Highlight : "ธนาคารกลางจีน" จะทำ QE จริงหรือไม่ เพราะอะไร ?

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 14 เม.ย. 2024
  • รายการ “เจาะตลาดแดนมังกร”
    วิทยากร : รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
    ผู้ดำเนินรายการ : สมยศ แช่มช้อย #จีน

ความคิดเห็น • 7

  • @David_Hui
    @David_Hui หลายเดือนก่อน

    ตามที่เข้าใจตามที่อ.สมภพบอก...นั่นคือกลไกการซื้อขายพันธบัตรของภาครัฐบาลท้องถิ่นกับแบงค์ชาติจีน คล้ายกับการทำQE แต่วัตถุประสงค์ต่างกับการทำQE โดยสิ้นเขิงใช่ไหมครับ?

  • @user-jc1hi9kg5d
    @user-jc1hi9kg5d หลายเดือนก่อน

    แล้วของไทยเรามีเท่าไร

  • @suratpongpipatpanich5627
    @suratpongpipatpanich5627 หลายเดือนก่อน +1

    1) ความร่วมมือทางนโยบายการเงินและการคลัง ? คืออะไรครับ? ควรพูดให้ชัดเจนไปเลยดีกว่า ว่าแจเนทไปเมืองจีนเที่ยวนี้หนึ่งในหลายๆเรื่องคือ การขอให้จีนซื้อพันธบัตรออกใหม่ของอเมริกา (จำนวนมากเพราะจำเป็นต้องสร้างหนี้ 1 ล้านล้านเหรียญในแต่ละ 100 วัน) กับขอให้จีนชะลอการขายหนี้สหรัฐที่จีนถืออยู่เกือบ 8 แสนล้านเหรียญ แต่จากปฏิกริยาที่แสดงออกของยายแก่คนนี้หลังจากกลับจากจีนแสดงให้เห็นว่าจีนยังคงไม่ให้ความร่วมมือในทั้งสองเรื่องนี้
    2) อาจารย์พูดคำว่า Macroeconomic rebalancing การสร้างสมดุลทางเศรษฐกิจมหภาค คืออะไรครับ? ฟังแล้วไม่มีความชัดเจน ถ้าหากต้องมี Rebalancing มันจะต้องมีความไม่สมดุลใช่หรือไม่ครับ (Imbalance) แล้วอะไรคือการขาดสมดุลระหว่างจีนกับสหรัฐถึงกับต้องมีการสร้างสมดุลใหม่ ตรงนี้อาจารย์ไม่ได้พูดถึงเลย แล้วผมเองก็ยังมองไม่ออกว่าอะไรคือความไม่สมดุลระหว่างจีนกับอเมริกา นอกเหนือไปจากความไม่สมดุลในแต่ละประเทศของตน
    3) OMO หรือ Open market operation คือหนึ่งในเครื่องมือ(นอกจาก Required reserve ratio, (re)discount rate, etc.)ของธนาคารกลางในแต่ละประเทศที่ใช้ในการควบคุมปริมาณเงินที่หมุนเวียนอยู่ในระบบเศรษฐกิจ โดย Fed จะซื้อ (Repurchase) เมื่อต้องการให้ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น และในทางกลับกันจะขาย (Resale) หากต้องการให้ลดลง
    ที่ผ่านมาทุกๆประเทศที่มีดุลการค้าเกินดุลในรูปของเงินดอลล่าร์ไปลงทุนซื้อหนี้หรือพันธบัตรของรัฐบาลอเมริกัน ส่วนจะซือหรือขายเมื่อตอนที่ the Fed ทำ OMO หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของธนาคารกลางในแต่ละประเทศที่ถือพันธบัตร ตามที่อาจารย์พูดมานี้เท่ากับว่าธนาคารกลางของทุกประเทศไปทำ OMO กับ Fed ซึ่งเป็นธนาคารกลางของสหรัฐ (เรียกให้แตกต่างไปจากประเทศอื่นๆเช่นเดียวกับความเป็นเอกลักษณ์ที่เป็นธนาคารกลางแห่งเดียวที่เอกชนเป็นเจ้าของ) This is a bit of misunderstanding and misinterpretation by Dr. Sompop.
    การไปกล่าวหาจีนในเรื่อง Over-capacity and production ใน 3 อุตสาหกรรมคือ โซลาร์เซลล์ รถอีวีและแบตเตอรี่รถยนต์ เป็นเรื่องที่ยายเฒ่าแจเนทต้องการเล่นงานจีนอย่างเปิดเผย โดยอ้างว่ามีผลกระทบต่อประเทศอื่นๆด้วย(เข้าทำนองหาพวกพ้อง แต่ไม่เห็นมีประเทศไหนจะร่วมมือด้วย แม้แต่เยอรมันยังนำเข้ารถยนต์อีวีของบีวายดี) เดินทางไปจีนทั้งสองครั้งล้มเหลวไม่เป็นท่าทั้งสองครั้ง กลับบ้านมือเปล่า โถยายเฒ่า เหนื่อยเปล่า ประเทศคุณมันล้มละลายไปแล้ว
    ส่วนเรื่อง Bond market น่าจะเกี่ยวข้องกับปัญหาอสังหาริมทรัพย์ที่ส่งผลกระทบไปถึงแหล่งรายได้ของรัฐบาลส่วนท้องถิ่นทั้งหลายในประเทศ ที่จำเป็นต้องออกพันธบัตรมาระดมเงินจากประชาชนทั่วไปเพื่อใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นของตน แม้ว่าจะมีการเปิดเสรีทางการเงินอย่างที่อาจารย์พูด แต่ก็ยังไม่หนีห่างออกไปจากหลักการสำคัญที่รัฐบาลจีนยึดถือมาโดยตลอดในการควบคุมปริวรรตเงินตราและการไหลของเงินทุน ทั้งนี้เพื่อไม่ให้มีความผันผวนมากในภาคการเงินจนไปส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจที่แท้จริงหรือภาคการผลิต สรุปคือปล่อยเสรีเพียงในบางส่วนและยังมีความระมัดระวังเช่นเดิม

  • @user-jc1hi9kg5d
    @user-jc1hi9kg5d หลายเดือนก่อน

    พูดเสียงก้องทำให้ฟังไม่ชัดเจน

  • @ER-sv1np
    @ER-sv1np หลายเดือนก่อน

    ชอบอะไรก็ขายอันนั้น
    เข้าใจแล้ว
    สร้างเพื่อตัวเอง ดู