ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
สาธุๆ ค่ะ
ข้อความในพระสูตรนี้ "ตถาคตเรียก*ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตรูป 4*นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ดวงหนึ่ง..." โดยนัยยะนี้ ถ้าจะตองว่า วิญญาณคืออะไร ก็ตามนี้ครับ คือ ชื่อเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตรูป 4, ถามว่ามีความเป็นไปอย่างไร ก็ตามนั้น ไม่เที่ยง ดวงหนึ่งเกิดขึน ดวงหนึ่งดับไป, ถามว่ามีคุณสมบัติอะไร เป็นธาตุรู้ ทำให้เกิดอาการรู้ ถามว่ามีที่ไหนบ้างในกายนี้ มีที่ตา ที่หู ที่จมูก ที่ลิ้น ที่กายคือผิวหนังและตามที่ทั่วไป และที่ใจ ถามว่าทำงานยังไง ที่ตาเมื่อแสงมากระทบ ที่หูเมื่อมีการสั่นไหว ที่จมูกเมื่อมีโมเลกุลของสารก่อกลิ่น ที่ลิ้นเมื่อมีสารก่อรส ที่กายเมื่อมีความร้อนเย็นแข็งนุ่มฯ ที่ใจเมื่อมีความรู้สึกนึกคิด ถามว่าผลที่เกิดขึ้นอยู่นานแค่ไหน ตราบเท่าที่ยังกระทบกัน ถามว่ามีแก่นไหม ไม่มี ว่างเปล่า มีความเลือนหายไปทันทีที่สิ้นสุดการกระทบ ถามว่าผลทีเกิดต่อเนื่องคืออะไร สุข ทุกข์ เฉย ๆ การกำหนดว่าคืออะไร การคิดเกี่ยวกับสิ่งนั้น ๆ. เอาแค่นี้ก่อนครับ
ถ้าประโยคนี้ "ตถาคตเรียก*ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตรูป 4*นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง.." มีแค่ในพระไตรปิฎก ฉบับหลวง และมหามกุฏ นะคะ ในฉบับมหาจุฬาจะไม่มีประโยคที่ว่า "ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูติรูปนี้ว่า จิต มโน วิญญาณ..." เช่นเดียวกับในบาลีสยามรัฐค่ะ ที่กล่าวว่า "ยญฺจ โข เอตํ ภิกฺขเว วุจฺจติ จิตฺตํ อิติปิ มโน อิติปิ วิญฺญาณํ อิติปิ" จะไม่มีกล่าวถึง "จาตุมฺมหาภูติกสฺส" ในบริบทของความเป็นจิต มโน วิญญาณค่ะ 🙏🙏
@ เท่าที่ทราบ ฉบับหลวงกับมหามกุฏแปลตรงบาลี ส่วนฉบับหลวงภาษาไทยท่านเปลี่ยนคำแปลให้อ่านง่ายขึ้น แต่ผมไม่ทราบว่าท่านไปเปลี่ยนบาลีด้วย ตรงนี้ต้องให้สงฆ์ชำระกันเอง ผมเดาเอาว่าท่านอาจจะขัดใจตรงที่ต้นเดิม “เรียกร่างกาย” ว่าจิต มโน วิญญาณ กลัวว่าคนจะสับสนการแยกกายกับจิตเลยตัดออก แต่สำหรับผมแล้ว สงฆ์ควรรักษาพระบาลีไว้ ส่วนตามบันทึกพระไตรปิฎกฉบับหลวงนั้น ผมเห็นว่าดีแล้ว ถูกต้องแล้ว การประชุมรวมแห่งมหาภูตรูป ๔ ที่เป็นร่างกายก็ส่วนหนึ่ง ที่เป็นจิต มโน วิญญาณ ก็อีกส่วนหนึ่ง ส่วนนี้ตามคาถาธรรมบท อนิทัสสนะ มองไม่เห็นด้วยตา ครับ
@รู้ธรรมChannel อ่านมาเยอะดีจังครับ อนุโมทนา ผมเริ่มอ่านฉบับหลวงแล้วต่อฉบับมหามกุฏ แต่ฉบับมหาจุฬาผมไม่อ่านเพราะท่านไปเปลี่ยนคำแปลแล้วทำให้อรรถเปลี่ยนครับ
วิญญาน ... คือ สภาพนั้นๆจาก ปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง รูป และ นาม ... จึง มี สภาพนั้นๆ ณ ขณะ หนึ่งๆ
สิ่งที่เข้ามายึดติดคือสัตว์ไช่ไหม
ใช่ค่ะ 🙏😊
นี่แหละ ที่พวกคุณ เข้าใจผิด อาจารย์ คึกฤทธิ์ ก็เข้าใจผิด@@รู้ธรรมChannel
สิ่งที่ยึดไม่ไช่มีสัตว์อีกตัวมายึด สิ่งที่ยึดคือสภาพธรรม คือแรงฉันทะหรือยางเหนียวเป็นตัวยึดเช่นนี้วิญญานจึงไม่ไช่สิ่งที่เวียนว่ายตายเกิด สิ่งที่เวียนว่ายคือสภาพธรรมที่หลงผิดแล้วมีฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ยึดติดกับสิ่งที่รู้นั้นไปเรื่อยๆ ไม่ยอมปล่อยวางถ้าคุณมีโอกาสได้ถามหรืออธิบายกับอาจารย์คึกฤทธิ์ ว่าท่านเข้าใจเรื่องนี้ผิด จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติและพุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ
@@รู้ธรรมChannelการเข้าใจผิด เห็นผิดการปฏิบัติธรรมจะไม่ก้าวหน้านะ และการบอกต่อก็บอกผิด เป็นกรรมนะ เป็นโมฆะบุรุษ โมฆะสตรี
สาธุๆ ค่ะ
ข้อความในพระสูตรนี้ "ตถาคตเรียก*ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตรูป 4*นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง ดวงหนึ่ง..." โดยนัยยะนี้ ถ้าจะตองว่า วิญญาณคืออะไร ก็ตามนี้ครับ คือ ชื่อเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตรูป 4, ถามว่ามีความเป็นไปอย่างไร ก็ตามนั้น ไม่เที่ยง ดวงหนึ่งเกิดขึน ดวงหนึ่งดับไป, ถามว่ามีคุณสมบัติอะไร เป็นธาตุรู้ ทำให้เกิดอาการรู้ ถามว่ามีที่ไหนบ้างในกายนี้ มีที่ตา ที่หู ที่จมูก ที่ลิ้น ที่กายคือผิวหนังและตามที่ทั่วไป และที่ใจ ถามว่าทำงานยังไง ที่ตาเมื่อแสงมากระทบ ที่หูเมื่อมีการสั่นไหว ที่จมูกเมื่อมีโมเลกุลของสารก่อกลิ่น ที่ลิ้นเมื่อมีสารก่อรส ที่กายเมื่อมีความร้อนเย็นแข็งนุ่มฯ ที่ใจเมื่อมีความรู้สึกนึกคิด ถามว่าผลที่เกิดขึ้นอยู่นานแค่ไหน ตราบเท่าที่ยังกระทบกัน ถามว่ามีแก่นไหม ไม่มี ว่างเปล่า มีความเลือนหายไปทันทีที่สิ้นสุดการกระทบ ถามว่าผลทีเกิดต่อเนื่องคืออะไร สุข ทุกข์ เฉย ๆ การกำหนดว่าคืออะไร การคิดเกี่ยวกับสิ่งนั้น ๆ. เอาแค่นี้ก่อนครับ
ถ้าประโยคนี้ "ตถาคตเรียก*ร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตรูป 4*นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง.." มีแค่ในพระไตรปิฎก ฉบับหลวง และมหามกุฏ นะคะ ในฉบับมหาจุฬาจะไม่มีประโยคที่ว่า "ตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูติรูปนี้ว่า จิต มโน วิญญาณ..." เช่นเดียวกับในบาลีสยามรัฐค่ะ ที่กล่าวว่า "ยญฺจ โข เอตํ ภิกฺขเว วุจฺจติ จิตฺตํ อิติปิ มโน อิติปิ วิญฺญาณํ อิติปิ" จะไม่มีกล่าวถึง "จาตุมฺมหาภูติกสฺส" ในบริบทของความเป็นจิต มโน วิญญาณค่ะ 🙏🙏
@ เท่าที่ทราบ ฉบับหลวงกับมหามกุฏแปลตรงบาลี ส่วนฉบับหลวงภาษาไทยท่านเปลี่ยนคำแปลให้อ่านง่ายขึ้น แต่ผมไม่ทราบว่าท่านไปเปลี่ยนบาลีด้วย ตรงนี้ต้องให้สงฆ์ชำระกันเอง ผมเดาเอาว่าท่านอาจจะขัดใจตรงที่ต้นเดิม “เรียกร่างกาย” ว่าจิต มโน วิญญาณ กลัวว่าคนจะสับสนการแยกกายกับจิตเลยตัดออก แต่สำหรับผมแล้ว สงฆ์ควรรักษาพระบาลีไว้ ส่วนตามบันทึกพระไตรปิฎกฉบับหลวงนั้น ผมเห็นว่าดีแล้ว ถูกต้องแล้ว การประชุมรวมแห่งมหาภูตรูป ๔ ที่เป็นร่างกายก็ส่วนหนึ่ง ที่เป็นจิต มโน วิญญาณ ก็อีกส่วนหนึ่ง ส่วนนี้ตามคาถาธรรมบท อนิทัสสนะ มองไม่เห็นด้วยตา ครับ
@รู้ธรรมChannel อ่านมาเยอะดีจังครับ อนุโมทนา ผมเริ่มอ่านฉบับหลวงแล้วต่อฉบับมหามกุฏ แต่ฉบับมหาจุฬาผมไม่อ่านเพราะท่านไปเปลี่ยนคำแปลแล้วทำให้อรรถเปลี่ยนครับ
วิญญาน ... คือ สภาพนั้นๆ
จาก ปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง รูป และ นาม ... จึง มี สภาพนั้นๆ ณ ขณะ หนึ่งๆ
สิ่งที่เข้ามายึดติดคือสัตว์ไช่ไหม
ใช่ค่ะ 🙏😊
นี่แหละ ที่พวกคุณ เข้าใจผิด อาจารย์ คึกฤทธิ์ ก็เข้าใจผิด@@รู้ธรรมChannel
สิ่งที่ยึดไม่ไช่มีสัตว์อีกตัวมายึด สิ่งที่ยึดคือสภาพธรรม คือแรงฉันทะหรือยางเหนียวเป็นตัวยึด
เช่นนี้วิญญานจึงไม่ไช่สิ่งที่เวียนว่ายตายเกิด สิ่งที่เวียนว่ายคือสภาพธรรมที่หลงผิดแล้วมีฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ยึดติดกับสิ่งที่รู้นั้นไปเรื่อยๆ ไม่ยอมปล่อยวาง
ถ้าคุณมีโอกาสได้ถามหรืออธิบายกับอาจารย์คึกฤทธิ์ ว่าท่านเข้าใจเรื่องนี้ผิด จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติและพุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ
@@รู้ธรรมChannelการเข้าใจผิด เห็นผิดการปฏิบัติธรรมจะไม่ก้าวหน้านะ และการบอกต่อก็บอกผิด เป็นกรรมนะ เป็นโมฆะบุรุษ โมฆะสตรี