ มันจะได้ไม่ลดทอนแรงดันเวลาเปิดจ่ายน้ำ
พึ่งมาดูคลิป ทีมงานจะได้อ่านคอมเมนท์ไหมหนอพอดีที่บ้านใช้หัวรดน้ำสีส้มแบบนี้พอดี หัวมันจะบิดซ้าย-ขวา ปรับความแรงน้ำได้ครับพวกที่อยู่ต้นๆสายก็บิดให้มันเปิดน้อยหน่อย แล้วก็ค่อยๆบิดแต่ละตัวให้ความแรงน้ำออกมาพอดี ไล่ไปจนปลายสายถ้าปลายสายน้ำยังเบาก็ปรับตัวก่อนๆให้เบาลง น้ำก็จะไปถึงปลายสายแรงขึ้นครับ
จะซื้อ แฟนบอก ชอบรดน้ำเอง ฮ่าาาาาา จบเลย คิดว่ามันมีประโยชน์ตรงที่ ถ้าไม่มีใครอยู่บ้าน บ่อยๆ คือดี
9:33 ใส่เงื่อนไขหน่วงเวลาไปอีกนิด อาจจะช่วยแก้ได้ครับ
ผมก็กำลังคิดจะทำระบบรดน้ำอัตโนมัติอยู่เหมือนกันครับ แต่ก๊อกที่ใช้รดน้ำปกติก็เป็นก๊อกประปาไม่ได้ผ่านปั๊มอะไรเลย เท่าที่พอศึกษามาก็มีอยู่ 2 วิธีครับ1. ใช้ท่อหลักเป็นท่อ PE ขนาด 20 mm. ขึ้นไปแล้วค่อยใช้ท่อไมโครต่อแยกออกมาอีกที2. ใช้หัว timer แบบ 2 outlet แล้วแบ่งเป็น 2 zone จ่ายน้ำในเวลาที่ไม่ทับซ้อนกัน จะได้ไม่แย่งน้ำกันครับ ใครมีวิธีดีๆช่วยแนะนำด้วยนะครับ 🙏🏻
กำลังจะทำเหมือนกันค่ะ ตอนนี้ได้บทสรุปยังคะ ใช้น้ำก๊อกเหมือนกัน อยากใช้ตัวคุมเวลาแบบใช้โซล่าห์หรือถ่านที่ยาวนานหนึ่งปี
แนะนำใช้แบบ smart ดีกว่าเยอะเลยครับ เหมือนว่าราคาสูงปกว่านิดเดียว ตั้งเวลาง่ายกว่าเยอะ กำหนดอะไรซับซ้อนก็ว่าได้ ใช้แบบตั้งมือ บางจุที่เราเข้าถึงลำบาก ก้มคอ เมื่อยมากกว่าจะตั้งเสร็จ ใช้มาเกือบปีจึงได้เปลี่ยนถ่าน
smart scene ไว้ใช้กับ Tuya soil humidity sensorครับ
ผมใช้ system ของ ewelink อยู่ เลยใช้เป็น Solenoid Valve 12v เสียบ adaptor ที่ต่อผ่าน Smart Plug อีกที รู้สึกแน่นอนกว่าครับ เพราะเดิมเคยใช้แบบใช้ถ่าน แล้วก็ไม่ smart บางช่วงยุ่งๆ ไม่ค่อยได้ดูว่ามันรดแล้วหรือยัง รู้ตัวอีกทีคือต้นไม้เหี่ยว เพราะถ่านหมด สงสัยอีกหน่อยครับ เห็นในคลิปเหมือนใช้ถ่าน 2 ยี่ห้อ ตัวที่บอกหมดเร็วกว่า ใช่พานา ไหมครับ เพราะที่เคยใช้อยู่ 2 ยี่ห้อ พานาไม่ทนแดดครับ ถ้าอุปกรณ์อยู่ในร่มไม่เป็นไร แต่ถ้าโดดแดดทุกวัน ไม่เกิน 3 เดือนครับ ถ้าเป็นเอเนอไจเซอร์ อยู่ได้ 6-8 เดือน
ผม work around มันนิดนึง ผมมีปั้มแบบเสียบปลั๊กอยู่แล้ว ผมซื้อ smart plug มาต่อตั้งเวลาได้ และสามารถปรุงน้ำสำหรับรดต้นไม้ได้ด้วย ข้อเสียเดียวคือ ถ้าถังน้ำไม่มีฝาปิด ยุงจะเยอะมาก
อยากให้ลองใช้ของยี้ห้อ Hunter ดูครับ
-ต้องสายใหญ่ldpeแล้วค่อยเป็นสายเล็ก แต่ถ้าพทตามคลิปแค่นั้นก็ได้-รด1-2นาทีพอ เปลืองนํ้า-รดแบบปีกผีเสื้อประหยัดสุด แต่ถ้าตามคลิปเปลี่ยนเปนหัวหยดดีกว่า เปลืองนํ้า
ระบบ Bluetooth นี้สามารถสั่งงานในมือถือที่ ตปท ได้ไหมหลังจากติดตั้งจากไทยแล้ว🙏😊
...ผมใช้โซลินอยทองเหลือง12v และทำกล่องประกอบแบต LiFePo432650 สามก้อน(1.5หมื่นmAh) +โมดูลชาร์จ +แผง + stepup12v +สมาร์ทโมดุล tuya wifi หมดไปประมาณ 700.-..ส่วน.แบบใช้ไฟบ้านมี สมาร์ทปลั๊ก220v tuya + adavtor12v. + โซลินอยด์วาล์วทองเหลือง12v. อันนี้งบ 270.- ครับ
สร้าง automation มันจะไปสั่งเครื่องโดยตรง โดยไม่ผ่าน gateway อ่ะครับ มันเลยไม่ทำงาน ผมเคยลองกะ fingerbot ที่เป็น bt gateway ก็ไม่ได้เหมือนกัน
เสียดาย ถ้าเป็น zigbee จะดีงามกว่านี้ และอีกเรื่องคือ ถ้าทำระบบเป็นแบบใช้แบตและใช้ไฟฟ้าด้วยจะดีกว่านี้ เพราะแบตชอบหมดตอนที่ไม่รู้ตัว เพราะการใช้ระบบauto ทำให้เราไม่ค่อยจะไปสนใจ กว่าจะรู้อีกทีต้นไม้อาจจะไม่รอดแล้ว
มันต้องใช้ท่อดำขนาดประมานครึ่งนิ้วเดินเป็นเส้นหลักก่อนค่อนเจาะสายไมโครออกมาจากเส้นหลักครับน้ำถึงจะแรงเท่ากัน
ถ้าท่อหลักใหญ่ มันจะสวมจากหัวจ่ายน้ำมาหลวมรึเปล่าครับ มีวิธีแก้แนะนำมั้ยครับ?
@@longhai.reviewหัวข้อต่อเร็ว เปลี่ยนเป็นไซร์ใหญ่ได้ครับ ให้พอดีกับท่อpeเส้นหลัก
@@longhai.reviewเดินถือเครื่องไปHomeproเลยครับ เค้ามีขายหัวแปลงเป็นท่อใหญ่ก่อน
@@longhai.reviewมันมีข้อต่อสำหรับก๊อกสนามครับ(ข้อต่อเกลียวใน) แล้วต้องเลือกขนาดให้พอดีกับท่อเมนของเราด้วย
แนะนำถ้าใช้ถ่านชาร์จต้องเป็น1.5v เครื่องถึงจะทำงานได้ดีก่วา1.2v
ตัวนี้สามารถใช้ร่วมกับตัวตรวจความชื้นในดินได้ด้วยครับและสามารถตั้งให้ทำงานคู่กันได้ด้วยเช่นถ้าดินแห้งให้รดน้ำ หรือถ้าดินเปียกอยู่ในช่วงหน้าฝน ให้หยุดรดน้ำเพื่อลดโอกาสโรครากเน่าและลดค่าน้ำด้วยครับ
ควบคุม ระยะใกล ได้ใหมครับ เช่น ผม มา ต่างจังหวัด สามารถเข้ามาควบคุมได้ใหม
ใช้หัวน้ำหยดแบบปรับได้ ช่วยเรื่องแรงดันได้ครับ
เหมาะกับคนอยู่ภาคใต้ครับ ฝนตกบ่อยๆ ไม่เหมาะรถรดตามเวลา
ตอนนี้ยังใช้ดีอยู่มั้ยครับ น่าซื้ออยู่มั้ย สนใจหามาใช้บ้าง 🥹🥹
สนใจครับชี้เป้าหน่อยครับ
ลองอันนี้หน่อยครับ เห็นในแอปส้มสินค้าชื่อว่าแค่เสียบก็ใช้ได้ ประหยัดไฟ 95% เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดเยอรมนี กล่องประหยัดไฟ เครื่องประหยัดไฟฟ้า ตัว ค่าไฟฟ้าลดลง
ปีเดียวก็พัง ยางเสื่อม พลาสติกกรอบจากแสงแดด แบบปั้มทั่วไปใหมครับ
ปีหน้ารีวิวให้ดูอีกรอบนะครับ
สนใจครับรุ่นอะไร
ตั้งเป็นวันได้หรือเปล่าครับ
หมายถึง รดวันไหนบ้างอะไรงี้เหรอครับ
ต่อให้เป็นวงกลม เอาปลายท่ิอวนกลับมาที่ต้นสาย
อันนี้น่าลองแฮะ
ย้อนดูน้องมณี3รอบ 😹
ผมมันเหมาะสำหรับต้นไม้ ที่ไม่ได้ ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ และ พื้นที่เยอะ เพราะ สวนเล็กๆ ของผม ตอนแรกผมขี้เกียจ ก็ใช้ไป ออโต้ ... คิดว่ามันคงง่ายๆ สบายๆ แต่ การปลูกต้นไม้ บางที มันต้องการการดูแล มากที่คิด มันไม่ใช่แค่รดน้ำ มันมีอะไรอีกหลายอย่างที่เราต้อง เสียเวลา มาดูแล สุดท้าย ทุกวันนี้ ก็แมนนวลเอา ฉีดสายยางไป ดูต้นไม้ไป เออ มันก็ ไม่ได้ลำบากอะไร นี่นา ... 555 ไว้มีสวนใหญ่ๆ ไม้สายพันธ์เดียวๆ กัน ค่อย กลับไป ออโต้ อีกครั้ง
เดี่ยวซื้อไปรดหลังคาบ้านดูครับ :)
ของที่ได้ใช้ไม่มีวันแพง
เปลี่ยนเป็นหัวน้ำหยดแบบชดเชยแรงดันจะช่วยได้เยอะเลยครับ
ปลายสายต่อหากันเป็นลูปจะได้แรงดันเท่ากันครับ
จากประสบการณ์นะครับ
- ที่น้ำมันออกเบา เพราะใช้สายยยางเล็กตั้งแต่ต้นทางครับ ให้เปลี่ยนไปใช้ท่อดำแทน (ถ้าระยะไม่ไกล ใช้ขนาดประมาณครึ่งนิ้วก็พอ) แล้วค่อยนำสายเล็กไปเจาะเข้าเป็นระยะ ๆ ไป
- เคยใช้แบบตัวธรรมดา ติดตั้งแล้วปล่อยไว้จนลืม จนกระทั่งถ่านมันหมด (มันใช้ได้นานมากกก เลยชะล่าใจไม่ได้มาเช็คบ่อย) แล้วมันไม่มีอะไรแจ้งเตือน จนดินแห้งแบบเกือบแข็งเลย จึงเป็นเหตุผลให้เปลี่ยนมาใช้แบบ Smart ครับ
- แล้วพอใช้แบบ Smart ก็จะมีอุปกรณ์งอกมาอีกครับ เนื่องจากตั้งเงื่อนไขช่วงมรสุม แล้วพยากรณ์อากาศไม่ตรง เกิดการรดน้ำซ้ำหลังฝนตกบ่อยมากกก (ตัวที่ใช้ไม่มี sensor น้ำฝน) เลยงอก sensor อุณหภูมิ + ความชื้น แบบปักไว้ในดินเลย (ต่อผ่าน gateway เหมือนกัน) โดยเอามาตั้งเป็นเงื่อนไขว่า "ถ้าความชื้นถึงที่กำหนดให้หยุดทำงาน" และ "ในช่วงกลางวัน ถ้าความชื้นต่ำกว่ากำหนด ให้ทำงานจนกว่าจะถึงที่กำหนด" ครับ ผลพลอยได้คือช่วยประหยัดน้ำ + ไฟ (ปั๊ม) ไปได้อีกหน่อย
หลังจากนั้นก็ใช้จนลืมมาถึงทุกวันนี้เลยครับ
แบบตัวธรรมดา ถ่านมันอยู่ได้ประมาณกี่เดือนครับ
ประมาณปีนึงเลยครับ
แบบนี้เอามาประยุกต์ใช้กับรดหลังคาได้ไหมครับ (ลดความร้อนในบ้าน)
@@ssptfamily5184 ได้นะเคยเห็นคนทำอยู่
ผมใช้ตัวตั้งีดน้ำแบบทั่วไปแต่มีหน้าจอ LCD ราคาน่าจะสามร้อยกว่าบาท ใส่ถ่านอัลคาไลน์(ถ้าจำไม่ผิดคือ 4 ก้อน) ตั้งเวลาวันเดือนปีก่อน แล้วก็จะ set โปรแกรมได้ว่าจะให้รดวันไหนของสัปดาห์ กี่โมงถึงกี่โมง (ไม่แน่ใจว่าได้กี่โปรแกรม) แต่ผมตั้งจริงก็ใช้แค่สองโปรแกรม อันหนึ่งรดน้ำช่วงเช้า 3 นาที อีกอันรดตอนเย็นอีก 3 นาที ตั้งไว้จันทร์ถึงอาทิตย์เลย
เครื่องใช้งานได้ดี ใช้มาน่าจะราวๆ 10 เดือนแล้ว ยังไม่ได้ต้องเปลี่ยนถ่านหรือไปเซ็ตอะไรใหม่เลย
จริงๆเครื่องมีให้เลือกแบบงดการรดน้ำวันฝนตกด้วย แต่ผมไม่เคยลองใช้ว่ามันทำงานอย่างไร เพราะผมใช้รดต้นไม้ที่ระเบียงคอนโด ไม่ใช่กลางแจ้ง
ตัวหัวรดน้ำ ผมใช้แบบพ่นออกมาเป็นละอองฟู่ ไม่ใช่เป็นสายหลายทิศทางแบบในคลิป เลยไม่เจอปัญหาความแรงน้ำปลายสาย แต่ผมก็ใช้แค่ระยะความยาวแค่ระเบียงคอนโดแค่ 6-7 เมตรด้วยแหละ มันเลยอาจจะยิ่งไม่มีผล
ปัญหาเดียวที่เจอคือ สายหลุดตามข้อต่อ three way ก็ไปเสียบกลับ นานๆเจอที แต่คิดว่าถ้าเป็นบ่อยก็จะเปลี่ยนสายตรงบริเวณนั้นใหม่ได้ง่ายๆ
แบบตัวธรรมดา ถ่านมันอยู่ได้ประมาณกี่เดือนครับ
@@leo-mi3gy ถ่านชาจถ์จีนห่วยๆ 500ma 2 ก้อนอยู่ได้ 3 เดือนครับ ถ้าถ่านชาจถ์ดีๆ 800MA ก็ 6 เดือน แนะนำให้ใช้ถ่านชาจถ์นะครับเพราะมันไม่ละลายแบบถ่านอัลคาไลน์
Bluetooth Gateway เราไปต่ออย่างอื่นได้ครับเช่นหุ่นยนต์นิ้วกด กับWall Swtich ที่เป็นบลูทูธของTuya ส่วนตัวรดน้ำต้นไม้ของTuya ตัวนี้อย่างน้อยมันก็เตือนเวลาถ่านใกล้หมดได้ครับฮ่าๆ
ส่วนท่อPE ลองเดินไทวัสดุแล้วซื้อท่อขนาดครึ่งนิ้วมาครับ แล้วเวลาต่อหัวสปริงเกอร์ ก็เพียงแค่เจาะด้วยที่เจาะท่อPE ใช้แรงหน่อยแล้วเอาสปริงเกอร์ที่มีอยู่เสียบตรงรูครับ รับรองแรงครับ อย่าลืมซื้อตัวปิดปลายPE มีทั้งแบบสวมท่อ กับแบบรัดท่อครับ
เราสามารถประยุกต์ใช้ลดน้ำผักได้โดยเพิ่มขนาดท่อให้หลักให้ใหญ่ขึ้นประมาณ 1 นิ้ว (ซึ่งจะทำให้บริมาณน้ำมีมากขึ้น) แล้วต่อท่อ ขนาด 1/2 แยกไปตามแปลงผักแล้วเอาไปต่อกับสปริงเกอร์ ได้อีกหลายหัว สำหรับความแรงของน้ำหากเอาไปต่อหลังปั้มน้ำก็จะทำให้ได้พิ้นที่ในการลดได้มากขึ้นจะจำนวนหัวสปริงเกอร์ก็จะมากขึ้น ซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกกรณีที่เราไม่อยู่บ้าน สำหรับท่อผมใช้ท่อ PE ครับ
ให้นึกภาพว่ามันก็เหมือนก็อกน้ำที่เราเปิดปิดใช้งาน ถ้าปั้มน้ำบ้านเราแรงแค่ไหน มันก็ปล่อยออกมาแรงเท่านั้น (ถ้าเราไม่ได้หรี่หัวก้อกไว้ก่อนเพื่อให้เราจ่ายน้ำเบาลงนะ) ถ้าท่อที่ออกจากไทม์เมอร์เล็ก แรงดันในนั้นก็จะน้อย เมื่อมันน้อย ถ้ามีจุดรดน้ำแค่1~2จุด อาจจะไม่มีปัญหา แต่ถ้ามีมากกว่านั้นมันจะเริ่มจ่ายน้ำได้ไม่พอ โดยแรงแค่หัวแรกและเบาในหัวถัดๆไป วิธีแก้คือให้คุณเดินท่อเมนหรือ ท่อ pe ขนาด 16~20มิลไปเลยให้เดินท่อไปตามแปลงต้นไม้เลยครับมันใกลแค่ไหนก็เดินไป แล้วเมื่อต้องการให้จุดไหนมีสปริงเกอร์รดน้ำให้เจาะท่อเมนแล้วติดตั้งหัวเสียบเพื่อแยกเดินท่อ pe 3~5 มิลงอกออกมา โดยติดตั้งวาวล์ที่ท่อ pe เล็กไว้ด้วยนะ วิธีนี้เราจะสามารถกำหนดขนาดวงของน้ำ การกระจายตัว ปริมาณน้ำ ได้ละเอียดขึ้น โดยเฉลี่ยเท่าที่ผมใช้งานถ้าท่อเมนขนาด 20มิล เดินยาวสูงสุด 30 เมตร ถ้าปั้มน้ำทั่วไปตามหมู่บ้านพวกบ้าน2ชั้น สามารถติดได้สูงสุด 30~40ตัว แล้วแต่การปรับการใช้งานของเราอีกทีนะ
ส่วนการติดตั้งท่อpe เราจะใช้ข้อต่อสวมไว ตอนเลือกก็เลือกขนาดให้พอดีกับขนาดท่อด้วยนะครับ
โดยส่วนตัวแนะนำให้เดินตามไทวัสดุเพราะถูกและมีรูปแบบให้เลือกมากมาย โดยเฉพาะถ้าเราไม่เคยจับงานพวกนี้เลย แนะนำพี่คิมลองไปดูซักครั้ง มันมีเยอะมาก
แล้วที่อยากจะให้ระวังคือพวกสปริงเกอร์ กับท่อไมโคร มันจะมี2~3แบบ ต่างที่ความหนาขนาดท่อ และความแข็งแรง ซึ่งมันก็ใช้กับหัวมินิสปริงเกอร์ได้แตกต่างกัน ถ้าจะซื้อก็ซื้อที่เป็นประเภทเดียวกันจะได้ติดตั้งได้ไม่ยุ่งยาก และสปริงเกอร์รุ่นต่างๆ ถ้าสังเกตุดีๆมันจะมีระบุว่า1ชม.จะให้น้ำได้กี่ลิตร ให้ดูตามเหมาะสมซึ่งแนะนำว่าเป็นรุ่นที่ให้น้ำน้อยก็ได้ ถ้าต้องการติดตั้งเยอะๆ มันจะได้ไม่ลดทอนแรงดันเวลาเปิดจ่ายน้ำ
พึ่งมาดูคลิป ทีมงานจะได้อ่านคอมเมนท์ไหมหนอ
พอดีที่บ้านใช้หัวรดน้ำสีส้มแบบนี้พอดี หัวมันจะบิดซ้าย-ขวา ปรับความแรงน้ำได้ครับ
พวกที่อยู่ต้นๆสายก็บิดให้มันเปิดน้อยหน่อย แล้วก็ค่อยๆบิดแต่ละตัวให้ความแรงน้ำออกมาพอดี ไล่ไปจนปลายสาย
ถ้าปลายสายน้ำยังเบาก็ปรับตัวก่อนๆให้เบาลง น้ำก็จะไปถึงปลายสายแรงขึ้นครับ
จะซื้อ แฟนบอก ชอบรดน้ำเอง ฮ่าาาาาา จบเลย คิดว่ามันมีประโยชน์ตรงที่ ถ้าไม่มีใครอยู่บ้าน บ่อยๆ คือดี
9:33 ใส่เงื่อนไขหน่วงเวลาไปอีกนิด อาจจะช่วยแก้ได้ครับ
ผมก็กำลังคิดจะทำระบบรดน้ำอัตโนมัติอยู่เหมือนกันครับ แต่ก๊อกที่ใช้รดน้ำปกติก็เป็นก๊อกประปาไม่ได้ผ่านปั๊มอะไรเลย เท่าที่พอศึกษามาก็มีอยู่ 2 วิธีครับ
1. ใช้ท่อหลักเป็นท่อ PE ขนาด 20 mm. ขึ้นไปแล้วค่อยใช้ท่อไมโครต่อแยกออกมาอีกที
2. ใช้หัว timer แบบ 2 outlet แล้วแบ่งเป็น 2 zone จ่ายน้ำในเวลาที่ไม่ทับซ้อนกัน จะได้ไม่แย่งน้ำกันครับ
ใครมีวิธีดีๆช่วยแนะนำด้วยนะครับ 🙏🏻
กำลังจะทำเหมือนกันค่ะ ตอนนี้ได้บทสรุปยังคะ ใช้น้ำก๊อกเหมือนกัน อยากใช้ตัวคุมเวลาแบบใช้โซล่าห์หรือถ่านที่ยาวนานหนึ่งปี
แนะนำใช้แบบ smart ดีกว่าเยอะเลยครับ เหมือนว่าราคาสูงปกว่านิดเดียว ตั้งเวลาง่ายกว่าเยอะ กำหนดอะไรซับซ้อนก็ว่าได้ ใช้แบบตั้งมือ บางจุที่เราเข้าถึงลำบาก ก้มคอ เมื่อยมากกว่าจะตั้งเสร็จ ใช้มาเกือบปีจึงได้เปลี่ยนถ่าน
smart scene ไว้ใช้กับ Tuya soil humidity sensorครับ
ผมใช้ system ของ ewelink อยู่ เลยใช้เป็น Solenoid Valve 12v เสียบ adaptor ที่ต่อผ่าน Smart Plug อีกที รู้สึกแน่นอนกว่าครับ เพราะเดิมเคยใช้แบบใช้ถ่าน แล้วก็ไม่ smart บางช่วงยุ่งๆ ไม่ค่อยได้ดูว่ามันรดแล้วหรือยัง รู้ตัวอีกทีคือต้นไม้เหี่ยว เพราะถ่านหมด สงสัยอีกหน่อยครับ เห็นในคลิปเหมือนใช้ถ่าน 2 ยี่ห้อ ตัวที่บอกหมดเร็วกว่า ใช่พานา ไหมครับ เพราะที่เคยใช้อยู่ 2 ยี่ห้อ พานาไม่ทนแดดครับ ถ้าอุปกรณ์อยู่ในร่มไม่เป็นไร แต่ถ้าโดดแดดทุกวัน ไม่เกิน 3 เดือนครับ ถ้าเป็นเอเนอไจเซอร์ อยู่ได้ 6-8 เดือน
ผม work around มันนิดนึง
ผมมีปั้มแบบเสียบปลั๊กอยู่แล้ว ผมซื้อ smart plug มาต่อตั้งเวลาได้
และสามารถปรุงน้ำสำหรับรดต้นไม้ได้ด้วย
ข้อเสียเดียวคือ ถ้าถังน้ำไม่มีฝาปิด ยุงจะเยอะมาก
อยากให้ลองใช้ของยี้ห้อ Hunter ดูครับ
-ต้องสายใหญ่ldpeแล้วค่อยเป็นสายเล็ก แต่ถ้าพทตามคลิปแค่นั้นก็ได้
-รด1-2นาทีพอ เปลืองนํ้า
-รดแบบปีกผีเสื้อประหยัดสุด แต่ถ้าตามคลิปเปลี่ยนเปนหัวหยดดีกว่า เปลืองนํ้า
ระบบ Bluetooth นี้สามารถสั่งงานในมือถือที่ ตปท ได้ไหมหลังจากติดตั้งจากไทยแล้ว🙏😊
...ผมใช้โซลินอยทองเหลือง12v และทำกล่องประกอบแบต LiFePo432650 สามก้อน(1.5หมื่นmAh) +โมดูลชาร์จ +แผง + stepup12v +สมาร์ทโมดุล tuya wifi หมดไปประมาณ 700.-
..ส่วน.แบบใช้ไฟบ้านมี สมาร์ทปลั๊ก220v tuya + adavtor12v. + โซลินอยด์วาล์วทองเหลือง12v. อันนี้งบ 270.- ครับ
สร้าง automation มันจะไปสั่งเครื่องโดยตรง โดยไม่ผ่าน gateway อ่ะครับ มันเลยไม่ทำงาน ผมเคยลองกะ fingerbot ที่เป็น bt gateway ก็ไม่ได้เหมือนกัน
เสียดาย ถ้าเป็น zigbee จะดีงามกว่านี้ และอีกเรื่องคือ ถ้าทำระบบเป็นแบบใช้แบตและใช้ไฟฟ้าด้วยจะดีกว่านี้ เพราะแบตชอบหมดตอนที่ไม่รู้ตัว เพราะการใช้ระบบauto ทำให้เราไม่ค่อยจะไปสนใจ กว่าจะรู้อีกทีต้นไม้อาจจะไม่รอดแล้ว
มันต้องใช้ท่อดำขนาดประมานครึ่งนิ้วเดินเป็นเส้นหลักก่อนค่อนเจาะสายไมโครออกมาจากเส้นหลักครับน้ำถึงจะแรงเท่ากัน
ถ้าท่อหลักใหญ่ มันจะสวมจากหัวจ่ายน้ำมาหลวมรึเปล่าครับ มีวิธีแก้แนะนำมั้ยครับ?
@@longhai.reviewหัวข้อต่อเร็ว เปลี่ยนเป็นไซร์ใหญ่ได้ครับ ให้พอดีกับท่อpeเส้นหลัก
@@longhai.reviewเดินถือเครื่องไปHomeproเลยครับ เค้ามีขายหัวแปลงเป็นท่อใหญ่ก่อน
@@longhai.reviewมันมีข้อต่อสำหรับก๊อกสนามครับ(ข้อต่อเกลียวใน) แล้วต้องเลือกขนาดให้พอดีกับท่อเมนของเราด้วย
แนะนำถ้าใช้ถ่านชาร์จต้องเป็น1.5v เครื่องถึงจะทำงานได้ดีก่วา1.2v
ตัวนี้สามารถใช้ร่วมกับตัวตรวจความชื้นในดินได้ด้วยครับและสามารถตั้งให้ทำงานคู่กันได้ด้วยเช่นถ้าดินแห้งให้รดน้ำ หรือถ้าดินเปียกอยู่ในช่วงหน้าฝน ให้หยุดรดน้ำเพื่อลดโอกาสโรครากเน่าและลดค่าน้ำด้วยครับ
ควบคุม ระยะใกล ได้ใหมครับ เช่น ผม มา ต่างจังหวัด สามารถเข้ามาควบคุมได้ใหม
ใช้หัวน้ำหยดแบบปรับได้ ช่วยเรื่องแรงดันได้ครับ
เหมาะกับคนอยู่ภาคใต้ครับ ฝนตกบ่อยๆ ไม่เหมาะรถรดตามเวลา
ตอนนี้ยังใช้ดีอยู่มั้ยครับ น่าซื้ออยู่มั้ย สนใจหามาใช้บ้าง 🥹🥹
สนใจครับ
ชี้เป้าหน่อยครับ
ลองอันนี้หน่อยครับ เห็นในแอปส้ม
สินค้าชื่อว่า
แค่เสียบก็ใช้ได้ ประหยัดไฟ 95% เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดเยอรมนี กล่องประหยัดไฟ เครื่องประหยัดไฟฟ้า ตัว ค่าไฟฟ้าลดลง
ปีเดียวก็พัง ยางเสื่อม พลาสติกกรอบจากแสงแดด แบบปั้มทั่วไปใหมครับ
ปีหน้ารีวิวให้ดูอีกรอบนะครับ
สนใจครับรุ่นอะไร
ตั้งเป็นวันได้หรือเปล่าครับ
หมายถึง รดวันไหนบ้างอะไรงี้เหรอครับ
ต่อให้เป็นวงกลม เอาปลายท่ิอวนกลับมาที่ต้นสาย
อันนี้น่าลองแฮะ
ย้อนดูน้องมณี3รอบ 😹
ผมมันเหมาะสำหรับต้นไม้ ที่ไม่ได้ ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ และ พื้นที่เยอะ เพราะ สวนเล็กๆ ของผม ตอนแรกผมขี้เกียจ ก็ใช้ไป ออโต้ ... คิดว่ามันคงง่ายๆ สบายๆ แต่ การปลูกต้นไม้ บางที มันต้องการการดูแล มากที่คิด มันไม่ใช่แค่รดน้ำ มันมีอะไรอีกหลายอย่างที่เราต้อง เสียเวลา มาดูแล สุดท้าย ทุกวันนี้ ก็แมนนวลเอา ฉีดสายยางไป ดูต้นไม้ไป เออ มันก็ ไม่ได้ลำบากอะไร นี่นา ... 555
ไว้มีสวนใหญ่ๆ ไม้สายพันธ์เดียวๆ กัน ค่อย กลับไป ออโต้ อีกครั้ง
เดี่ยวซื้อไปรดหลังคาบ้านดูครับ :)
ของที่ได้ใช้ไม่มีวันแพง
เปลี่ยนเป็นหัวน้ำหยดแบบชดเชยแรงดันจะช่วยได้เยอะเลยครับ
ปลายสายต่อหากันเป็นลูปจะได้แรงดันเท่ากันครับ