พญาแร้งให้น้ำ ตอน ออกแบบใหม่ ไฉไลกว่าเดิม (แบบรุ่นที่ 2)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 1 มี.ค. 2020
  • อธิบายการออกแบบและการทำงานของระบบ

ความคิดเห็น • 138

  • @Dr.Thinker
    @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว +4

    แบบล่าสุด อัตราความสำเร็จที่90%
    th-cam.com/video/Pxoid3x-3WY/w-d-xo.html

  • @aedrummer255
    @aedrummer255 2 ปีที่แล้ว +5

    เข้าใจคิดดีครับ แต่น่าจะคงยาก อารมณ์แบบ มอเตอร์ปั่นไดวนลูป การฝืนกฏโดยไม่มีแรงกระทำเพิ่ม ...พลังงานต้องมีสูญถึงมีผลแทบจะบาลานซ์ไม่ได้เลย ...ทำได้จริงก็ดีมากๆครับระยะยาว แต่ดูงบแล้ว มอเตอร์กับแผงสะดวก

  • @user-nw3xe2nc6g
    @user-nw3xe2nc6g 3 ปีที่แล้ว +1

    น่าทึ่ง รอชม ขอรับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-iy1gj2hc1g
    @user-iy1gj2hc1g 2 ปีที่แล้ว

    ชื่นชมคลิปนี้มากครับ มองเห็นประสิทธิผล ยังให้กำลังใจ ตรงลูกสูบสปริงนะครับ ถ้าเสียน้ำน้อยและระยะอัดถี่ๆ จะสมบูรณ์มาก ติดตามครับ

  • @user-eo9hc6wp3h
    @user-eo9hc6wp3h 2 ปีที่แล้ว

    ทำไป ทำมา ก็มาตันที่พอน้ำหมดถังมันก็ไม่ไหล แล้วจะแก้ปัญหาโดยเติมน้ำเข้าไปเรื่อย ๆ 5555 ดีแล้วครับที่ลองทำจนเจอคำตอบ น้ำที่เติมเข้าไปนั่นแหละครับเป็นพลังงานขับเคลื่อนระบบ พอน้ำหมดคือพลังงานหมด มันก็ไม่ไหลต่อ จะออกแบบให้ยุ่งยากซับซ้อนยังไงมันก็แค่การปล่อยน้ำในถังที่เติมเข้าไปแค่นั้นแหละ

  • @tonyton8279
    @tonyton8279 2 ปีที่แล้ว +2

    ลองสร้างสัก 2 ชุด ครับ ชุดแรกให้คนออกแบบเติมน้ำที่ถังแรกเองเพื่อเริ่มให้ มันทำงานตามที่ออกแบบ ส่วน ชุดที่สอง ให้จ้างคนงานมาคอยเติมน้ำให้ ทำไปสักพักคนที่จ้างมามันจะไม่เติมถังบนแล้วละ มันจะลัดไปเติมถังสุดท้ายเลยครับ เหนื่อยน้อยกว่า

  • @MrManmust
    @MrManmust 3 ปีที่แล้ว

    ชื่นชมความคิดครับ ... รอชมต้นแบบ ส่วนตัวผมมีไอเดียร์ที่ง่ายกว่าไม่ซับซ้อน และคาดว่าน่าจะใช้ได้จริง แต่ต้องทำต้นแบบเพื่อพิสูจน์ว่าไอเดียร์เป็นไปได้จริงหรือไม่ ...

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ ไอเดียที่ว่าแง้มๆหน่อยได้มั๊ยครับ หลักการทำงานของมัน

  • @Dr.Thinker
    @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +6

    แก้ข้อมูลนิดนึงคับ เกี่ยวกับปั๊มน้ำ น้ำสูญเสีย30 ส่วน จะได้คืน4เท่าโดยประมาณ คือ120ส่วน ตามสูตรการหาพิ้นที่ของวงกลม
    ถ้า+ - การรีเลย์ การสูญเสีย ก้อน่าจะได้3เท่า หรือประมาณ 90ส่วนเป็นอย่างน้อย ถ้าเป็นไปตามนี้ ตะบันน้ำตัวที่2 ก้อสามารถนำแรงดันมาปั๊มน้ำได้
    โดยทำงานสลับกับตัวที่1 ในจังหวะการรอรอบกันและกัน

  • @SathornR
    @SathornR 3 ปีที่แล้ว

    ตะบันนำ้okใช้ได้จริงฯ

  • @snvaran
    @snvaran 4 ปีที่แล้ว

    เข้าท่าครับ​ แนวคิดดี​ เป็นไปได้ครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณคับ ต้องทดลองอีกนานเลยคับกว่าจะทำได้ตามแนวคิด

  • @chaowkk7546
    @chaowkk7546 3 ปีที่แล้ว +1

    พลังงานไฟฟ้าไม่ใช้จริง แต่พลังคนต้องยกน้ำขึ้นถังสูงละครับ พอน้ำถังสูงหมด ก็ใช้ไม่ได้อีกแหละครับ คิดถึงทฤษฎีพลังงานให้มากหน่อยครับ หลักพลังงานคือ พลังงานเข้า เท่ากับพลังงานที่ได้ออกมา ซึ่งพลังงานในที่นี้ ก็ได้แก่ แสงอาทิตย์ น้ำตก น้ำพุร้อน ลม คลืนในทะเล ไฟฟ้า เครื่องยนต์ พลังงานจากกล้าเนื้อของคนและสัตว์ จะทำอะไร ต้องเกี่ยวกับพลังงานทั้งนั้นครับ แค่ว่าเราจะเอาพลังงานเหล่านี้มาใช้อย่างไร อยู่ดีๆ พลังงานมันเพิ่มจะมาเฉยไม่ได้หรอกครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ สำหรับข้อมูลดีๆ

  • @somsak8116
    @somsak8116 9 หลายเดือนก่อน

    เห็นถังที่123ความสูงค่อยๆลดลงเรื่อยไม่เห็นจะต้องใช้ตะบันน้ำเลยน้ำ100%จากถังสูงถังแรก ก็สามารถนำไปใช้ได้เลย ส่วนน้ำที่จะขึ้นมาถังแรกได้อย่างไร เห็นพูดถึงปลั้มตรงอะไรก็ไม่รู้ตรงครึ่งวงกลมได้พลังงานอย่างไร มีตะบันน้ำเกี่ยวข้องที่พูดเวลานี้ถ้าตะบันน้ำมาก่อนยังไงก็ต้องเสียน้ำแล้วที่บอกไม่เสียมันิอย่างไร ตอนนี้งงถ้ามีการเติมน้ำแสเงว่าไม่มีพลังานเริ่มต้น พอใช้พลังงานทร่เติมหมดแปปเดียว หยุด

  • @torhummer3582
    @torhummer3582 3 ปีที่แล้ว +2

    ช่วยๆกันคิด ช่วยๆกันหาทางทำให้ได้ จะเป็นประโยชน์มากๆ ครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @user-xf8fo8ph6v
    @user-xf8fo8ph6v 4 ปีที่แล้ว

    ทำเสร็จแล้วตามโปรเจ็คนี้กระซิบบอกบ้างนะครับ จะมาขอดูต่อนะครับ แต่กดกระดิ่งแล้วครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +1

      ได้ครับ ตอนนี้ ขอเวลาช่วยเซฟหมอก่อนน่ะครับ ติดกันเยอะเหมือนกัน

  • @wesdas7281
    @wesdas7281 2 ปีที่แล้ว

    I need more. Thanks.

  • @nutthakornkongtum8175
    @nutthakornkongtum8175 2 ปีที่แล้ว

    ใช้โปรแกรมอะไร present ครับอาจารย์

  • @user-ex3rm1kk2o
    @user-ex3rm1kk2o 3 ปีที่แล้ว

    ระบบดีครับ แต่น้ำจะสูญเสียออกไป ให้ใช้หัวดูด Ventury พี่ได้ไหม

  • @thaimanmail
    @thaimanmail 4 ปีที่แล้ว +3

    อยากให้ทดลองตัวที่ 1 ตัวแรก ให้ระบบสมบูรณ์ก่อนนะครับ เพราะมีหลายท่านทำและแก้ไขแล้ว แต่ไม่สามารถแก้ไข การรักษาระบบแรงดัน ความสมดุลให้สเถียร น้ำออก เท่ากับน้ำเข้า

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +2

      ตัวอครีลิคใสป่าวคับ ตัวนั้นผมออกแบบใหม่เสร็จแล้ว ตัดลมขาเขาทิ้งไป
      ตอนนี้ประกอบและกำลังทดลองอยู่คับ
      โดยใช้หลักการของ สมดุลกล ด้วยการสร้างแรงไปแกว่งความสมดุลย์ ธรรมชาติมันจะปรับตัวเองเข้าสู่ภาวะความสมดุลย์คับ

  • @user-br7cb8ir6g
    @user-br7cb8ir6g ปีที่แล้ว

    เสียเวลาเปล่าทั้งคนทำและคนดู ตั้งใจดูจนจบ
    ชื่นชมในความพยายามที่ต้องลงทุนทั้งเวลาและเงินในการสร้างสรรค์ผลงานจริง
    นาที 19.17 บอกว่าเมื่อความดันลดลง มันจะลดได้ยังไงในเมื่อน้ำมาจากถังแรงดันคงที่ถูกน้ำอัดเข้าถังมาตลอดจากการทำงานของตะบันน้ำ
    บอกว่าระบบตะบันน้ำต้องสูญเสียน้ำทิ้งไปเป็นจำนวนมาก แล้วก็แก้ปัญหาโดยการรับน้ำทิ้งจากตะบันน้ำตัวแรกมาสร้างแรงดันไปที่ตะบันน้ำตัวที่สอง นั่นแปลว่าเราต้องการความแตกต่างของระดับพื้นที่ในการตั้งตะบันน้ำตัวที่ 1 และ 2 ถ้าพื้นที่มันต่างกันขนาดนั้นทำไมไม่ตั้งตะบันน้ำตัวแรกให้มันอยู่ในระดับต่ำไปเลยเพราะจะได้แรงดันและปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น
    ตะบันน้ำตัวที่สอง เมื่อสร้างแรงดันได้แล้วก็ส่งน้ำกลับไปที่ถังน้ำต้นทางที่จะส่งให้ตัวมัน แล้วจะสร้างแรงดันมาเพื่ออะไร
    สุดท้ายน้ำจากตะบันน้ำตัวที่สองก็ถูกปล่อยทิ้งอยู่ดี

  • @sittichai2010
    @sittichai2010 2 ปีที่แล้ว +1

    ผมว่าคิดกันมาแยอะ หมดกับการลงทุนไปแล้วก้อหลาย เพราะว่ามันใช้ไม่ได้จริง
    ผมว่าเสียเวลาคิอเสียเวลาทำเสียเงินโดยป่าว...!
    ผมว่ามาใช้ solar cell +pump ผมว่าจบเลย ใช้งานได้จิง ตลอดอายุการใช้งาน😊

    • @user-ey2do5vd7b
      @user-ey2do5vd7b 2 ปีที่แล้ว

      คิดเหมือนผมเลยครับ 5555+
      ไม่งั้นก็ทำกังหันลมปั้มน้ำเอาก็ได้มีลมก็ปั้มน้ำมาเก็บไว้ใช้เรื่อยๆ เอาตังทีหมดไปกับการลองทำมาซื้อถังไว้สำรองน้ำจากกังหันลมดีกว่า
      หมดเยอะมาเท่าไหร่แล้วกับกาลักน้ำ 555+

  • @pitakrajamnong6493
    @pitakrajamnong6493 4 ปีที่แล้ว +2

    ลองทำของจริงดูนะครับ​ มีความเป็นไปได้​ รอติดตามครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +2

      กำลังทำอยู่คับ

    • @user-hub5521
      @user-hub5521 4 ปีที่แล้ว

      @@Dr.Thinker ติดตามผลงานครับ

  • @user-wm4bb2ue6b
    @user-wm4bb2ue6b ปีที่แล้ว

    ทำระบบนี้หมดน้ำในถังก็ยุดไหลครับ

  • @cha098
    @cha098 4 ปีที่แล้ว

    ไม่ต้องคิดแยะน้ำคือh2oมีอากาศผสมเมื่อน้ำเข้าถังและตกลงในถังมันก้เกิดฟองอากาศ ดังนั่นผ่านไปสักระยะอากาศเพิ่มมากขึ้นในถังมันเกิดการไม่ดูดน้ำแล้ว เราแต่ต้องหาวิธีกำจัดอากาศที่มากับน้ำหรือต้องทำให้ไม่เกิดฟองในถัง. ทดลองต่อผมว่าสำเร็จ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำ

  • @bhongpatrsanpollabh8850
    @bhongpatrsanpollabh8850 ปีที่แล้ว

    ทำจริงยังครับ

  • @dtacdtac9875
    @dtacdtac9875 2 ปีที่แล้ว

    คนบรรยายยังขาดความมั่นใจเลยฟังพูดไม่มีน้ำหนัก

  • @suthisakkraiwongsa1447
    @suthisakkraiwongsa1447 3 ปีที่แล้ว

    ความคิดดีครับแต่การอธิบายอยากยิ่งฟังยิ่งงง

  • @meowletsplayili4182
    @meowletsplayili4182 ปีที่แล้ว

    ผมว่าเรื่องง่ายๆแค่นี้ ระดับพื้นฐานเลย ถ้าป่านนี้ยังไม่มีคนคิดจะทำ มันก็แปลกๆ
    แต่ที่มันยังไม่มีตัวที่ใช้ได้เลย แปลว่ามันทำไม่ได้ไหม เลยไปคิดปั้มน้ำมาแทน

  • @chai4675
    @chai4675 4 ปีที่แล้ว +1

    แล้วน้ำในตะบันน้ำตัวที่ 1 ที่ส่งไปหาชุดดูดอัด น้ำส่วนนั้นไปไหนครับ ถ้ามันไม่ถูกระบายออกระบบจะหยุดนะครับ ใช่หรือเปล่าครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว

      น้ำตะบันตัวที่1จะถูกปล่อยออกลงแหล่งน้ำคับ
      เพราะไม่อยากให้แรงดันน้ำ มันมากระทบกับการทำงาน
      (แบบอัพเกรด จะป้อนกลับสู่ถังเมนคับ ที่แรงดันส่วนนี้มากกว่าแรงต้านน้ำขาเข้า โดยเใช้เชควาร์วเพิ่มอีก1ตัว)

  • @user-ib8xt7ep2m
    @user-ib8xt7ep2m ปีที่แล้ว

    น่าจะมีตัวอย่างที่ใช้ได้ผลมาให้ดู

  • @user-cl4hc6yd5d
    @user-cl4hc6yd5d 2 ปีที่แล้ว +1

    ตามหลักการ​ที่ว่ามาทำงานได้ครับ​ เเต่สุดท้ายน้ำจะหยุดไหนเพราะน้ำในถังเเรกหมด​ กฎของพลังงาน​คือ​ พลังงานเข้า=ผลลัพธ์​+ค่าสูญเสีย​ เเค่จะทำให้พลังงานเข้ากับออกเท่ากันได้ก็เป็นไปไม่ได้เเล้วครับ​ น้ำจากตบันน้ำตัวที่1เเค่30%(จากที่ในคลิปบอก)​ ไม่สามารถ​ดึงน้ำ100%ขึ้นมาใส่ถังคืนได้เเน่นอน เต็มที่สุดๆก็30%เหมือนเดิมครับ​ สุดท้ายน้ำก็จะหมดไป

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  2 ปีที่แล้ว

      ไช่ครับ เป็นเรื่องยากที่จะให้มันทำงานได้ตลอดจากการเติมพลังงานครั้งเดียว
      ผมกะว่าให้มันทำงานซัก 4-8 ชั่วโมง ต่อการเติมน้ำ1ครั้ง

    • @dtacdtac9875
      @dtacdtac9875 2 ปีที่แล้ว

      ถ้าได้ผลจริงพวกฝรั่ง เขาต้องใช้และมีก่อนเรา เพราะเขาพัฒนามาก่อนเรา สังเกตุใหม่ว่าเครื่องสูบน้ำ มอเตอร์ปั้มน้ำเขายังขายดี อยู่นะแสดงว่ามันไม่ได้ผล

  • @peedtech.9115
    @peedtech.9115 2 ปีที่แล้ว

    ไม่น่าจะได้ถ้าเป็นระบบเปิดจะเอาแรงดูดที่ไหนมาดูดน้ำเข้าถัง ซื้อชุดโซล่าเซล และเอาปั๊มน้ำตัวเล็กๆ มาสูบน้ำเข้าถังพักเรื่อยๆ น่าจะดีกว่า

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  2 ปีที่แล้ว +1

      แก้โจทก์ ปั๊มน้ำพลังงานฟรีไม่ไช้ไฟฟ้า ไม่ไช้น้ำมันครับ

    • @peedtech.9115
      @peedtech.9115 2 ปีที่แล้ว

      @@Dr.Thinker ถ้าใช้โซล่าเซล ก็เหมือนกับใช้พลังงานฟรีครับ พลังงานแสงแดด ผมเคยเห็นเค้าใช้มอเตอร์ปี๊มน้ำฉีดล้างกระจกรถยนต์มาปั๊มน้ำเข้าถัง 200ลิตร น้ำก็เต็มถังได้แต่ใช้เวลานานหน่อย

  • @chaiwisanunone5010
    @chaiwisanunone5010 3 ปีที่แล้ว +1

    อย่าลืมเรื่องแรงดันบรรยากาศด้วยครับ ตัวนี่แหล่ะที่ทำให้อีแร้งตายเป็นฝูง ๆ เหลือแต่กาเท่านั้นที่รอด แต่เท่าที่ดู ไป ดูมา ไปซื้อเครื่องสูบน้ำ รึใช้ระบบพลังกลอย่างอื่น น่าจะโอ เค กว่านะครับ เมื่อเทียบกับความซับซ้อนที่คิดได้ อย่างเช่น คลิปนี้ความซับซ้อนและต้นทุนที่ลงไป

    • @chaiwisanunone5010
      @chaiwisanunone5010 3 ปีที่แล้ว

      จริง ๆ มีเนื้อมากกว่านี้ แต่บางส่วนได้หายไป ไม่เข้าใจเหมือนกัน ครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ส่วนที่หายไปคงต้องพิมมาใหม่ครับ

  • @akaradechritmai586
    @akaradechritmai586 3 ปีที่แล้ว +1

    ทดลองดูครับจะได้รู้ครับ ขออภัยนะครับ แต่ตามภาพแล้วถ้าน้ำในถังหมดมันน่าจะหยุดไหล ผมอ้างอิงจากขนาดท่อเข้ากับท่อออกครับ ดูมันไม่ค่อยบาลานซ์กันครับ และก็ต้องไม่ลืมครับน้ำจะไหลจากที่สูงลงที่ต่ำเสมอมันเป็น กฎธรรมชาติครับ ยังไงก็ทดลองเร็วๆนะครับอยากเห็นเช่นกันครับ

    • @pudkapow7942
      @pudkapow7942 2 ปีที่แล้ว

      th-cam.com/video/J1mTPq7SaW4/w-d-xo.html

    • @pudkapow7942
      @pudkapow7942 2 ปีที่แล้ว

      น้ำไหลจากที่ต่ำขึ้นที่สูงได้ครับ

  • @wksiam9532
    @wksiam9532 2 ปีที่แล้ว

    ใช้โซล่าเซลดีกว่ามั้ยครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  2 ปีที่แล้ว

      โซล่าเซลดีกว่ามั้ย มันอยู่ที่ความพึงพอใจของคนใช้งานครับ
      หากมีเงินซื้อ ไม่มีโจรขโมยและใช้งานตอนกลางวันมันก้อดีกว่าครับ

  • @somsak8116
    @somsak8116 ปีที่แล้ว +1

    ใครรู้เรื่องบ้าง เอาพลังงานมาจากไหน แล้วจะไปเสียกับตบันน้ำอีก80%งง

  • @pirunbenchacharoenkul5754
    @pirunbenchacharoenkul5754 2 ปีที่แล้ว

    ทำจริงหรือยังครับ

  • @penchai1999
    @penchai1999 8 หลายเดือนก่อน

    มันทำงานได้จริงหรือครับ

  • @somsaksaleephon3258
    @somsaksaleephon3258 4 ปีที่แล้ว +2

    มีแนวคิดคล้ายกับผมแต่ที่ผมคิดเปลียนจากป้ำตัวเอาน้ำขึ้นเป็นถังแรงอัดน้ำในถังแรงอัดจะดันน้ำขึ้นไปให้พ้นพื้นดินสักครึ่งหนึ่งของความสูงของถังดูดที่เหลือเป็นหน้าที่ของถังตัวบนช้วยดูดขึ้นแต่ถังตัวบนต้องเป็นถังดูดเหมือนเดิมกฏกาลักน้ำน้ำเข้าต้องสูงกว่าน้ำออกที่คิดน้ำสูงกว่าพื้ดินไปแล้ว

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว

      ขอรายละเอียดเพิ่มเติมคับ ผมรับฟังทุกคำแนะนำ

    • @smartlife7625
      @smartlife7625 3 ปีที่แล้ว +1

      มันทำไมได้ ยังไงมันก็ทำไม่ได้ อากาศมันมีอยู่ ทฤษฎีนี้ใช้ได้กับสูญญากาศเท่านั้นแต่มีแรงดึงดูดอยู่

    • @user-cc4sl9cv6w
      @user-cc4sl9cv6w 3 ปีที่แล้ว

      @@smartlife7625 มันยังจะทำคลิปหลอกคนไม่รู้เพื่อยอดวิว.. เฮ้อ..

  • @user-lq1ou3uf9v
    @user-lq1ou3uf9v 4 ปีที่แล้ว

    มีตัวจริงรึยังครับ อยากเห็น

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว

      ยังครับ ถึง ตอนทำปั๊มน้ำ

  • @user-sh5yo5ip3m
    @user-sh5yo5ip3m 3 ปีที่แล้ว

    แรงดันแรงอัด มาจากไหนอ้ะ จากเครื่องกล? หรือจากแรงดีดสปิง?

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      แรงดันแรงอัดมาจาก ตะบันน้ำ ซึ่งใช้แรงน้ำไหลผ่านเชควาร์ว2ตัว ทำงานสลับกัน ทำให้เกิดแรงอัดของอากาศภายในท่อครับ ซึ่งสามารถส่งน้ำขึ้นที่สูงกว่าต้นน้ำได้

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      คล้ายกับแรงดีดของสปริงมากกว่าเครื่องกลครับ

  • @qurenchannel
    @qurenchannel 3 ปีที่แล้ว

    ilmu yang keren - bisa saya contoh 09812

  • @weerayutphetwichit472
    @weerayutphetwichit472 4 ปีที่แล้ว

    กาลักน้ำ

  • @kjellg6532
    @kjellg6532 ปีที่แล้ว +1

    Unfortunately this will not work. The total system is a siphon, and a siphon can not lift any water. (Please anyone, translate)

  • @wmk8162
    @wmk8162 3 ปีที่แล้ว +1

    ปัญหาคือ ระบบกาลักน้ำ ถ้าปลายทางน้ำออกอยู่สูงกว่าน้ำเข้า น้ำจะไม่ออกครับ th-cam.com/video/kYx3M-A5_bE/w-d-xo.html ผมว่าใช้ระบบตะบันน้ำแล้วดัดแปลงให้ไปตั้งไว้ใต้น้ำยังจะง่ายกว่า ถึงไม่มีกระแสน้ำไหลแต่เราใช้แรงกดจากน้ำด้านบนให้ไหลเข้าแทน ไม่ก็ทำระบบธนาคารน้ำใต้ดิน มีบ่อเติมน้ำลงไปชั้นบาดาล แล้วขุดบ่อบาดาลขึ้นมาทางทิศตะวันออกหรือใต้ของบ่อเติม แรงดันใต้ดินที่มากกว่าจะดันน้ำให้ขึ้นมา บางที่ก็พุ่งอออกมาได้ 1-2 เมตร แล้วการเก็บน้ำไว้ชั้นหินอุ้มน้ำก็เก็บได้มหาศาลมากกว่าสระหรือเขื่อนขนาดยักษ์ ผ่านหน้าฝนสักหน้าก็เห็นผล หรือลองไปดูระบบน้ำสูบน้ำที่ต.วังหามแห เค้าเอาน้ำเข้านาแต่ละแปลงโดยไม่ต้องใช้เครื่องสูบเลย ทำแล้วได้ผลจริงด้วย เค้าทำแปลงนาเป็นโมเดลให้ดูเลย th-cam.com/video/qPTsTXvA6Wk/w-d-xo.html อย่างในคลิปบ่อสูงประมาณเกือบเมตรน้ำไหลออกตลอด ถ้าอยากให้ไหลได้สูงกว่านั้นก็ทำให้แคบลงหรือเป็นท่อขึ้นมา ซึ่งตาน้ำแบบนี้ในหน้าแล้งก็มีน้ำตลอดครับเพราะน้ำใต้ดินไม่ได้ระเหยไปไหน ยิ่งผ่านไปหลายปีน้ำก็สะสมมากขึ้นเรื่อยๆ ปล. บ่อเติมใช้สระกว้างประมาณ 4-5 เมตร แต่ถ้าไม่มีพื้นที่ก็ทำเป็นระบบปิดได้คือใส่ทรายใส่หินแล้วเอาดินปิดปลูกหญ้าทับ หรือถ้างบน้อยก็ทำบ่อแบบทูอินวัน แต่น้ำจะไม่พุ่งออกมาต้องใช้ที่สูบน้ำขึ้นจากบ่ออยู่ แต่ใช้เครื่องปั้มแบบโซล่าเซลล์ก็น่าจะลงทุนไม่แพงนัก ได้ผลชัวร์ไม่ต้องลุ้น ปล.2 หรือถ้ายังอยากทำพญาแร้ง ก่อนอื่นต้องพิสูจน์ให้ได้ว่ากาลักน้ำสามารถให้น้ำปลายทางขึ้นที่สูงได้(ใช้ท่อลม หรือ one way valve หรือระบบสูญญากาศหรือท่อปลายทางใหญ่เพื่อให้ความดันต่ำกว่า...) เพราะถ้าเริ่มต้นถูกอย่างอื่นก็ง่ายละ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆครับ

  • @jennarongii5961
    @jennarongii5961 4 ปีที่แล้ว +1

    ก็ดีครับ อยากเห็นของจริง ว่าใช้ได้จริงไม

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +1

      โรคโควิด19 มันมาขัดจังหวะ เลยสะดุดนิดนึง ปรับตัวได้แล้วกำลังจะไปต่อครับ

  • @citaratwarner6132
    @citaratwarner6132 2 ปีที่แล้ว

    ผมใช้ดูเดนำ้เข้านา ใช้ได้นะครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  2 ปีที่แล้ว

      ถ้ามันทำสำเร็จ ใช้ได้ครับ แต่มันไม่เร็วทันใจเหมือนเครื่องสูบน้ำครับ

  • @ramongarciaguerra5267
    @ramongarciaguerra5267 3 ปีที่แล้ว

    por favor si lo subtitulan a español avisen por favor, o si alguien sabe dónde se puede encontrar explicación en español le agradecería

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      Comprender Consultar en español.

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      Final project th-cam.com/video/Pxoid3x-3WY/w-d-xo.html

  • @user-mr3eo2gj3s
    @user-mr3eo2gj3s 4 ปีที่แล้ว

    ภาพชัดหลัการการดีแต่การพูดเร็วฟังไม่ทันเสียงขาดหายหายบางส่วน

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณที่แนะนำครับ

    • @webudon
      @webudon 3 ปีที่แล้ว

      อธิบายขาด ๆ หาย ๆ พูดเข้าใจยาก

  • @thbfhb5614
    @thbfhb5614 10 หลายเดือนก่อน

    คงจะใช้กับบ่อบาดาลไม่ได้นะครับผมว่า

    • @kimburicc.4428
      @kimburicc.4428 2 หลายเดือนก่อน

      บ่อบาดาลแนวตั้งใข้ไม่ได้

  • @ChalermchaiNamkrachai
    @ChalermchaiNamkrachai 2 ปีที่แล้ว

    มีเด็กทำเฉลย เฉลยด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ด้วยนะครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  2 ปีที่แล้ว

      ครับผม ถ้าเป็นคลิปที่เอาน้ำร้อนน้ำเย็นราดผมดูแล้วครับ

  • @user-gl1ee7yu1r
    @user-gl1ee7yu1r 4 ปีที่แล้ว +1

    จากแนวคิดก็ผิดแล้วครับ น้ำไหลจากสูงลงที่ต่ำ ถ้าทางน้ำออกยังสูงกว่าทางน้ำเข้า จากภาพไม่มีทางเป็นไปได้ครับเพราะแรงดันแค่นี้ไม่สามารถดันน้ำขึ้นสูงได้ครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว

      ไช่ครับ ตะบันน้ำ1ตัวให้แรงดันน้อยมาก ผมเลยกำลังทดลองที่2ตัว และ4ตัวตามลำดับ

    • @patricks.501
      @patricks.501 4 ปีที่แล้ว

      @@Dr.Thinker ถึงตอนนี้ หากได้ผลจริง ป่านนี้ น่าจะนำต้นแบบของจริงมาแสดงยืนยันได้แล้วนะครับ เผลอๆ ได้รางวัลสิ่งประดิษฐ์ยอดเยี่ยมระดับชาติเลยนะเนี่ย

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      @@patricks.501 แบบ90% th-cam.com/video/Pxoid3x-3WY/w-d-xo.html

  • @powerpoint777different4
    @powerpoint777different4 4 ปีที่แล้ว

    ใส่ปั้มน้ำด้วยเหรอ????

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ไม่ไส่น้ำไม่ขึ้นครับ

  • @poorinmonthong6804
    @poorinmonthong6804 3 ปีที่แล้ว +1

    มันผิดกฎของพลังงานหรือเปล่าครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      มันผิดตั้งแต่แรกแล้วครับ แต่ผมอยากรู้ว่ามันพอจะเป็นไปได้ไหม
      ที่จะทำพญาแร้งให้น้ำให้ใช้งานได้จริงๆ โดยการลองถูกลองผิดไปเรื่อยๆ
      อันไหนถูกก้อนำมาใช้ อย่างเช่น การเติมอากาศเพื่อลดน้ำหนักน้ำ อันนั้นถูกครับ

  • @cha098
    @cha098 4 ปีที่แล้ว

    คุนจะทำยังไงให้ถังเป็นสุญญากาศ เพราะน้ำคือh2oมีอากาศผสมอยู่ คุนจะกำจัดอากาศเหล่านี้ใด้ยังไง ถ้าคุนกำจัดมันใด้ สำเร็จแน่นอน นักวิชาการหลายๆท่านยังนึกไม่ถึงเลย

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ไม่ได้คิดจะทำถังเป็นสูญญากาศครับ ต้องการแค่แรงดูดส่วนหนึ่งมาช่วยระบบปั๊ม ดูดน้ำขึ้นถังพัก ในระบบปิด

    • @user-lg1pe1pc8j
      @user-lg1pe1pc8j 3 ปีที่แล้ว

      พอดีผ่านมาเจอกำลังคิดที่จะทำพญาแล้ง เพราะที่สวนไม่มีไฟฟ้าครับ ผมขอร่วมแสดงความคิดเห็นด้วยคนนะครับ
      การกำจัดอากาศที่เกิดขึ้นออกจากถัง
      ถ้าใช้หลักการของปั้มลมจะได้มั้ย (รถที่ใช้เบรคลมร่วมเช่นรถบรรทุกเป็นต้น))
      เมื่อลมในถังเก็บถึงขีดกำหนด (ดูเกย์วัดลมประมาณ 200 ถ้าจำไม่ผิดนะครับ) ถังเก็บลมจะมีวาวเป็นตัวเปิด -ปิดลม โดยใช้แรงดันอากาศในถังนั่นแหละเป็นตัวเปิดวาวให้ลมไหลออก เมื่อลมไหลออกจนแรงดันในถังลมลดลง วาวก็จะปิดเองและเก็บลมไว้จนถึงขีดที่กำหนดแล้ว วาวก็จะเปิดอีกครั้งเพื่อปล่อยลมออกจากถังเก็บ รถวิ่งทั้งวันลมก็ไม่เต็มถังเก็บลม
      หลักการนี้นำมาแปลงใช้ได้หรือไม่ ลองพิจารณาดูนะครับ

    • @cha098
      @cha098 3 ปีที่แล้ว +1

      มันใช้หลักการดูดครับไม่ใด้ใช้หลักการสร้างแรงดัน ดังนั้นถ้ามีลมหรืออากาศในถังเพิ่มมากขึ้นน้ำก้จะหยุด วาวที่ปล่อยในรถมันมีแรงดันเกิน120ปอนวาวมันจะเปิดทิ้ง แต่ถังน้ำเราถ้ามีอากาศเข้าแค่เล็กน้อยมันก้หยุดแล้ว ผมการันตีใด้เลยว่าไม่มีใครทำใด้จริงในระยะยาว ส่วนใหญ่จะดูดใด้แค่ระยะแปบเดียว. เนื่องด้วยน้ำประกอบด้วยh2o ยังไงก้มีอากาศเข้ามาแทนที่สุญญากาศในถังเราอยู่ดี

    • @cha098
      @cha098 3 ปีที่แล้ว

      ทุกคนที่ทำจะบอกว่ามันคือระบบปิด ถูกต้องครับการออกแบบมันคือระบบปิด แต่ลองคิดตามผมและหลักการวิทยาศาส น้ำคือh2o. มีอากาศผสมอยู่ด้วยเมื่อมีการไหลเวียนเข้ามาในถัง อากาศก้จะแยกตัวออกมาจากน้ำส่วนหนึ่งแล้วจะสะสมอยู่ในถังไงละ เหมือนแอแว เข้าใช้หลักการสร้างแรงดันช่วยให้แรงแต่เข้าใช้มอเตอหรือเครื่องเป็นตัวส่ง

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      @@user-lg1pe1pc8j ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำ สำหรับระบบพลังงานฟรี มันจะขาดแคลนซะมากกว่าครับ พลังงานที่จะเอามาใช้ประโยชน์น้อยมาก ส่วนการจะคิดทำพญาแร้งให้น้ำให้รอไปก่อนครับ จนกว่าผมจะทำสำเร็จ แต่ถ้าจะทำจริงๆ ให้ใช้ท่อดูดน้ำขาเข้าเป็นสายยางใส แล้วช่วยวัดระดับน้ำที่พญาแร้งดูดได้ มันขึ้นมากี่เมตรจากระดับน้ำ เพราะผมยังไม่มีข้อมูลในส่วนนั้นเลย ถ้าได้ข้อมูลผมจะทำปั๊มส่งน้ำขึ้นมาในส่วนที่ขาด แล้วให้ถังพญาแร้งรับไม้ต่อ ดูดน้ำขึ้นมาเข้าถังพักน้ำครับ.

  • @user-rn2ps5sf4z
    @user-rn2ps5sf4z 4 ปีที่แล้ว

    แนวคิดดีครับ ถ้ามีตัวจริงแล้วแจ้งกันด้วยนะครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +1

      ได้ครับ

  • @MrPhantecnic
    @MrPhantecnic 2 ปีที่แล้ว

    มันใช้เป็นระบบสูบน้ำไม่ได้ครับ

  • @igorowl4417
    @igorowl4417 3 ปีที่แล้ว

    А как бы Вас перевести на русский??

  • @user-yz9uj7ie4v
    @user-yz9uj7ie4v 4 ปีที่แล้ว

    ผมว่าต้องอัดอากาศเข้าถังด้วยเพื่อการเคลื่อนที่ แล้วแรงเฉื่อยของทางน้ำออกต้องมากกว่า แรงฉุด ทางน้ำเข้า

    • @user-yz9uj7ie4v
      @user-yz9uj7ie4v 4 ปีที่แล้ว

      เคยสังเกตุ เข็มฝังยาต้นทุเรียนไหม มันจะมีสายยางรัดปลายเข็มเพื่ออัดอากาศกับตัวยาใส่ต้นทุเรียน 3-5 วันตัวยาในหลอด จะซึมเข้าต้นทุเรียน ฉนั้นลองมาดัดแปลง ทำอากาศอัดใส่ถังแล้วเพิ่มเช็ควาล์ว​กันอากาศย้อนกลับดู ผมว่าดึงน้ำขึ้นที่สูงได้

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว

      @@user-yz9uj7ie4v แบบตัวนี้ถ้าจะเสริมแรงจะใช้การปิดถังเพื่อเสริมแรงดูดครับ เพราะต้นแบบพญาแร้งมันมีแรงดูดอยู่ส่วนหนึ่ง แต่ไม่ได้นำมาอธิบาย
      ส่วนการเสริมแรงอัด มันจะหายไปอย่างรวดเร็วจากการไหลของน้ำขาออก จะใช้ได้เฉพาะช่วงเริ่มต้นระบบ
      การทดลองของผมไปถึง การอัดน้ำเพื่อให้ระบบปั๊มทำงานแล้วครับ

  • @smartlife7625
    @smartlife7625 4 ปีที่แล้ว

    คุณ ลองนึกภาพเข็มฉีดยานะ แล้วลองอุดปลาย แล้วดึงดู คุณใช้แรงเท่าไหร่ในการดึงสูญญากาศ(ความดันอากาศภายนอกดันตลอดเวลา) แล้วคุณลองนึกเข็มฉีดยาเท่ากับถังนั้นนะ คุณต้องใช้แรงกี่ตันในการดึง คุณเอาความดันบรรยากาศไปชั่งน้ำหนักก่อนนะ จะได้คิดได้

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำ

  • @wmk8162
    @wmk8162 3 ปีที่แล้ว

    ไปเจอคลิปมา th-cam.com/video/H09i2iZCRxs/w-d-xo.html ถ้าปรับเป็นแบบนี้ก็ได้ครับ ทำคล้ายไปกัน แต่ใช้มวลน้ำเป็นตัวกดให้น้ำไหลออกไปลายท่อ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  3 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ
      จากคลิปนี้ พอน้ำหมดถัง มันก้อหยุดไหลครับ ใช้งานจริงไม่ได้

  • @user-xd6cm5ui4p
    @user-xd6cm5ui4p 9 หลายเดือนก่อน

    ทำให้ได้จริงก่อนครับ

  • @sirichantasorn4976
    @sirichantasorn4976 2 ปีที่แล้ว

    โทษที ไม่เข้าใจเลยครับ อยากไปดูถึงที่

  • @marrutjija3921
    @marrutjija3921 4 ปีที่แล้ว +1

    อ้าว ไม่ได้สร้างจริงนิหว่า

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +1

      ทำแล้วคับตะบันน้ำตัวที่1 ที่ทำก่อนเพราะว่าต้องหาสัดส่วนการสูญเสีย
      กับแรงดันที่ตะบันน้ำ1ทำได้ ส่วนชุดปั๊ม อุปกรณ์ซื้อมาแล้วคับ รอประกอบ
      th-cam.com/video/R7h7IGF8G4E/w-d-xo.html

  • @SathornR
    @SathornR 3 ปีที่แล้ว

    ทำไมทำกันจัง มันเป็นจริงไม่ได้

  • @somsaksaleephon3258
    @somsaksaleephon3258 4 ปีที่แล้ว

    เรื่องขอลายละเอียดของถังแรงดันน้ำมันเป็นแค่เพียงแนวคิดยังไม่ได้ทดลองทำความคิดก็คือจะใช้ท่อสี่นี้วยาวสักหนึ่งเมตรปิดหัวท้ายด้านหนึ่งเจาะรูหกหุนหนึ่งรูหนึ่งนิ้วหนึ่งรูให้หนึ่งนิ้วเป็นน้ำเข้าหกหุนเป็นน้ำออกหกหุนยาวถึงก้นหนึ่งนิ้วยาวแค่ครึ่งของสี่นิ้วแล้วใส่ข้องอทำเป็นตัวยูกันลมออกที่ปลายอาจใส่เป็นวาล์วกันย้อนยังคิดอยู่ว่าจะใส่แบบไหนดีแล้วเอาทั้หมดไปกดลงไนบ่อหกหุนก้อตอไปเข้าถังเพื่อให้ถังช้วยดูดถ้ามันไม่ขึ้นก็เอาตะบันน้ำตัวที่หนึงของคุณช้วยอัดลงไปให้เกิดแรงอัดในท่อถังผมเคยลองทำด้วยถังสองร้อยลิตรใช้น้ำประปาเปิดค่อยฯน้ำขึันสูงได้ถึงสี่เมตรไม่รู้ความใหญ่ของถังมีผลหรือปล่าวเท่ากับสองแรงช้วยกันมีทั้งดูดและดันขอคำวิจารณ์ด้วยครับ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  4 ปีที่แล้ว +1

      อ่อ พอเข้าใจแล้วคับ จะให้อากาศในท่อใต้น้ำ ช่วยดันน้ำขึ้นมา แล้วเสริมด้วยแรงดูดของพญาแร้งอีกที แบบ 2แรงช่วยกันทำงาน
      แนวคิดดีคับ ทดลองทำดู ใช้ขวดน้ำตู้เย็นกับก้านลูกโป่งก่อนทดลองจริง เติมน้ำลงไปในขวดให้ท่วมปิดทางออกไว้ แล้วกดลงในอ่างน้ำ
      จากนั้นก้อสังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้น
      ตามหลักแล้ว ถ้าเราขังอากาศตามแนวคิด แล้วกดลงน้ำ อากาศจะพยายามหาทางออกขึ้นมา แต่ทางออกมันโดนน้ำที่ไหลเข้าท่วมจากแรงดันเพื่อปรับสมดุลย์ ขวางไว้ มันก้อคงจะดันน้ำแทนตามแนวคิดเลยคับ ส่วนข้องอขาเข้าคงไม่จำเป็นคับ เพราะอากาศไม่ดันลงอยู่แล้ว
      (ถ้าเข้าใจผิดก้อขออภัยด้วยคับ อ่านอยู่ตั้งนาน ท่านพี่ก้อเว้นวรรคให้ผมหน่อย 55)

  • @arthinanboonsod9847
    @arthinanboonsod9847 2 ปีที่แล้ว

    ถังตัวแรกไม่สามารถดูดน้ำขึ้นมาได้มันก็ไม่มีประโยชน์อะไรครับกับขั้นตอนตัวอื่นๆ

    • @Dr.Thinker
      @Dr.Thinker  2 ปีที่แล้ว

      ไช่ครับ