หลักการรับฟัง "พยานบอกเล่า" ข้อกฎหมาย-ทางปฏิบัติ แบบเข้าใจง่าย

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 25 ต.ค. 2024

ความคิดเห็น • 7

  • @นครเมืองใต้
    @นครเมืองใต้ ปีที่แล้ว +2

    ตรงกับของผมเลยครับ ผมบรรยายความผิดในคดีอาญาของกลุ่มจำเลยเอาไว้ในคดีแพ่ง ในรูปของเอกสารท้ายฟ้อง (โดยบรรยายครบองค์ประกอบคำฟ้องคดีอาญา) ทนายจำเลยนำเอกสารเหล่านั้นมาถามค้านผมและแถลงต่อศาลว่า "เหตุการณ์ตามเอกสารท้ายฟ้องโจทก์หมายเลข......ถึงหมายเลข.......เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง จำแลยได้กระทำจริง แต่เกิดขึ้นก่อนเป็นกรณีพิพาทในคดีนี้" ศาลบันทึกลงรายงานฯ เป็นพยานบอกเล่าชั้นดีเลยครับ , ผมไม่ต้องเสียเวลาในการนำเอกสารท้ายฟ้องที่เป็นอาญาไปซักถามจำเลย ทนายจำเลยจัดการให้เรียบร้อย

  • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา

    ในคดีผบ ถ้าจำเลยยื่นบันทึกถ้อยคำแทนการชักถามพยานในวันที่ศาลนัดสืบได้ไหมค่ะถ้าศาลรับแปลว่าไม่ชอบด้วยกฎหมายไหมค่ะ และพยานจำเลยนำสอ่งในอนาคตมาเป็นพยาน

  • @กรองจนาชนะพันธ์
    @กรองจนาชนะพันธ์ 9 หลายเดือนก่อน

    อัฉริยะจริงคะ่ท่านทนาย

  • @thai-aussieslifestyleforjo6100
    @thai-aussieslifestyleforjo6100 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากสำหรับกฎหมายที่น่ารู้และเป็นประโยชน์อย่างยิ่งค่ะคุณทนายเพชร

  • @navihyavoyage1000
    @navihyavoyage1000 ปีที่แล้ว +1

    ในคดี ผบ. ถ้าคู่ความไม่สามารถไกล่เกลี่ยกันได้ จำเลยจะสามารถขอเลื่อนยื่นคำให้การออกไปในนัดหน้าเพื่อปรึกษาทนายความ ก่อนได้หรือไม่ครับ และในทางปฏิบัติจำเลยสามารถแถลงด้วยวาจาหรือต้องทำเป็นหนังสือ ครับ

    • @srisunglaw
      @srisunglaw  ปีที่แล้ว +1

      สามารถแถลงด้วยวาจาได้ครับว่าขอเลื่อนเพื่อไปปรึกษาทนายความ แต่งตั้งทนายความหรือเตรียมคำให้การ แต่จริงๆถ้ามีเวลาควรเตรียมเป็นคำร้องไปจะดีกว่าครับ

    • @navihyavoyage1000
      @navihyavoyage1000 ปีที่แล้ว

      @@srisunglaw อีกนิดนึงครับ อ.
      การเลื่อนคดีแพ่ง มีทั้งการขอเลื่อนพิจารณาและยื่นคำให้การ กับการขอเลื่อนพิจารณาแต่สละสิทธิ์ยื่นคำให้การ ใช่หรือไม่ครับ