ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
เทคนิคผมในการจำเสียง schwa คือ "อ่านสระหลัก a e i o u ไปตรงๆ แหละ แต่ให้อ่านเสียงเบา" เพราะพอพูดเบาลิ้นมันจะอยู่แถวๆ เสียง schwa โดยธรรมชาติอยู่แล้วจุดสำคัญคือ "เสียงเบา" ครับ ไม่อยากให้จำว่าเป็นสระเออเท่าไหร่ เพราะสระนี้มันมีในพยางค์ unstressed ไม่เน้นเสียง/กร่อนเสียงเสมอในทุกสระ (ถ้าย้อนรากศัพท์กลับไป มันก็อ่านจากสระหลักกันหมด)ดังนั้นผมจะไปเน้นที่การ stress คำมากกว่า เพราะบ่อยครั้งที่รากศัพท์เดียวกัน แต่พอผันคำ เปลี่ยนพยางค์ stress ทำให้เสียงสระเปลี่ยนบ่อยครั้งเช่นphoto /ˈfoʊtoʊ/photograph /ˈfoʊtəɡrɑːf/photography /fəˈtɒɡrəfi/ผมจะจำทั้งหมดเป็น "โฟโต(กราฟ)(ฟี)" แล้วจำเฉพาะพยางค์ stress ลงเสียงหนักพอ (ที่มี ˈ ข้างหน้า) แล้วกร่อนพยางค์อื่นให้เป็นเสียงเบาๆ ดีกว่า ยังไงก็ได้ schwa มาแน่นอนครับปล. ə โลโก้เพจเราเองแหละ เห็นคลิปนี้อยากกลับมารีเทิร์นช่องยูทูบแล้วเนี่ย 555
จริง ๆ ผมไม่สนด้วยซ้ำว่าตรงไหนเป็นเสียง /ə/ ไหม เพราะผมกร่อนเสียงสระแล้วมันไม่ธรรมชาติ บังคับไปแล้วฟังแย่กว่าเดิมอีก ผมเลยสนแค่ stress แทน ส่วนที่ควรเป็น reduced vowel ผมก็ยังออกเป็นสระเต็มอยู่ดีแค่ไมเน้นเสียงก็พอแล้วผมใช้เสียง [ə] แค่เป็น allophone ของ syllabic consonant เช่น suffix -ism /ɪz.m̩/ ผมออกเสียงว่า /ɪz.əm/ หรือ middle /ˈmɪd.l̩/ ก็เป็น [ˈmɪd.əl]
ถ้าคนเข้าใจธรรมชาติของภาษา จะรู้ว่าตัวอักษรไม่ได้กำหนดเสียงของเราตั้งแต่แรกอยู่แล้วครับ ตัวภาษาจริงๆอยู่ที่ทักษะฟัง-พูด(มีเสียงอยู่ในนั้น) ตัวอักษรเป็นแค่สิ่งทดแทนให้เข้าตรงกันว่าอีกฝ่ายพูดอะไรโดยที่ไม่ใช่การพูด เช่นภาษาไทยคำว่า "สามารถ" ชาวต่างชาติต่อให้ตายยังไงก็อ่านคำนี้ให้ถูกไม่ได้ ถ้าคนๆนั้นพูดภาษาไทยไม่ได้ เพราะฉะนัันตัวอักษรไม่เคยกำหนดเสียง แต่เสียงต่างหากที่สรรหาตัวอักษรที่ใกล้เคียงมากที่สุดมาทำให้เข้าใจตรงกัน
เออะ...วิธีออกเสียงอย่างแรก คือ ออกเสียงแบบขี้เกียจๆ ใช่นั่นแหละ ปล่อยให้มันไหลไปเองมันเหตุผลเดียวกับทำไมคนไทยพูดคำว่า มหาวิทยาลัย เป็น มาหาไล ฟังดูเหมือนจะ มาหาอะไร 555เสียงชวา ผมว่ามันระหว่างสระ เออะ กับ อะ มากกว่า คือ มัน Ə แบบ Ə:5:04 petition รวมถึง tion ก็ได้ io ใน petition ก็ชวาผมเพิ่งได้เข้าเรียน คณะภาษาศาสตร์ ถูกใจคลิปนี้มาก แต่ดันไม่ชอบคณิตศาสตร์
อยากฟังเรื่องคณิตศาสตร์อีกครับ😊
เป็นคลิปที่มีประโยชน์มากๆเลย ขอบคุณมากๆนะครับ
อันนี้จริงเลยครับ ก็ดูคำอ่านตามดิกชันนารี จะมีตัวอีกลับหัวเต็มไปหมดเลย😊😊
ขอเรื่อง complex analysis หน่อยครับ
เคลียร์สุดๆ
มาแล้วคร้าบ
ผมเรียนคลาสโฟเนทีเดียว รู้เรื่องเลยครับ
พี่ครับสอนวิธีสร้างbot arbitrageหน่อยครับ🥺
สรุปคือคำเชื่อมที่ใช้บ่อย ๆ เปลี่ยนเป็น ชวาให้หมด
อืม เข้าใจแล้วครับ
เอาจริงมันมีเป็นสิบๆตัวเลยนะ โรงเรียนผมเขามีสอนออกเสียงเลยมีสอนโคตรปวดหัว แต่ถ้าพูดคล่องๆมันออกเป็นแบบนั้นเองโดยไม่ต้องท่องจำเลย
บางที y ก็เป็นสระอย่าง system
Psycho
@@jalax6268 symbol too
Symbol too
สระบางตัวที่โดนลดทอนเสียงลง เป็นสระ เออ ผมว่าน่าจะคล้ายๆ กับ การตัดทอนตัวเลขในคณิตศาสตร์นะครับ อันนี้ไม่รู้แต่ผมคิดว่าอะนะ😅
nice
British.....😢
ทำไมภาษาไทยถึงแทบไม่เกิดเหตุการณ์ลดเสียงเลยนอกจากจะเป็น ไม้เอกหรือสระเออ
คำในภาษาไทยนั้นมีพยางค์สั้น ยิ่งเป็นคำไทยแท้ยิ่งมีแต่พยางค์เดียว แล้วใช้วรรณยุกต์ในการแยกความแตกต่างของคำ (+คำประสมด้วย) ส่วนภาษาอังกฤษไม่มีวรรณยุกต์ เลยต้องใช้คำยาวๆ มาแยกความแตกต่าง เมื่อพูดยาวขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ เลยต้องกร่อนคำลงเพื่อให้พูดได้ไว
ต้องฟังดีๆครับ ภาษาไทยก็มีลด แต่เราชินส่วนฝรั่งเรียนไทยเขาก็พยายามออกไทยชัดเกินไป เช่นคำว่า ก็ จริงต้องอ่านสั้น แต่บางทีเราก็พูดยาวเป็น ก้อ บางคำเกิดจากกร่อนเสียงมานานจนเป็นเสียงใหม่เช่น มะม่วง มาจาก หมากม่วง เพคะ มาจาก พะยะค่ะ มาจาก พระเจ้าข้าฯ
ไม่น่าเชื่อว่าผมจะได้เข้าใจเรื่อง Schwa แบบละเอียดจากช่องคณิตศาสตร์
ถ้าพูด โฮออออออออ เหยียยยยยหะ ได้ อังกฤษก็ไม่ยาก
ลองพูด อังกฤษ สำเนียง อิสานดูสิ ครับ
🫶🫶🫶🫶🫶🫶🫶
❤
ผมว่า ə มันออกไปทาง สระอา + สระเออ
คิดว่าประมาณนั้นเหมือนกันครับ เอ่อ+อ่า
2:33 ปากเหม็นมั้ยครับ😂
Ə
ภาษาอังกฤษในช่อง MLTF ภาษา + คณิตเน้น ๆ❤❤❤
+1
❤❤❤❤@@riwtheseal8104
è
เทคนิคผมในการจำเสียง schwa คือ "อ่านสระหลัก a e i o u ไปตรงๆ แหละ แต่ให้อ่านเสียงเบา" เพราะพอพูดเบาลิ้นมันจะอยู่แถวๆ เสียง schwa โดยธรรมชาติอยู่แล้ว
จุดสำคัญคือ "เสียงเบา" ครับ ไม่อยากให้จำว่าเป็นสระเออเท่าไหร่ เพราะสระนี้มันมีในพยางค์ unstressed ไม่เน้นเสียง/กร่อนเสียงเสมอในทุกสระ (ถ้าย้อนรากศัพท์กลับไป มันก็อ่านจากสระหลักกันหมด)
ดังนั้นผมจะไปเน้นที่การ stress คำมากกว่า เพราะบ่อยครั้งที่รากศัพท์เดียวกัน แต่พอผันคำ เปลี่ยนพยางค์ stress ทำให้เสียงสระเปลี่ยนบ่อยครั้งเช่น
photo /ˈfoʊtoʊ/
photograph /ˈfoʊtəɡrɑːf/
photography /fəˈtɒɡrəfi/
ผมจะจำทั้งหมดเป็น "โฟโต(กราฟ)(ฟี)" แล้วจำเฉพาะพยางค์ stress ลงเสียงหนักพอ (ที่มี ˈ ข้างหน้า) แล้วกร่อนพยางค์อื่นให้เป็นเสียงเบาๆ ดีกว่า ยังไงก็ได้ schwa มาแน่นอนครับ
ปล. ə โลโก้เพจเราเองแหละ เห็นคลิปนี้อยากกลับมารีเทิร์นช่องยูทูบแล้วเนี่ย 555
จริง ๆ ผมไม่สนด้วยซ้ำว่าตรงไหนเป็นเสียง /ə/ ไหม เพราะผมกร่อนเสียงสระแล้วมันไม่ธรรมชาติ บังคับไปแล้วฟังแย่กว่าเดิมอีก ผมเลยสนแค่ stress แทน ส่วนที่ควรเป็น reduced vowel ผมก็ยังออกเป็นสระเต็มอยู่ดีแค่ไมเน้นเสียงก็พอแล้ว
ผมใช้เสียง [ə] แค่เป็น allophone ของ syllabic consonant เช่น suffix -ism /ɪz.m̩/ ผมออกเสียงว่า /ɪz.əm/ หรือ middle /ˈmɪd.l̩/ ก็เป็น [ˈmɪd.əl]
ถ้าคนเข้าใจธรรมชาติของภาษา จะรู้ว่าตัวอักษรไม่ได้กำหนดเสียงของเราตั้งแต่แรกอยู่แล้วครับ ตัวภาษาจริงๆอยู่ที่ทักษะฟัง-พูด(มีเสียงอยู่ในนั้น) ตัวอักษรเป็นแค่สิ่งทดแทนให้เข้าตรงกันว่าอีกฝ่ายพูดอะไรโดยที่ไม่ใช่การพูด เช่นภาษาไทยคำว่า "สามารถ" ชาวต่างชาติต่อให้ตายยังไงก็อ่านคำนี้ให้ถูกไม่ได้ ถ้าคนๆนั้นพูดภาษาไทยไม่ได้ เพราะฉะนัันตัวอักษรไม่เคยกำหนดเสียง แต่เสียงต่างหากที่สรรหาตัวอักษรที่ใกล้เคียงมากที่สุดมาทำให้เข้าใจตรงกัน
เออะ...
วิธีออกเสียงอย่างแรก คือ ออกเสียงแบบขี้เกียจๆ ใช่นั่นแหละ ปล่อยให้มันไหลไปเอง
มันเหตุผลเดียวกับทำไมคนไทยพูดคำว่า มหาวิทยาลัย เป็น มาหาไล ฟังดูเหมือนจะ มาหาอะไร 555
เสียงชวา ผมว่ามันระหว่างสระ เออะ กับ อะ มากกว่า คือ มัน Ə แบบ Ə:
5:04 petition รวมถึง tion ก็ได้ io ใน petition ก็ชวา
ผมเพิ่งได้เข้าเรียน คณะภาษาศาสตร์ ถูกใจคลิปนี้มาก แต่ดันไม่ชอบคณิตศาสตร์
อยากฟังเรื่องคณิตศาสตร์อีกครับ😊
เป็นคลิปที่มีประโยชน์มากๆเลย ขอบคุณมากๆนะครับ
อันนี้จริงเลยครับ ก็ดูคำอ่านตามดิกชันนารี จะมีตัวอีกลับหัวเต็มไปหมดเลย😊😊
ขอเรื่อง complex analysis หน่อยครับ
เคลียร์สุดๆ
มาแล้วคร้าบ
ผมเรียนคลาสโฟเนทีเดียว รู้เรื่องเลยครับ
พี่ครับสอนวิธีสร้างbot arbitrageหน่อยครับ🥺
สรุปคือคำเชื่อมที่ใช้บ่อย ๆ เปลี่ยนเป็น ชวาให้หมด
อืม เข้าใจแล้วครับ
เอาจริงมันมีเป็นสิบๆตัวเลยนะ โรงเรียนผมเขามีสอนออกเสียงเลยมีสอนโคตรปวดหัว แต่ถ้าพูดคล่องๆมันออกเป็นแบบนั้นเองโดยไม่ต้องท่องจำเลย
บางที y ก็เป็นสระอย่าง system
Psycho
@@jalax6268 symbol too
Symbol too
สระบางตัวที่โดนลดทอนเสียงลง เป็นสระ เออ ผมว่าน่าจะคล้ายๆ กับ การตัดทอนตัวเลขในคณิตศาสตร์
นะครับ อันนี้ไม่รู้แต่ผมคิดว่าอะนะ😅
nice
British.....😢
ทำไมภาษาไทยถึงแทบไม่เกิดเหตุการณ์ลดเสียงเลยนอกจากจะเป็น ไม้เอกหรือสระเออ
คำในภาษาไทยนั้นมีพยางค์สั้น ยิ่งเป็นคำไทยแท้ยิ่งมีแต่พยางค์เดียว แล้วใช้วรรณยุกต์ในการแยกความแตกต่างของคำ (+คำประสมด้วย) ส่วนภาษาอังกฤษไม่มีวรรณยุกต์ เลยต้องใช้คำยาวๆ มาแยกความแตกต่าง เมื่อพูดยาวขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ เลยต้องกร่อนคำลงเพื่อให้พูดได้ไว
ต้องฟังดีๆครับ ภาษาไทยก็มีลด แต่เราชินส่วนฝรั่งเรียนไทยเขาก็พยายามออกไทยชัดเกินไป เช่นคำว่า ก็ จริงต้องอ่านสั้น แต่บางทีเราก็พูดยาวเป็น ก้อ บางคำเกิดจากกร่อนเสียงมานานจนเป็นเสียงใหม่เช่น มะม่วง มาจาก หมากม่วง เพคะ มาจาก พะยะค่ะ มาจาก พระเจ้าข้าฯ
ไม่น่าเชื่อว่าผมจะได้เข้าใจเรื่อง Schwa แบบละเอียดจากช่องคณิตศาสตร์
ถ้าพูด โฮออออออออ เหยียยยยยหะ ได้ อังกฤษก็ไม่ยาก
ลองพูด อังกฤษ สำเนียง อิสานดูสิ ครับ
🫶🫶🫶🫶🫶🫶🫶
❤
ผมว่า ə มันออกไปทาง สระอา + สระเออ
คิดว่าประมาณนั้นเหมือนกันครับ เอ่อ+อ่า
2:33 ปากเหม็นมั้ยครับ😂
Ə
ภาษาอังกฤษในช่อง MLTF ภาษา + คณิตเน้น ๆ❤❤❤
+1
❤❤❤❤@@riwtheseal8104
è