สื่อการเรียนการสอนด้านการแสดงพื้นบ้านภาคเหนือ ฟ้อนเมืองแบบเต็ม วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 15 มิ.ย. 2022
  • สื่อการเรียนการสอนด้านการแสดงพื้นบ้านภาคเหนือ ฟ้อนเมืองแบบเต็ม วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่

ความคิดเห็น • 8

  • @aisoonintarasalee
    @aisoonintarasalee หลายเดือนก่อน

    งดงามมากๆครับต้นฉบับอย่างดีมากๆ

  • @tayawi100
    @tayawi100 ปีที่แล้ว +2

    งามจับใจ ก้าวนิ่งละไมเหมือนช้างย่างก้าว เบาแต่หนักแน่น ขอบคุณที่ลงให้ได้ชมและฝึกหัดตามค่ะ

  • @user-tw9ot1yd6b
    @user-tw9ot1yd6b 7 หลายเดือนก่อน

    ถ้าสังเกตดูจะเห็นว่าต่างจากฟ้อนเมืองตัดคือ ฟ้อนเต็มจะเชื่อด้วยท่าส่งหลังกับตั้งวงทักท่าถูกต้องไหมครับ ขอคำจอบจากผู้รู้🙏🙏🙏🙏

  • @tt-3d911
    @tt-3d911 ปีที่แล้ว +2

    ท่ารำพวกนี้ได้แนวคิดมาจากสิ่งใดครับ ้ช่นวิถีการดำรงชีวิต ความงามทางธรรมชาติ พิธีกรรม ภาพจำหลัก หรืออะไรเหรอครับ ถามในฐานะคนดู😘❤️

    • @MatoomBu
      @MatoomBu ปีที่แล้ว

      เท่าที่ทราบข้อมูล จะเป็นการฟ้อนนำขบวนแห่ครัวตาน (ครัวทาน) เพื่อจะไปนำถวายวัดในงานประเพณีต่างๆ ของทางภาคเหนือ เพื่อโชว์ถึงการร่ายรำอ่อนช้อยของทางภาคเหนือ ที่มีจังหวะการเดินช้าๆ เหมือนช้างที่ค่อยๆเดิน ถึงจะช้าแต่ก็โชว์ถึงความสง่างาม ซึ่งแต่ละจังหวัดทาทาภาคเหนือจะมีจังหวะเพลงที่ไม่เหมือนกัน เมื่อจะค่อนข้างหาชมได้ยาก แต่ปัจจุบันที่เชียงใหม่มีการถ่ายทอดท่ารำจากสำนักคุ้มเจ้าดาราฯ เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลทั่วไปได้ใช้แสดงในการรำแห่ครัวตาน หรือการคชต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองประมาณนี้ครับ

    • @oyefirangi2624
      @oyefirangi2624 ปีที่แล้ว +1

      เป็นท่ารำที่สืบทอดมาตั้งแต่อดีตแล้ว คงยากที่จะรู้ได้จริงๆว่ามาจากอะไรบ้าง แต่มันก็คงมีที่มาคล้ายๆแบบที่คุณคาดการกระมัง

    • @narachaimk007
      @narachaimk007 ปีที่แล้ว

      ตอบในฐานะคนเชียงใหม่เลยนะครับ ส่วนมากรำแบบนี้จะ เป็นลักษณะ การรำถวาย หรือ รำสักการะ ตัวอย่าง รำถวายนำขบวนประชาชนเข้าสู่ประตูวัด เพื่อทำบุญใหญ่ หรือ รำสักกะระงานบุญฉลองหน้างาน ซึ่งมันมีความเชื่อเรื่องสัตรีโบราณล้านนาว่า สาวใดได้รำถวายวัด หรือถวายบูชาแก่พระพุทธศาสนา จะได้บุญกุศลแก่ชีวิต และครอบครัวจะอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน หลายตระกูล หรือหลายบ้านจะส่งลูกสาว หรือ เพศหญิงสาวในบ้าน เข้าไปตัวแทนบ้าน ร่วมรำสักการะพระพุทธ และ อีกกรณี รำถวายเจ้านาย ในสมัยโบราณ ตั้งแต่ยุคล้านนาแรกเริ่มครับ (กรณีถวายเจ้านาย อันนี้จะมีผู้ชายรำด้วยครับ แต่ไม่มีเล็บใส่เหมือนหญิงสาว ผู้ชายนี่ไม่ใช่บ้านๆนะคับ ลูกเจ้าเหล่านาย ชายผู้สูงศักดิ์ตระกูลเจ้าฟ้าต่างๆ รำถวายเจ้าฟ้าเหนือหัว เจ้าฟ้าหลวงล้านนา หรือ พระมหากษัตริ์ไทย)

    • @jitthipatphankaeo6700
      @jitthipatphankaeo6700 3 หลายเดือนก่อน

      มันหลายๆอย่างรวมกันจนกลายเป็นแบบแผนไปแล้วครับ แรกก็คงคิดเอาท่าเลียนแบบสัตว์บ้าง ธรรมชาติบ้าง ลักษณะท่าบ้าง เช่นเลียนแบบสัตว์ก็ ท่าเดินเหมือนช้าง ท่ากาตากปีก ธรรมชาติก็ท่าชมพัดยอดตอง ลักษณะท่าก็สะบัดจีบ จีบส่งหลัง และยังมีท่าที่เกี่ยวกับวรรณคดีอีกครับ ท่าเกี่ยวกับการใช้ชีวิตก็มีครับ เช่นท่าพายเรือ แล้วแต่ว่าต้นฉบับจะใช้ท่าอะไร ฉบับไหนมาฟ้อน