EP. 39 สวดพระอภิธรรมศพมาจากไหน

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 7 ธ.ค. 2021
  • #สาระน่ารู้ฯ#ข้อคิดดีๆ #คติธรรมสอนใจ

ความคิดเห็น • 48

  • @kritsadawaengkaew78
    @kritsadawaengkaew78 8 หลายเดือนก่อน

    การทำบุญอุทิศก่อนเผาศพคือ พิธีทักษิณานุปทานทั้งหมดไหมครับ เช่น สาธารณกุศล ทอดผ้าบังสุกุล /แล้วพลวัตปัจจัย/จิตกาทานแปลว่าอะไรครับ

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  8 หลายเดือนก่อน +1

      ๑. พิธีทำบุญทักษิณานุปทาน คือพิธีทำบุญหาคนตาย
      ๒. พิธีก่อนเผา คือพิธีสวดพระอภิธรรม
      ๓.จิตกาธาน เชิงตะกอน (เมรุ)

  • @user-wc3ze3xj2k
    @user-wc3ze3xj2k 7 หลายเดือนก่อน

    มีบางคนบอกว่า การสวดพระอภิธรรมศพไม่ใช่พระพุทธศาสนา คนเป็นได้บาปคนตายไม่ได้บุญ แล้วก็มีคนเชื่ออยู่พอสมควร แต่การจัดพิธีศพของเขาก็ไปจัดที่วัดนะครับแต่บอกไม่ให้มีพิธีสงฆ์ พระสงฆ์ไม่เข้ามาเกี่ยวข้อง ผมก็ไม่ทราบว่าเขาไปศึกษามาหรือเปล่า ไม่เหมือนกับของอาจารย์รุ่ง สาระดี อธิบายไว้ได้ละเอียดเข้าใจง่าย ขอขอบพระคุณมากครับ

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  7 หลายเดือนก่อน

      มาใช้วัด แต่ไม่ให้วัดเกี่ยวข้อง ..คิดได้อย่างไร..ไม่ทราบ

  • @joebangchang
    @joebangchang 2 ปีที่แล้ว +3

    ดีมากครับท่าน ได้เติมเต็มความรู้

  • @sompongchaikwankeaw869
    @sompongchaikwankeaw869 2 ปีที่แล้ว +2

    ได้รู้ในสิ่งที่ไม่รู้ ขอบคุณมากครับ

  • @user-vt3bu7mc8r
    @user-vt3bu7mc8r 2 ปีที่แล้ว +2

    ได้ความรู้มากเลยครับ

  • @user-fj5fy1fe9q
    @user-fj5fy1fe9q 2 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากครับอาจารย์ขอยคุณครับ

  • @amnuaysongprai8282
    @amnuaysongprai8282 ปีที่แล้ว

    อนุโมทนา​ สาธุครับ

  • @user-kp5yu8du9s
    @user-kp5yu8du9s 2 ปีที่แล้ว +2

    ดีครับให้ความที่ถูกต้องตามหลัก
    ศาสนพิธี

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

    • @junejung811
      @junejung811 ปีที่แล้ว

      การพระอภิธรรมที่ถูกต้องมีอาราธนาไหมครับ
      ถ้ามีใช้สวดอย่างไร
      ทำคลิปอธิบายด้วย

  • @user-dw5rr2lq2e
    @user-dw5rr2lq2e 2 ปีที่แล้ว +1

    FC ครับอาจารย์

  • @user-fy1yy2qh8e
    @user-fy1yy2qh8e ปีที่แล้ว

    ขอบคุณความรู้ที่มีคุณค่ายิ่งค่ะ

  • @RedMi-in6qe
    @RedMi-in6qe ปีที่แล้ว

    ชอบครับได้ความรู้ดีมากชอบคุณ
    มากครับ

  • @pipatnapra6308
    @pipatnapra6308 ปีที่แล้ว

    บรรยายได้ดีมากครับคำพูดชัดเจน

  • @NnNn-cg8nb
    @NnNn-cg8nb 2 ปีที่แล้ว +1

    ดีเยี่ยมเลยเป็นครับวิทยาทาน..

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

    • @ruchaik5871
      @ruchaik5871 ปีที่แล้ว

      การอาราธนาสวดพาหุงตอนเช้านั้นแต่ละท้องถิ่นก็ว่ากันไปคนละอย่างอยากทราบว่ามีระเบียบข้อปฏิบัติไว้หรือไม่ครับ

    • @user-bf3ng2kb9c
      @user-bf3ng2kb9c ปีที่แล้ว

      ขอเบอร์โทรศัพ อาจารย์ครับ

  • @dtdggftdvh2428
    @dtdggftdvh2428 ปีที่แล้ว +1

    มีการกำหนดอายุศพไหมครับบางหมู่บ้านต้องเอาอายุ60ขึ้น

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  ปีที่แล้ว

      ไม่กำหนดครับ แต่ถ้าเป็นเด็กประเภทแรกเกิด, ตายหลัง คลอดได้ไม่กี่วัน หรือมีอายุไม่เกิน ๑ เดือน อย่างนี้ก็ไม่นิยมสวดครับ ถ้าเป็นรอบนอก ๆ จะเอาไปผังแล้วจึงนิมนต์พระมาทำบุญที่บ้านทีหลัง เป็นวัฒนธรรมแต่ละพื้นที่ ส่วนที่กำหนดว่า ต้องอายุ ๖๐ ปี จึงจะมีพิธีสวดนั้น ..ไม่มีกฏเกณฑ์มากำหนดครับ ..อยู่ที่เจ้าภาพทั้งสิ้น จะจัดให้มีหรือไม่มีเท่านั้นเองครับผม

  • @user-tv1rw8nz9b
    @user-tv1rw8nz9b 2 ปีที่แล้ว +1

    ฝากเนื้อฝากตัวครับจารย์.อยากสานต่อเจตนารมถ์ของพ่อครับ

  • @tiktik8291
    @tiktik8291 ปีที่แล้ว +1

    ขออนุญาตเรียนถามท่านอาจารย์ครับ
    คำว่า"ทักษิณานุปทาน"ศาสนพิธีกร ควรใช้คำนี้ในกรณีไหน หรืองานไหนบ้างครับ

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  ปีที่แล้ว

      ทักษิณานุปทาน เป็นชื่อพิธี (อย่างเป็นทางการ) ก็คือพิธีทำบุญอุทิศหาผู้วายชนม์ ส่วนคำว่า ศาสนพิธีกร เป็นคำเรียกบุคคลผู้ดำเนินศาสนพิธี ..ก็คือผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นมัคนายก นั่นเอง และคำนี้ใช้ปรากฏอยุ่ในคู่มือการปฏิบัติหน้าที่........ของกระทรวงวัฒนธรรมครับ

  • @QwertyQwerty-co6ud
    @QwertyQwerty-co6ud 2 ปีที่แล้ว +1

    ทำไม่ต้องสวดกลางคืนสวดตอนเช้าไม่ได้หรือครับใครรู้ช่วยอธิบายด้วยครับ

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  2 ปีที่แล้ว

      สวดเวลาไหนก็ได้ครับ แล้วแต่เจ้าภาพสะดวก

  • @user-rt5sr7gf8k
    @user-rt5sr7gf8k 2 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้มีการอบรมมัคนายกในพื้นที่ท้องถิ่น

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  2 ปีที่แล้ว +2

      เคยมี อบต.สนใจแนวคิดผมเหมือนกันครับ แต่ก็เงียบไป ใจจริงผมก็อยากทำเรื่องนี้มากครับ..จะได้ไปในแนวทางเดียวกัน

  • @lovehchan
    @lovehchan ปีที่แล้ว

    อาจารย์ครับ การสวดพระอภิธรรม 4 จบนี่ ล้อตามพุทธมารดาที่ฟังบทนี้จากพระพุทธเจ้า 4 คนจนรู้เรื่อง(ได้พระโสดาบัน) ใช่มั้ยครับ??

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  ปีที่แล้ว

      สันนิษฐานว่าอย่างนั้นครับ

  • @monthenchaivirat4603
    @monthenchaivirat4603 ปีที่แล้ว

    ดูเหมือนว่าอิฉันกำลังเรียนพิธีทางศาสนาตอนอายุใกล้70ดีมากค่ะดียี่ง

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับคุณป้า (ผมก็ใกล้เกษียณแล้วครับ )

  • @pipatnapra6308
    @pipatnapra6308 ปีที่แล้ว

    เป็นครูสอนพระนักเทศน์ได้เลยครับอาจารย์

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  ปีที่แล้ว

      ผมไม่เก่งขนาดนั้นครับผม

  • @fyghffhghh2796
    @fyghffhghh2796 2 ปีที่แล้ว +1

    อาราธนาธรรมอย่างไหนถูกครับ กัจอัญชลี อัญทิวะรังอะยาจะถะ,กะตัญชลี อะนะทิวะรัง อะยาจะถะ

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  2 ปีที่แล้ว

      กตัญชะลี...ถือตามศัพท์เดิม ที่มีมาในพระไตรปิฎก กตัญชลี..เป็นศัพท์ที่ผ่านกระบวนการแต่งกลอนหรือฉันท์ในภาษาบาลี ที่มีการบังคับจำนวนคำไว้ครับ ดังนั้นเมื่อคำอาราธนาเป็นฉันท์ ก็ต้องถือตามฉันท์คือกัตอัญชลีครับผม

    • @fyghffhghh2796
      @fyghffhghh2796 2 ปีที่แล้ว +1

      @@user-fv3qo1fe9e ครับ ขอบคุณครับ

  • @junejung811
    @junejung811 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ครับผมอยู่อิสาน
    พิธีการบางอย่างกับทาง
    เหนือก็เหมือนกันประยุกต์ใช้กับนได้

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  ปีที่แล้ว

      ครับผม ก็คล้ายๆกันครับ ไม่แตกต่างเท่าไหร่

  • @pipatnapra6308
    @pipatnapra6308 ปีที่แล้ว

    ขอลงเบอร์ใว้ด้วยครับ

  • @user-jk7xs2jb2i
    @user-jk7xs2jb2i ปีที่แล้ว

    ในสม้ยพุทธกาลใครสวดและสวดในงานศพผู้ใดมีบันทึกไหมขอความกระจ่างด้วยครับ

    • @user-fv3qo1fe9e
      @user-fv3qo1fe9e  ปีที่แล้ว +1

      การสวดไม่มีครับ... มีแต่การเทศน์...สมัยพุทธองค์โปรดพระมารดา สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ..แสดงพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ ใช้เวลา ๓ เดือน , อสมัยอยุธยา ...ไม่มีหลักฐานแต่มีเรื่องเล่าสืบๆ กันมา..เมื่อมีการตายเกิดขึ้น โดยเฉพาะในพระราชวัง ..นิยมพระสงฆ์ไปสวดมนต์..ทั้งนี้ เพื่อป้องกันความหวาดกลัวของคนในวัง อีกประการหนึ่งทำเสมือนว่า...เป็นงาน มงคล..สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีบันทึกไว้..และเป็นต้นแบบ หลายอย่าง เช่น แจกประวัติผู้ตาย, แจกของชำร่วย เป็นต้นฯ สมัย ร.๕ ในพิธิบำเพ็ญพระราชกุศล พระนางเรือร่ม บางพูด นนทบุรี