คุณสมบัติและการใช้งานตัวเก็บประจุหรือ (C ) Capacitor,Condenser)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 12 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 3

  • @intelonsleya
    @intelonsleya 8 หลายเดือนก่อน +1

    อยากรู้ว่า ในแต่ละ ฟารัด เท่าไหร่ จึงจะเหมาะสมกับวงจรที่เรามี

    • @Nine-dee
      @Nine-dee  8 หลายเดือนก่อน

      อุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์แต่ละชนิด จะถูกคำนวนค่ามาเรียบร้อยแต่แรกครับว่า วงจรนั้นๆเป็นวงจรอะไร มีกระแสไหลผ่านเท่าไหร่ในแต่ละภาค จะใช้อุปกรณ์ค่าเท่าไหร่ ต้องการให้ไฟผ่านไปได้เท่าไหร่เป็นต้นครับ และตัวเก็บประจุหรือ ซี (c ) จะมีหน่วยเป็นฟารัด แต่เราใช้ในวงจรปกติค่าจะแค่ ไมโครแค่นั้นเองครับ คือไมโคร หน่วยใหญ่กว่าไมโครคือมิลลิ ใหญ่กว่ามิลลิคือ กิโลฯ ใหญ่กว่ากิโล คือเมกกะฯ และเทรา
      ดังนั้นถ้ากระป๋อง c หนึ่งฟารัดจะใหญ่โตมโหฬารครับ
      ในวงจรเราจึงใช้อุปกรณ์ค่าเท่าเดิม ทนแรงดันเท่าเดิม ขนาดเท่าเดิม ทนวัตต์เท่าเดิม เปลี่ยนแทนครับ
      และหน้าที่ของ c หลักๆก็จะมี ฟิลเตอร์หรือกรองกระแสสลับให้เรียบเป็นกระแสตรง โดยทำงานร่วมกับไดโอดครับ จะเป็นชนิดมีขั้วบวกลบหรืออิเลคโตรไลติก
      ต่อมาคือบายพาส
      คัปปิ้งสัญญาณ โดยจะทำหน้าที่ควบคู่กับอุปกรณ์อื่น
      แล้วแต่วิศกรผู้ออกแบบวงจรนั้นๆจัดคลาส หรือจัดชุดไบแอสเป็นแบบไหนครับ

    • @intelonsleya
      @intelonsleya 8 หลายเดือนก่อน

      @@Nine-dee ขอบคุณคับ อยากให้ทำคลิปคำนวณ c ให้เหมาะสมกับวงจรให้ดูหน่อยคับ จะได้ดูเทียบเป็นตัวอย่าง กรณีศึกษาคับ