ดินแดนมหัศจรรย์ของแสง, แสงคือคลื่นหรืออนุภาค, ทฤษีควอนตัมคืออะไร

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 31 พ.ค. 2024
  • หากชอบแนวทางดำเนินงานของช่อง สามารถสนับสนุน หรือโดเนทได้ที่
    1) สมัครเป็นสมาชิกช่อง
    / @sciways
    2) True Wallet (ทรูวอเลท), PromptPay (พร้อมเพย์) หรือ LINE PAY (ไลน์เพย์)
    tipme.in.th/sciwayslife
    3) รับโดเนทผ่าน PayPal (เพย์แพล)
    streamlabs.com/sciways1/tip
    ___________________________________
    [[ติดตามข้อมูลอื่นๆ เพิ่มเติมได้จาก]
    เพจเฟสบุ๊ค: / science21s
    เว็บไซต์: www.sciways.co/
    Blogger: sciways.blogspot.com/
    Blockdit: www.blockdit.com/sciways
    Medium: / sciways
    ยูทูป: / sciways
    ___________________________________
    [สารบัญวิดีโอ]
    00:00 ท้าทายต่อกฎฟิสิกส์ดั้งเดิม
    02:01 ทฤษฎีควอนตัมคืออะไร?
    04:05 ต้นกำเนิดของทฤษฎีควอนตัม
    09:37 คลื่นหรืออนุภาค
    14:33 การทดลองร่องผ่านคู่
    19:25 ทั้งหมดนี้หมายถึงอะไร?
    23:24 หัวใจของหลักปรัชญาของบอร์
    ___________________________________
    [ดนตรีประกอบ]
    All I've Ever Felt All At Once โดย Late Night Feeler
    [แหล่งข้อมูล]
    The Ghost in the Atom: ผีในอะตอม
    #ผีในอะตอม #ควอนตัม #แสง
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 109

  • @dearbanyai
    @dearbanyai 11 หลายเดือนก่อน +4

    โลกระดับเล็กเวลาจะไว(ไวเกินจะวัดมัน) โลกระดับใหญ่เวลาจะช้า 😮

  • @dukeduke2450
    @dukeduke2450 3 ปีที่แล้ว +9

    ตอนท้ายคลิบระบุได้ถูกต้อง ว่าการวัดค่าต่างๆ ของเรา ณ ปัจจุบัน ยังหยาบมาก เมื่อเทียบกับค่าจริงๆ ตามธรรมชาติ ยกตัวอย่างง่ายๆ คือ แรงดันเลือดที่หัวใจบีบแต่ละครั้ง ที่เราวัด มันคือ ค่าแรงดันเฉลี่ย ใน 1 ช่วงเวลาของการวัด แต่เราไม่ได้วัดว่า การบีบของหัวใจในแต่ละครั้ง ของ 70 ครั้งต่อนาที มีค่าเท่าไหร่บ้าง ทั้งนี้เนื่องจากเทคโนโลยีเซนเซอของเรายังไม่ก้าวหน้าพอ ที่จะวัดได้ละเอียดขนาดนั้น
    ปัจจุบัน เราพึ่งจะมี sensor ที่ไว และเก่ง พอที่จะวัดค่า และเกบข้อมูลได้มากๆ จากที่เกบข้อมูลได้ชั่วโมงละครั้งก็เปน ทุกนาที ทุกวินาที หรือ ทุก มิลิวินาที และเราก็มี CPU ที่แรงพอที่จะคำนวนผลการวัดทั้งหมดนั้นได้
    สิ่งเหล่านี้ จะทำให้เราเข้าใจตัวแปรเล็กๆ และความไม่แน่นอนต่างๆ ที่คนสมัยก่อน ตัดทิ้ง หรือไม่สนใจ ได้มาก
    การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลกเปนตัวอย่างมี่ดี ของแนวคิดดังที่ผมกล่าวมา

    • @sammartoligraden6505
      @sammartoligraden6505 2 ปีที่แล้ว +1

      เข้าใกล้​ อนุภาคของ​ ควานตั้ม​ 😁

  • @poonsukkamkaew7677
    @poonsukkamkaew7677 3 ปีที่แล้ว +47

    บึ้ม...คือเสียงในหัวผมที่พยายามทำความเข้าใจ..หลักการควอนตัม

    • @apinanaubolsak
      @apinanaubolsak ปีที่แล้ว

      ง่ายคือ มิติ จักรวาลควอนตัม คือมันมีอยู่ แต่มันเล็กจนขนาดแสงอนุภาคแสง โฟรตรอนยังไม่เห็นมัน คือ วิ่งผ่าน การเห็น รับรู้ แสงสิ่งนั้นต้อง ต้องวิ่งชน พอแสงไม่เห็นมัน สรรพสิงในจักรวาลก็คือตัวตนของจักรวาล ดังนั้นจักรวาลก็ ไม่รู้ว่ามีอยู่ คือนอกเขตของจักรวาล อย่างในหนังเอนเกมที่ เอาหลักควอนตั่มมาทำหนัง ทำไมธานอตดีดนิ้ว แล้ว แอนแมน จำชื่อไม่ได้ ทำไมไม่รับผลไร เพราะ เขาหลุดไปมิติควอนตัม ไง นอกเหนือ เวลา จกรวาล

  • @user-ry4zg2jd3k
    @user-ry4zg2jd3k 2 ปีที่แล้ว +11

    เมื่อศึกษาอภิธรรมในพระพุทธศาสนาแล้วมาศึกษาเรื่องควอนตัมรู้สึกว่าเริ่มมองเห็นเชื่อมโยงของวิทยาศาสตร์กับธรรมะ ได้บางๆ

    • @user-dq8st8gy3m
      @user-dq8st8gy3m 11 หลายเดือนก่อน

      อภิธรรมบทไหนครับอยากศึกษาบ้าง

    • @babaza9252
      @babaza9252 9 หลายเดือนก่อน

      ไม่มีหรอกครับ คุณพยายามด่อยค่าศาสนาด้วยการเชื่อมโยงหรืออยากเทคเครดิตผลงานวิทยาศาสตร์ หรือเปล่า ศาสตร์ทุกศาสตร์ยอมมีคุณค่าความงามของมันครับ อย่าเอาศาสนามารวมกับศาสตร์อื่นเลย ศาสตร์ความเชื่อกับศาสตร์การหาความจริงด้วยการทดลอง มันคนละทางกันครับ

  • @user-ft8ir7yf2u
    @user-ft8ir7yf2u ปีที่แล้ว +1

    สิ่งที่แน่นอนก็คือความไม่แน่นอน พระพุทธเจ้าท่านสอนไว้กว่า 2500 ปีแล้ว และเป็นความจริงตามนั้น

  • @aekkapapwongsud4372
    @aekkapapwongsud4372 3 ปีที่แล้ว +7

    เข้าใจยากน่ะเเต่การทดลองเเบบต่างๆมีในหนังสือเรียนเคมี ม. 4

  • @thassaneetheesuma9074
    @thassaneetheesuma9074 10 หลายเดือนก่อน +2

    ติดตามดูทุกคลิบเลยค่ะ ขอบคุณที่ทำคลิบออกมาให้ดูนะคะ

  • @baw.
    @baw. 9 หลายเดือนก่อน

    ผมเรียนปรับธาตุทั้ง 4 ดินน้ำลมไฟ อากาศฯลฯ

  • @user-rf6yo8td5h
    @user-rf6yo8td5h 2 หลายเดือนก่อน

    มนุษย์มีพลังงานแสง
    หากฝึกสมาธิ..สามารถ
    ถอดกายทิพย์..ส่วนนี้
    อาจเป็นพลังแห่งแสง

  • @user-br9kf3rc4j
    @user-br9kf3rc4j 2 ปีที่แล้ว +4

    พี่ผมชอบ.แนว.คำพูด.เนื้อหาที่พี่ศึกษามา.ไม่มาก.ก็น้อย.แต่.้เข้า.ใจ.แบบ.เข้าลึก.ไป.บนจักวาล.ที่.ไม่มีที่(สิ้นสุดครับ)..ขอบคุณครับ.และสุดท้ายแล้ว
    ..กาลเวลา..ก็..จะทำไห้ทุกสิ่ง ทุกอย่าง.ที่.ได้.ก่อเกิน.แน่งโน่มท่วง.สะสาร .ที่ร่วมตัวกัน.เป็นหมุ่ดาว.มีแสง.จะแตกสะลาย.ไปใน.ที่สุด.ของมัน

  • @deezywoo8634
    @deezywoo8634 2 ปีที่แล้ว +1

    ไม่มี ก็คือ มี. แล้วเข้าใจก็คือ คำตอบนั้นละ.

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 27 วันที่ผ่านมา

    ผมก็อึ้งมากๆ
    ถ้าเรากระชากจักรวาล เราก็จะได้ควอนตัมของ C²

  • @user-xf4zd2ki5s
    @user-xf4zd2ki5s 2 ปีที่แล้ว

    รอยเท้านก...ในอากาศ
    ย่อมไม่ปรากฏ ฉันใด.
    จะหาความแน่นอน...ในสรรพะสัตวาสาสิ่ง มิได้ ฉันนั้น.

  • @user-mq3lo9ch4q
    @user-mq3lo9ch4q 2 ปีที่แล้ว

    ดาวอังคารคับสวยดี จากมนต์ชัย จันทโชติ

  • @Geewonbin555
    @Geewonbin555 3 ปีที่แล้ว +2

    บทความที่ดีและทรงคุณค่ามากๆครับ

  • @bekoruk7595
    @bekoruk7595 2 ปีที่แล้ว +1

    ชอบคับได้ความรู้ ฟังเวลานอน หลับสะบาย

  • @ponlawutkumrun1430
    @ponlawutkumrun1430 ปีที่แล้ว

    ไอสไตน์...ไม่ได้ตั้งใจค้านหรอก..แต่เพียงจะบอกว่า...เราอย่าพึ่งตัดสินใจอะไรลงไปถ้ายังไม่มีทฤษฎีที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง..เด่วเราจะหลงทางผิดไปอีกหรายสิบปี..

  • @tuesly
    @tuesly 3 ปีที่แล้ว +4

    ชอบบทนี้มากๆครับ

  • @thailandkawan9198
    @thailandkawan9198 2 ปีที่แล้ว

    มันเป็นการทดลองหยาบๆ สามารถปล่อยออกมาตัวเดียวเหมือนลูกปืนได้ไหม

  • @user-el7ys6tx1h
    @user-el7ys6tx1h 3 ปีที่แล้ว +1

    เป็นเพียงสมมุติฐาน

  • @uncledenh4029
    @uncledenh4029 3 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับ ชัดเจนมาก

  • @Adnanz2499
    @Adnanz2499 ปีที่แล้ว

    เข้าใจได้ยากอยู่..ในเรื่องนี้

  • @mercyocean1554
    @mercyocean1554 3 ปีที่แล้ว +1

    คนที่ยึดมั่นแต่ในสิ่งที่เห็นได้หรือวัดได้มักจะทำความเข้าใจในเรื่องควอนตัมได้ยาก เพราะควอนตัมมันขัดกับหลักสามัญสำนึกและฟิสิกส์ที่คนทั่วไปคุ้นชิน

  • @Helio-Sphere
    @Helio-Sphere 3 หลายเดือนก่อน

    Thanks!

  • @buabarns.v.n.s8232
    @buabarns.v.n.s8232 3 ปีที่แล้ว +4

    F.Cຈາກສ.ປ.ປ.ລາວມັກອ້າຍຫຼາຍເດີ້

  • @user-up3st8yb4j
    @user-up3st8yb4j 3 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับบบบบ

  • @user-jq6kq8bf5x
    @user-jq6kq8bf5x 2 ปีที่แล้ว

    เป็น​เช่นนั้น มันถูกกำหนดไว้แล้ว

  • @manuswong3119
    @manuswong3119 ปีที่แล้ว +2

    ้เป็นทั้งสองอย่างอยู่ที่ผู้สังเกตุ

  • @supeecharsapruang2396
    @supeecharsapruang2396 3 ปีที่แล้ว +3

    ดูเหมือนไม่มีรูปแบบ แต่มีรูปแบบ
    ดูเหมือนมีรูปแบบ แต่ไม่มีรูปแบบ.

  • @wahoobear6588
    @wahoobear6588 3 ปีที่แล้ว +1

    ดีๆๆ คลิปวิทย์ไทย

  • @swisstime88
    @swisstime88 3 ปีที่แล้ว

    ดีมากครับ ติดตาม​ผลงาน

  • @evilboyxiii2667
    @evilboyxiii2667 3 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณสำหรับความรู้ ครับ คุณป้าง

  • @bankkitz1341
    @bankkitz1341 3 ปีที่แล้ว +1

    แอดครับ มีช่องทางพอดเคสไหมครับ พอดีอยากแล้วทำงานไปด้วยอ่ะครับ

  • @curiosity-channel
    @curiosity-channel 3 ปีที่แล้ว +6

    หัวผมล้านเพราะผมพยายามทำความเข้าใจควอนตัม.....
    ทุกวันนี้ผมจะหมดหัวแล้วก็ยังไม่เข้าใจ

    • @atwsps
      @atwsps 3 ปีที่แล้ว

      ติดตามทั้ง 2 ช่องเลยครับ ทำคลิปเกี่ยวกับฟิสิกส์ควอนตัมออกมาบ่อยๆนะครับ

    • @panyachon2503
      @panyachon2503 2 ปีที่แล้ว

      5555

    • @user-zd2dv8tp2t
      @user-zd2dv8tp2t 2 ปีที่แล้ว

      5555

  • @tatoon3152
    @tatoon3152 3 ปีที่แล้ว +4

    ทำอีกพี่ผมชอบมากๆครับ

  • @user-sb5iq8gu6h
    @user-sb5iq8gu6h 2 ปีที่แล้ว

    อยากรู้ จริง แสงมีอะไร อยุ่ในนั้น

  • @boredmo5356
    @boredmo5356 2 ปีที่แล้ว

    Okดีเลย

  • @JerryAss
    @JerryAss 3 ปีที่แล้ว

    Nice

  • @masterhifi3939
    @masterhifi3939 3 ปีที่แล้ว +4

    เมื่อสสารเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเกือบเท่าแสง เมื่อนั้น classical physics จะไม่สามารถอธิบายปรากฎการณ์ได้อีกต่อไป

    • @sammartoligraden6505
      @sammartoligraden6505 2 ปีที่แล้ว

      Jumper มีจริงๆใช่ไหม​😁

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin 2 ปีที่แล้ว

      classical physics ที่มีเปอร์เซ็นความถูกต้องแค่ 5% ของความจริงทั้งหมดในเอกภพจะไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ได้ แต่โฉมหน้าของ classical physics ที่มีเปอร์เซ็นความถูกต้องสูงกว่า 5 % จะปรากฏขึ้นมาแทนที่ความรู้ในแบบเก่าๆที่สั้นเท่าหางอึ่ง

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin 2 ปีที่แล้ว

      เช่นมนุษย์อาจมี classical physics ที่ปรับฐานความรู้เพิ่มเติมขึ้นมาจากทฤษฎีใหม่ๆที่ค้นพบเพิ่มจากการเดินทางได้ไวเท่าแสง และสามารถปรับเข้ามาเป็นความรู้ในกระบวนการทาง physics ได้

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin 2 ปีที่แล้ว

      แต่ที่แน่ๆก็คือมนุษย์เราเวลานี้กำลังอยู่บนการเคลื่อนตัวของวัตถุที่อยู่บนกาลอวกาศที่มีกำลังของการเคลื่อนที่จากการขยายตัวและเคลื่อนตัวไปด้วยค่าความเร็วมากกว่าแสงอยู่ แต่เราไม่รู้ว่าค่าความเร็วที่ว่านี้มีผลต่อความเป็นมนุษย์และดวงดาวของเราอย่างไรเท่านั้น และเรากำลังต้องการแสวงหาคำตอบของวัตถุที่ค่าความเร็วนั้นๆซ้อนขึ้นมาอีกจากที่มันเป็นคำตอบของมันอยู่แล้ว เพื่ออะไร ?

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin 2 ปีที่แล้ว

      ถ้าบอกว่าเพื่อความอยู่รอดยิ่งๆขึ้นไปจากความสามารถพิเศษของเราที่เราค้นพบ นั่นก็ผิดแล้ว เพราะเรายังไม่สามารถค้นพบการอยู่อย่างสงบสุขในโลกใบนี้ ที่ทั้งเราและธรรมชาติของโลกต่างมีวิวัฒนาการณ์ร่วมกันมาอย่างยาวนานจนสามารถสร้างความสมดุลให้แก่กันและกันกลายเป็นสภาพนิเวศที่เหมาะสมกับความเป็นมนุษย์ของเราได้ แต่ปัจจุบันความรู้ของเรายิ่งรู้กลับกลายเป็นยิ่งทำลายล้างต่อสภาพนิเวศอย่างไม่ใยดี มันเป็นความรู้เพื่อความอยู่รอดที่เรามีร่วมกับธรรมชาติ หรือเราจะมุ่งสู่ความรู้เพื่อแหกกฏของธรรมชาติเพื่อการทำลายสิ่งที่ธรรมชาติมันจัดสรรมาให้ทุกสิ่งอยู่ร่วมกับเราโดยสันติ

  • @aukitsuriya2099
    @aukitsuriya2099 3 ปีที่แล้ว

    โอมูอามูอา คือเครื่องชี้เป้า มันต้องมีต้นทางกับปรายทาง ส่งมั่วไม่ได้ ตีกลับ

  • @taydiy555
    @taydiy555 3 ปีที่แล้ว

    ผมเข้าใจพอสังเขบว่าสิงนี้ล่ะคือมรดกความรู้ที่คนรุ่นใหม่นำมาสานต่อแบบก้าวกระโดดทางเทคโนโลยี่คอมพิวเตอร์,อุปกรน์อิเลคทรอนิคทุกอย่างล้วนมาจากทฤษฎีควอนตั้ม

  • @user-uq7hr5en7b
    @user-uq7hr5en7b ปีที่แล้ว

    โฟตอน เกิดได้จากหลายระดับพลังงาน หมายความว่าโฟตอนมีหลายชนิดใช่ไม๊ครับ?

  • @user-em5ii3on1n
    @user-em5ii3on1n 2 ปีที่แล้ว

    เราไม่เข้าใจเพาระเราไม่รู้จักที่มาที่ไปของมันครับหลักพื้นฐานของมันบอกเลยครับหนาเป็นปึก

  • @user-cl6nv7eq2n
    @user-cl6nv7eq2n 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ

  • @KennyJeab
    @KennyJeab 3 ปีที่แล้ว +2

    เรียนวิทย์คณิต จบฟิสิกส์ จบ ว ไฟฟ้า จบ ไอที ปัจจุบันก็ยังไม่เข้าใจ ควอนตัม....แต่ confirm ได้ว่า comment คลิปนี้ ก็ สายวิทย์ 100%

  • @Jessicx1
    @Jessicx1 3 ปีที่แล้ว +10

    ว่าแต่พี่ป่างครับ ผมพลาดไลฟ์มามาก ผมเลยตกข่าว ผมแค่อยากรู้ว่าหนังสือที่พี่ป่างกำลังทำอยู่ จำชือไม่ได้ ใช่ alien life ไหมครับ ความคืบหน้ากี่เปอร์เซ็นต์แล้วครับ ผมอยากอุดหนุนพี่ครับ

    • @SCIWAYS
      @SCIWAYS  3 ปีที่แล้ว +3

      ความคืบหน้า​ประมาณ​1ใน3ครับ​ ค้างไว้นานละยังไม่ได้​เขียนต่อเลย​

  • @joebaygon4455
    @joebaygon4455 3 ปีที่แล้ว +1

    เป็นอะไรก็ได้ที่ใจเธอต้องการ🥰

  • @MultiSompit
    @MultiSompit 2 ปีที่แล้ว +3

    ผมขอหักล้างดังนี้คับ ริ้วที่เกิดจากการทดลองปล่อยโฟตอนวิ่งไปผ่านช่องสองช่องนั้น เกิดจากโฟตอนที่วิ่งโดยอิสระจากแหล่งกำเนิด เมื่อโฟตอนวิ่งไปโดยอิสระมันจะชนกันเองด้วยความเร่งที่ไม่คงที่ โฟตอนที่ชนกันแล้วเบนไปทางซ้าย เกิดชนกับโฟตอนที่วิ่งมาทางซ้ายเช่นกันส่งผลให้เกิดการชนกันอีกครั้งทำให้โฟตอนเม็ดนั้นกระดอนไปทางขวาและเข้าช่องทางขวาในมุมที่เบนเข้า ทำให้เกิดริ้วของแสงทางขวา เช่นเดียวกัน โฟตอนที่วิ่งไปเกิดการชนกันเบนไปทางขวาแล้วเกิดการชนซ้ำทำให้เบนวิ่งไปทางช่องทางซ้าย ทำให้เกิดริ้วของแสงทางซ้ายเพิ่มขึ้น โฟตอนไม่ได้เปลียนสถานะใดๆ มันยังคงเป็นอนุภาคที่วิ่งจากจุดกำเนิด และการวิ่งของโฟตอนนั้นมีลักษนะเป็นคลื่นเท่านั้นเอง พิสูจน์ เอาฉากกั้นระหว่างช่องสองช่อง(ด้านหน้า)แล้วปล่อยโฟตอนเช่นเดิม ผลจะเหลือริ้งของเสียงเพียงสองช่องตามที่โฟตอนสามารถวิ่งเข้าได้ โนเบลเป็นของผม
    ความรู้เพิ่มเติม: โฟตอนวิ่งด้วยความเร็วไม่เสมอกันในหมู่ของพวกมัน และมีขนาดที่แตกต่างกันในหมู่ของพวกมันเช่นฝูงของบีเดอบิส แต่โฟตอนของเลย์เซอร์จะมีขนาดและความเร็วเท่ากันทุกเม็ด เหตุนี้แสงเลย์เซอร์จึงวิ่งเป็นเส้นตรงเพราะโฟตอนตัวที่หลุดออกมาจากแหล่งกำเนิดวิ่งไปโดยไม่แซงโหตอนตัวก่อนหน้า ส่งผลให้ไม่เกิดการชนกันในหมู่ของพวกมัน ดังนั้นจึงไม่เกิดการกระเจิงของแสงเลย์เซอร์นั่นเอง ซึ่งต่างกับแสงทั่วไปที่มีขนาดไม่เท่ากันและความเร็วไม่เท่ากันส่งผลให้เกิดการชนกันในหมู่ของพวกมัน ทกให้เกิดการกระเจิงออกเป็นวงโดยอิสระทึกทิศทาง ผลตือการกระดอนของโฟตอนนั่นเอง

    • @apinanaubolsak
      @apinanaubolsak ปีที่แล้ว +1

      เยี่ยม แต่ทฤษฎีนี้ มันก็ในควอนตัมไง ทฤษฎีคุณ โฟรตรอนอยู่ทุกที่ คุณจะรับรู้ทุกอย่าง แต่เราอยู่จักรวาลในความเป็นจริง ที่มีอยู่ในกรอบกฎสัมพันธภาพ แสง(โฟรตอน)จะมีพฤติกรรมเป็นคลื่นแม่เหล็กตอนที่เราวัดค่าแต่ไร้ระเบียบตอนที่เราไม่จ้องมอง พูดอีกแบบ แสงจะเป็นระเบียบที่จักรวาลรับรู้และไร้ระเบียบตอนที่จักรวาลไม่รับรู้ จักรวาลไม่รับรู้ก้คือ นอกการควบคุมจักรวาล และเป้นทฤษฎีควอนตัมไง

    • @user-uq7hr5en7b
      @user-uq7hr5en7b ปีที่แล้ว

      @@apinanaubolsak ครับ. เราควร.สร้างเครื่องตรวจวัด.ที่ดีกว่าเดิม.ควรจะเป็นลำโฟตอนที่มีพลังงานต่ำมีความรบกวนต่อระบบแม่เหล็กไฟฟ้าต่ำ.เพื่อขยายขอบเขตของการตรวจวัดในระดับ scale ที่เล็กกว่า.คว๊าก?ที่มีมวลมากที่สุดครับ.ประมาณนี้.

  • @OrionNebulaSunLight1989
    @OrionNebulaSunLight1989 3 ปีที่แล้ว

    ความลับ ที่ไม่ลับ

  • @user-mt2xn1sq1d
    @user-mt2xn1sq1d 3 ปีที่แล้ว

    ควันตั้มอะไร​ หุงข้าวยังไม่เป็นเลย

  • @KO_.
    @KO_. 2 ปีที่แล้ว +1

  • @thanipapassaro514
    @thanipapassaro514 2 ปีที่แล้ว

    ทำไมอ่านบท เวลาท้ายคำ ชอบออกเสียงไม่เต็มเสียง

  • @user-wn6hx7tz6m
    @user-wn6hx7tz6m 2 ปีที่แล้ว

    คริตทศวรรต วอท??? มันคืออะไรเกิดมาพึ่งได้ยิน

  • @onetomanysci
    @onetomanysci 3 ปีที่แล้ว +2

    ตกลง ทฤษฏีควอนตัมของคุณ คืออะไร ครับ
    ไหนๆ ก็พูดถึง copenhagen interpretation
    ถ้าพูดให้ เคลียร์ อีกหน่อย
    ก็จะถึงช่วงสำคัญของทฤษฏีแล้วนะครับ

  • @krissdachuprasroeth6830
    @krissdachuprasroeth6830 3 ปีที่แล้ว

    มันอยู่ที่ไครครวบคุมมัน

  • @mypicturena
    @mypicturena 3 ปีที่แล้ว +1

    ยากให้ทำสกรู๊ปพิเศษ รวบรวมหลักวิทยาศาสตร์ทำลายความเชื่อทางศาสนา ครับ

    • @taydiy555
      @taydiy555 3 ปีที่แล้ว

      ตอนผมกำลังเรียนอยู่และบ้าวิทยาศาสตร์ผมก็คิดเช่นคุนนี่ล่ะครับ,แต่เมื่อศึกษาเข้าลึกๆระดับจักรวาล,การกำเนิดนี้ล่ะคือทางตันที่ไม่มีคำตอบ กับการค้นหาสิ่งของที่ไม่มีตัวตน,ไม่มีจุดสิ้นสุดของจักรวาลอวกาศ

    • @mypicturena
      @mypicturena 3 ปีที่แล้ว

      @@taydiy555
      ปัจจุบันก็ยังพบทางตันในการหาคำตอบของการกำเนิดจักรวาล เพราะวิทยาศาสตร์เรายังไปไม่สุดทาง เนื่องจากมนุษย์ยังมีความรู้เพียงเท่านี้ แต่ถ้าอนาคตเมื่อวิทยาศาสตร์พัฒนาก้าวหน้าไป การหาคำตอบเรื่องกำเนิดจักรวาลจะเป็นสิ่งที่ง่ายดาย ครับ

  • @user-xf4zd2ki5s
    @user-xf4zd2ki5s 2 ปีที่แล้ว +1

    เต๋า ที่แท้จริง...อธิบายไม่ไ้ด้
    ที่อธิบายได้...มิใช่ เต๋า(ควอนตั้ม)

  • @thakphankant--4159
    @thakphankant--4159 3 ปีที่แล้ว

    พฤติกรรมร่วม ของความลับ ที่อยู่ในมนุษย์ ควอนตัมที่ละเอียดอ่อนที่บอกไม่ใด้ เพราะสิ่งที่เรามองเห็นเช่นเเสง ยังสามารถอธิบายใด้ นอกจากมีแสงมากกว่า 1 แสง กระทบมากกว่าจุดๆเดียว

  • @user-gp9eu9lj3s
    @user-gp9eu9lj3s 3 ปีที่แล้ว

    จะให้มันเร็วขึ้นก็ยืดความยาวเหมือนเส้นมาม่าให้เป็นเส้นตรง(เป็นอนุภาคที่วิ่งแบบคลื่นขึ้นและลง)

  • @MrPaisaln
    @MrPaisaln 3 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าอ่านเรื่อง determinism กับ free will มาก่อนจะเข้าใจแนวคิดของไอน์สไตน์ ที่คุณป้างพูดครับ

  • @sand2014kt
    @sand2014kt 3 ปีที่แล้ว +1

    แสงคือคลื่น

  • @kongkiet1978
    @kongkiet1978 3 ปีที่แล้ว

    ทฤษฎีควอนตั้มมาไกลมากเลยครับ นั่นแหละใช่เลยครับ แต่สิ่งที่ยังพิสูจน์และคาดการณ์คุณสมบัติไม่ได้นั้นมันคือวิทยาศาสตร์ที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์แบบที่เราคุ้นเคย
    (คัดจ้อความเขามาอีกทีครับ ผมไม่เข้าใจเรื่องพวกนี้)

  • @Deep_Dark_Dimension
    @Deep_Dark_Dimension 3 ปีที่แล้ว

    แสงเป็นอนุภาคแหละ อนุภาคโฟตรอน เป็นอนุภาคที่ไม่มีมวล

    • @windywinend586
      @windywinend586 3 ปีที่แล้ว

      คุณสมบัติการเเทรกสอด หักเห เลี้ยวเบน คือหนึ่งในพฤติกรรมของเเสง เเละเป็นสมบัติของคลื่น

  • @user-vs8oc5ow3g
    @user-vs8oc5ow3g ปีที่แล้ว

    b

  • @user-xf4zd2ki5s
    @user-xf4zd2ki5s 2 ปีที่แล้ว

    ผู้ค้นพบกฏ ธรรมชาติ
    ผู้สร้างกฏ ธรรมขาติ
    มิได้เดิน...ตามกฏ เสมอไป
    ท่าน ย่อมไป...ทางรูหนอน ได้.

  • @user-jv5yv9wl6r
    @user-jv5yv9wl6r 3 ปีที่แล้ว +2

    ความเร็วแสงช้านะสำหรัยสิ่งใดที่อยู่ในห้วงมิติที่สูงกว่ามติที่4นั้น เราอย่าเอาความเร็วแสงมาวัดในมิติที่4ขึ้นไป คนเอ๋ย

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin 2 ปีที่แล้ว

      ไม่ใช่ เพราะมิติที่5 ต่างหากที่มิติที่4 เทียบไม่ได้

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin 2 ปีที่แล้ว

      ไม่ใช่ เพราะมิติที่6 ต่างหากที่มิติที่5 ้เทียบไม่ได้

  • @kuuhaku3503
    @kuuhaku3503 3 ปีที่แล้ว +1

    e=h/λ

    • @rlexfygure264
      @rlexfygure264 3 ปีที่แล้ว +1

      E = hf

    • @apiwartblack
      @apiwartblack 2 หลายเดือนก่อน

      E=hf สมการสร้างโลก

  • @pawinhem4166
    @pawinhem4166 3 ปีที่แล้ว +2

    ไม่เข้าใจเลย TT

  • @onion3354
    @onion3354 3 ปีที่แล้ว

    ยิ่งรู้ยิ่งไม่เข้าใจ

  • @takatsu2014
    @takatsu2014 2 ปีที่แล้ว

    ผมไม่ได้ชอบนะ ผมมาฟังเสียงเฉยๆ เล่าวิทย์ยังไงให้เหมือนเล่าเรื่องผี

  • @user-sb5iq8gu6h
    @user-sb5iq8gu6h 2 ปีที่แล้ว

    ทำไม ไอสไตน์ ไม่พูดถึง เรื่องโลกหลัง ความตาย

  • @thanapornpamonaka1996
    @thanapornpamonaka1996 3 ปีที่แล้ว +2

    ขออภัยนะครับ คุณอธิบาย เหมือนอ่าน คุณต้องอธิบาย ให้คนที่ไม่รู้อะไรเลย พอที่จะเข้าใจ คุณต้องเข้าใจมัน และแปลงมันออกมาให้คนอื่นเข้าใจได้ง่าย ถ้าทำคลิปแบบนี้ ใครก็ทำได้ครับ

    • @watcharaphonnaknoo9898
      @watcharaphonnaknoo9898 3 ปีที่แล้ว

      แล้วทำไมไม่ทำ

    • @ammarintho
      @ammarintho 3 ปีที่แล้ว

      ผมว่าการรับรู้คุณ ไม่ถึงมากกว่าครับ

    • @onetomanysci
      @onetomanysci 3 ปีที่แล้ว

      ชอบความรู้ มาดูช่องผมได้นะ ครับ

  • @aransingkum1877
    @aransingkum1877 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับ

  • @tttyomop318
    @tttyomop318 3 ปีที่แล้ว

    พีครับเเม็กซ์เวลล์หน่อยครับที่จริงเขาเป็นคนที่เก่งเท่านิวตันกับไอน์สไตน์เเต่ทำไมไม่ค่อยมีจำเท่าใหร่

    • @windywinend586
      @windywinend586 3 ปีที่แล้ว

      เพราะหัวไม่ฟู