31 25 ๑๐ สุญญกถา ตปฎเล่ม 31 สตฎเล่ม ๒๒ ขุททกนิกาย ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค ๒ ยุคนัทธวรรค

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 15 พ.ค. 2024
  • มิกซ์ - • 31 25 ๑๐ สุญญกถา ตปฎเล...
    อ่าน[ฉบับมหาจุฬาฯ] 84000.org/tipitaka/read/m_sir...
    อ่านฉบับเพิ่มคำแปลศัพท์ sites.google.com/view/suttant...
    พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๓ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
    ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
    00:01
    ๑๐. สุญญกถา ว่าด้วยความว่าง ข้อ ๔๖ - ๔๘
    [๔๖] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
    02:21.02
    ๑. บทมาติกา
    [๔๗] ๑. สุญญสุญญะ (ความว่างด้วยธรรมที่ว่าง)
    04:57.02
    ๒. นิทเทส
    [๔๘] ๑. สุญญสุญญะ เป็นอย่างไร
    05:36.01 ๒. สังขารสุญญะ เป็นอย่างไร
    06:22.01 อีกนัยหนึ่ง สังขาร ๓ ประการ ได้แก่
    06:52.03 อีกนัยหนึ่ง สังขาร ๓ ประการ ได้แก่
    07:29.20 ๓. วิปริณามสุญญะ เป็นอย่างไร
    08:04.06 ๔. อัคคสุญญะ เป็นอย่างไร
    08:26.08 ๕. ลักขณสุญญะ เป็นอย่างไร
    10:22.02 ๖. วิกขัมภนสุญญะ เป็นอย่างไร
    11:36.01 ๗. ตทังคสุญญะ เป็นอย่างไร
    12:47.08 ๘. สมุจเฉทสุญญะ เป็นอย่างไร
    14:00.05 ๙. ปฏิปัสสัทธิสุญญะ เป็นอย่างไร
    15:19.08 ๑๐. นิสสรณสุญญะ เป็นอย่างไร
    16:32.01 ๑๑. อัชฌัตตสุญญะ เป็นอย่างไร
    17:13.01 ๑๒. พหิทธาสุญญะ เป็นอย่างไร
    17:53.04 ๑๓. ทุภโตสุญญะ เป็นอย่างไร
    19:02.04 ๑๔. สภาคสุญญะ เป็นอย่างไร
    19:43.01 ๑๕. วิสภาคสุญญะ เป็นอย่างไร
    20:24.01 ๑๖. เอสนาสุญญะ เป็นอย่างไร
    21:14.01 ๑๗. ปริคคหสุญญะ เป็นอย่างไร
    22:02.02 ๑๘. ปฏิลาภสุญญะ เป็นอย่างไร
    22:49.03 ๑๙. ปฏิเวธสุญญะ เป็นอย่างไร
    23:37.07 ๒๐-๒๑. เอกัตตสุญญะ นานัตตสุญญะ เป็นอย่างไร
    25:44.01 ๒๒. ขันติสุญญะ เป็นอย่างไร
    26:33.15 ๒๓. อธิษฐานสุญญะ เป็นอย่างไร
    27:25.10 ๒๔. ปริโยคาหนสุญญะ เป็นอย่างไร
    28:16.02 ๒๕. ความว่างขั้นสูงสุดของความว่างทั้งปวง คือ การที่บุคคลผู้มีสัมปชัญญะทำความเป็นไปแห่งกิเลสให้สิ้นไป เป็นอย่างไร
    29:14.15 อีกนัยหนึ่ง ความเป็นไปแห่งจักขุนี้ของบุคคลผู้มีสัมปชัญญะ ผู้ปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ย่อมสิ้นไป และความเป็นไปแห่งจักขุอื่นก็ไม่เกิดขึ้นความเป็นไปแห่งโสตะ ฯลฯ
    ยุคนัทธวรรคที่ ๒ จบ
    รวมกถาที่มีในวรรคนี้ คือ
    ๑. ยุคนัทธกถา ๒. สัจจกถา
    ๓. โพชฌงคกถา ๔. เมตตากถา
    ๕. วิราคกถา ๖. ปฏิสัมภิทากถา
    ๗. ธัมมจักกกถา ๘. โลกุตตรกถา
    ๙. พลกถา ๑๐. สุญญกถา
    วรรคที่ ๒ นี้เป็นวรรคอันยอดเยี่ยม ไม่มีวรรคอื่นเสมอ ท่านผู้ทรงนิกายตั้งไว้แล้ว ฉะนี้แล

ความคิดเห็น • 2