พูดเรื่อง Titan Submersible ในมุมมอง Structural Engineer (เด็กสร้างบ้าน)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 22 ธ.ค. 2024

ความคิดเห็น • 249

  • @Issara87
    @Issara87 ปีที่แล้ว +6

    ดีแล้วครับ ครบถ้วนกว่าหลายๆที่ บางทีดูจากข่าวโดยผู้ประกาศไม่เข้าใจวิทยาศาสตร์ สื่อสารมาผิดๆก็เยอะ เช่นกระจกหน้ายานบอกรับแรงดันได้ 1300 ทั้งที่ต้องว่าทดสอบผ่านแล้วที่ 1300 ฟังตอนแรกก็งง ว่าทำไมถึงเอาไปใช้จริงที่ความลึก3800ม.ได้

  • @JodMeridash
    @JodMeridash ปีที่แล้ว +11

    มีบางช่องเคยพูดถึงการทดสอบก่อนหน้าที่จะเกิดเหตุการณ์นี้ บอกว่าในการทดสอบลงพบเสียงการลั่นของวัสดุ แต่ก็ยังฝืนลงทดสอบต่อ เพราะคิดว่าอุปกรณ์ยังใหม่อยู่ เนื้อวัสดุเลยยังไม่เข้ารูป
    อีกเรื่องก็คือการยุบตัวของวัสดุต่างชนิดที่ไม่เท่ากัน (ไทเทเนียม กับ คาร์บอนไฟเบอร์) ผ่านการจับยืด2 วัสดุด้วย Epoxy resin การเปลี่ยนแรงดันซ้ำ ๆ
    ประมาทล้วน ๆ เลยครับ ฝืนในฝืน จุดจบร้ายแรงมาก

  • @ninjamajam2
    @ninjamajam2 ปีที่แล้ว +56

    เพิ่มเติมเรื่องวัสดุอีกอันที่ผมคิดว่าน่าจะเกี่ยวข้องที่สุด คือเรื่องความล้าของวัสดุครับ จากที่ลงไปมาหลายครั้งแล้วไม่เสียหาย แสดงว่าตามดีไซน์ความแข็งแรงน่าจะได้ เพียงแต่น่าจะขาดการวิเคราะห์ด้านความล้าในระหว่างการออกแบบ บางทีช่วงแรงที่รับ อาจจะสูงมากจนแทบตกกราฟความล้าเลยครับ

    • @kruing02
      @kruing02 ปีที่แล้ว +6

      ใช่ครับ น่าจะมีการกำหนดชั่วโมงรับแรงดัน(เหมือนเครื่องบิน) หรือเขามีแต่เราไม่รู้

    • @chain-789
      @chain-789 ปีที่แล้ว +3

      ​@@kruing02เรื่องพวกนี้ต่อให้ระวังก็เกิดได้ เราไม่รู้ว่า เซฟตี้แฟคเตอร์ เท่าไหร่

    • @greenant7585
      @greenant7585 ปีที่แล้ว +5

      ใช่ๆคิดแบบเดียวกัน บางคนตั้งคำถามทำไมเจมส์ลงไปได้ละลึกกว่าเอ้าก็เขาใช้ของใหม่ทุกรอบเหมือนพอตใช้ละทิ้งอ่ะรวยเกิน555555

    • @superbigboss6149
      @superbigboss6149 ปีที่แล้ว +4

      @@chain-789ทำแบบจำลองเพื่อหาข้อมูลที่ใกล้เคียงได้อยู่ครับ

    • @superbigboss6149
      @superbigboss6149 ปีที่แล้ว +3

      ถ้าเห็นวิธีการสานบอดี้แล้วจะตกใช้ครับใช้วิธสานแบบทิศทางเดียวซึ่งต่างกับบอดี้F1ที่เป็นการสานแบบ3มิติ

  • @santayasha
    @santayasha ปีที่แล้ว +2

    คลิปสนุกดี

  • @pongtarattantiapigul2813
    @pongtarattantiapigul2813 ปีที่แล้ว +5

    ประเด็นตามคลิปนี้คือ วัสดุที่ใช้สำคัญมาก ถ้าไททั่นใช้วัสดุโลหะเป็นไปได้ที่จะพบความผิดปกติก่อนพัง

  • @khonfairu
    @khonfairu ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณข้อมูลดีๆมีสาระคร้าบบ คลิปนี้มาแบบจุใจกันไปเลย 🎉🎉

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  ปีที่แล้ว +1

      นานๆ มีเรื่องวิดวะให้เล่าที ขอจัดเต็มๆ ครับ

  • @sukhum99
    @sukhum99 ปีที่แล้ว +6

    คลิปยาว แต่สนุกมากครับ
    อยากได้คลิป อวกาศ วิวัฒนาการ แบบเนื้อหาเยอะๆ แบบนี้ครับ ดูยาวๆไป ไม่เบื่อ

  • @freshdrummer9869
    @freshdrummer9869 ปีที่แล้ว +12

    เครื่องแสดงผลแบบเรียลทามของเรือ ถึงเวลาเริ่มเกิดความเสียหาย สัญญานอาจจะดังได้ แต่คุณก็ไม่สามารถออกจากจุดนั้นได้ในทันทีและก้ต้องจบแบบเดิม เพราะจะมาเบรคแบบรถก้ไม่ได้ มันมีแรงหน่วงก่อน เพราะฉะนั้น มันก้อาจจะลงลึกได้อีกนิดนึง ซึ่งรับแรงต่อเนื่อง จากที่มีเสียงเตือน และก้ตุ้ม

  • @Jaaaarod
    @Jaaaarod ปีที่แล้ว +7

    ชอบช่องนี้ที่ เอาสาระดีๆมาอธิบายฟังตลอดครับ ติดตามตลอด.ปล ถ้าไม่ติดขัดประการใด อยากฟังหลักการ ทำงานของสะพาน ข้ามทางที่ และ failure mode ของมันด้วยครับ

  • @somkiatmaystock6781
    @somkiatmaystock6781 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากมากครับ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากเลยคร้าบ

  • @never-next
    @never-next ปีที่แล้ว +29

    ชอบตอนสุดท้ายที่พูดถึงเวลาการรับรู้เเละประมวณผลของสมอง มันน่าทึ่งมากเลย เท่ากับว่าเห็นอยู่ตรงหน้าว่าเกิดอะไรแต่ไม่ทันได้ประมวณเหตุการณ์ และตายโดยที่ยังไม่ได้สัมผัสถึงความเจ็บปวด

  • @ChopzEye
    @ChopzEye ปีที่แล้ว +5

    ที่ อ. ตอนป.โทพูดก็ถูกนะครับ ถ้าบอกว่าพื้นอาคารชั้นสามนี้รับน้ำหนักได้ 3,922.66 นิวตันต่อตารางเมตร คนไทยจะนึกไม่ออก แต่พอบอก 400 กิโลกรัมต่อตารางเมตรเค้าจะนึกออก ว่าใน 1 ตารางเมตรไม่ควรวางฟอร์นิเจอร์ หรือมีคนยืนน้ำหนักรวมมากกว่า 400 กิโลกรัม

  • @noom_rangsit
    @noom_rangsit ปีที่แล้ว +7

    เป็นแฟนคลับช่องนี้มานานแล้ว ชอบที่สุดคือลีลาจังหวะการพูด ไม่เร็วไม่ช้าไป ฟังแล้วเข้าใจได้ทันที และสาระที่นำมาพูด แม้จะเข้าใจยาก แต่ฟังแล้วก็เข้าใจได้แม้ไม่เคยเรียนวิทยาศาสตร์มาก็ตามครับ เป็นกำลังใจให้ตลอดไปครับ และขอให้มีสปอนเซอร์เพิ่มขึ้นอีกนะครับ ❤❤❤

  • @muttleymagnificent7937
    @muttleymagnificent7937 ปีที่แล้ว +15

    เรื่องโครงสร้าง วัสดุ safety factor design ทั้งหลาย ทางวิศวกรรม น่าจะถูกพิจารณามาอย่างดีแล้ว ยืนยันได้จากการใช้งานมาหลายรอบแล้ว ผมเชื่อว่าปัญหาคือเรื่องการซ่อมบำรุง ไม่ว่าจะเป็น preventive หรือ routine maintenance ซึ่งต้องอาศัยความระเอียดรอบคอบสม่ำเสมออย่างมาก

    • @Issara87
      @Issara87 ปีที่แล้ว +3

      ก็ถ้าตัวยานยุบไปแบบนั้น ไม่ใช่โครงสร้างแล้วคืออะไรครับ วัสดุที่รับแรงดันสูงๆต่ำๆ ยึดและหดตัวบ่อยๆ ยิ่งคอบอนไฟเบอร์ไม่มีความเหนียว รอยร้าวนิดเดียวคือหายนะได้เลยครับ

    • @muttleymagnificent7937
      @muttleymagnificent7937 ปีที่แล้ว +7

      @@Issara87 เข้าใจคำว่า maintenance มั้ยครับ? ต่อให้ทุกอย่างดีหมด(ออกแบบ วัสดุ ...) แต่ทุกครั้งหลังผ่านการใช้งาน ก่อนใข้งาน และอยู่ระหว่างรอใข้งาน ก็ต้องมีการตรวจสอบบำรุงรักษา หาจุดบกพร่องก่อนการใช้งาน รวมถึงป้องกัน(ไว้ก่อนที่จะมีความบกพร่อง) เรือลำนี้ผ่านการใช้งานมาก็ไม่น้อยย่อมจะต้องมีความเสื่อมสภาพอยู่บ้างเป็นเรื่องปกติถ้าบำรุงรักษาไม่ดีความบกพร่องเล็กๆน้อยๆก็นำปัญหาใหญ่มาให้ได้อย่างแน่นอน

    • @Issara87
      @Issara87 ปีที่แล้ว +5

      @@muttleymagnificent7937 เข้าใจครับ แต่ส่วนใหญ่มันก็ตรวจสอบบำรุงรักษาคราวๆ เปลี่ยนอะไหล่บางชิ้น แต่การจะตรวจสอบเชิงลึกถึงรอยแตกรอยร้าว หรือความล้าของวัสดุ ที่ไม่เคยมีใครใช้แบบนี้ จะมีมาตรฐานหรือเครื่องมือไหนมาตรวจสอบได้ครับ จนกว่าจะเกิดเรื่องแบบนี้ขึ้น และใครจะใช้คาบอนไฟเบอร์อีก ถึงจะตระหนักในปัญหานี้
      ในการทำสิ่งแรกก่อนใคร ก็มักจะเจอปัญหาก่อนใครเช่นกันละครับ

    • @phisitpooratanachinda7894
      @phisitpooratanachinda7894 ปีที่แล้ว +2

      ​​​​@@Issara87 Rob MacCallum ที่เคยเป็นวิศวกรดูแลเรื่องความปลอดภัยของ Titan เคยออกมาพูดก่อนหน้าอุบัติเหตุว่า มีปัญหาเรื่องการบำรุงรักษาตัวเรือ ถ้าผมจะเชื่อใครสักคนผมเลือก Rob

    • @Issara87
      @Issara87 ปีที่แล้ว +5

      @@phisitpooratanachinda7894 ก็ถูกแล้วครับ การตรวจสภาพโครงสร้างตัวเรือคาบอนไฟเบอร๋ ก็คือการตรวจบำรุงรักษาด้วยไม่ใช่เหรอ แต่อย่างที่ผมว่าไป ไม่เคยมีการใช้วัสดุนี้ทำยานต์ดำน้ำมาก่อน คุณจะรู้ได้ไงว่าวิธีการถูกต้อง เหมาะสมมั้ย ที่บอกว่าเพราะโครงสร้างตัวเรือ ก็เพราะเราไม่เข้าใจวัสดุนี้ในการทำเรือดำน้ำมากพอ ผมพูดผิดหรือเปล่า เมื่อไม่รู้ดีพอ จะจัดการบำรุงรักษาที่เหมาะสมได้มั้ยละ

  • @SherbetChopper
    @SherbetChopper ปีที่แล้ว +3

    เหมือนคลิปจะยาว แต่เพลินๆแป๊บเดียวจบ ที่คุณเอกบอกว่านอกเรื่องไปไกล ผมว่ามันทำให้เห็นภาพและเข้าใจครับ

  • @リュのゴジラ
    @リュのゴジラ ปีที่แล้ว +8

    ปัญหาคือ Section ที่ลงไปสำรวจเพราะไม่มีที่ไหนทำการทดสอบมาอย่างละเอียดมาก่อนเหตุที่ทำไมเรือของ เจมส์ คาเมร่อน ถึงต้องเป็นวงกลมเพราะเป็นรูปทรงที่สามารถรับแรงได้มากกว่ารูปทรงอื่นๆด้วยเหตุที่รูปทรงนี้สามารถรับแรงได้เท่ากันรอบด้านไม่เหมือนรูปทรงอื่นอย่างเช่นทรงกระบอกของยานดำน้ำ Titan นั้นก็รับแรงไม่เท่ากันอีตรงส่วนที่เป็นด้านยาวจะต้องรับแรงมากกว่าส่วนที่เป็นด้านกว้างแถมส่วนด้านนี้ยังเป็นวัสดุที่มีความเปราะไม่มีความยืดหยุ่นมากสักเท่าไหร่แถมยังเป็นวัสดุที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกันอีกส่วนที่เหลือที่เห็นนำขึ้นมาจากทะเลยยังคงสภาพดีอยู่คือส่วน Titanium's ที่แทบไม่เป็นอะไรเลยแต่กลับกันส่วนที่มีความเสียหายมากส่วนไหญ่เป็นวัสดุที่ไม่ใช่ titanium ผมคิดแบบนี้ใครจะว่ายังไงแนะนำได้

  • @spacemanthailand
    @spacemanthailand ปีที่แล้ว +6

    ขอบคุณคลิปความรู้เชิงวิศวกรรมแน่น ๆ ที่ใช้เวลาเตรียมข้อมูลและเวลาตัดต่อนานครับ 🙏

    • @freshdrummer9869
      @freshdrummer9869 ปีที่แล้ว +2

      หากจิตวิญญาน มนุษย์มีจริงๆ บางทีเขายังพยายามแก้ ปันหาเรือลำนั้นอยุ่เพราะยังไม่ทันรับรุ้ว่าตนตายแล้ว ก้ได้ เนอะ

    • @พิกุลแก้ววัฒถา
      @พิกุลแก้ววัฒถา ปีที่แล้ว

      ทุกอย่างต้องใช้เวลาความอดทน แล้วทุกอย่างก็ประสบความสำเร็จได้จริง

  • @Gracetug
    @Gracetug ปีที่แล้ว +1

    รอคลิปนี้อยู่ค่า สมกับการรอคอยจิงๆ ครบเครื่องสุดๆ ดูสนุกมากๆค่ะ คลิปยาวแต่เพลินมากๆ ขอสมัครเป็น แฟนตัวยงอีกคนค่ะ

  • @SuperNaiyan
    @SuperNaiyan ปีที่แล้ว +3

    implosion การระเบิดเข้าหาศูนย์กลาง หรือระเบิดแบบยุบเข้า
    explosion การระเบิดออกจากศูนย์กลาง หรือระเบิดแบบแตกออก

  • @foldforlife2530
    @foldforlife2530 ปีที่แล้ว +1

    เท่าที่ดูข่าวในแต่ละช่องมีนักวิชาการพูดถึงเหตุการณ์ยังไม่ลึกเท่าดูช่องนี้เรย..ขอบคุณมากได้ความรู้มากเรย

  • @onginov
    @onginov ปีที่แล้ว +2

    เป็นคลิปที่โคตรเจ๋งเลยนครับ ฟังเพลินเลย ความรู้อัดแน่นแต่ย่อยง่ายมากครับ
    ขอบคุณมากๆเลยครับ

  • @คิดไม่ออกคิดออกก็ไม่บอก

    เป็นคลิป 1 ชม. ที่ดูไม่เบื่อเลย เก่งมากค่ะ

  • @sathitwa
    @sathitwa ปีที่แล้ว +4

    มายาวเลยรอบบนี้ ชั่วโมงนึง หายคิดถึงเลยครับ

  • @bankvisutkan
    @bankvisutkan ปีที่แล้ว +2

    แอดฯ เก่งจังคับ ตื่นเต้นกับการวิเคราะห์เหตุโดยใช้หลักความรู้ด้านวิศวกรรมศาสตร์และฟิสิกส์ แต่ที่ทึ่งกว่าคืออยากให้วัยเรียนเปิดมาดูว่า นี่แหละคือผลของการตั้งใจเรียนเมื่อยังมีโอกาสให้เรียน

  • @BirmDindaeng
    @BirmDindaeng ปีที่แล้ว +4

    เป็นไปได้ไหมครับที่สาเหตุการระเบิดเกิดจากวัสดุมีความเหนียวไม่เท่ากัน
    วัสดุกลางลำตัวเป็นคาร์บอนไฟเบอร์มีความเหนียวต่ำ
    วัสดุส่วนหัวและท้ายเป็นไทเทเนียม
    เมื่อได้รับ cyclic load จึงเกิดการแยกตัวที่รอยต่อกาว

    • @wyri4NT14
      @wyri4NT14 ปีที่แล้ว +2

      มีส่วนครับ ตัวส่วนกระจกของยานบอบบางที่สุดครับ

  • @suke9859
    @suke9859 ปีที่แล้ว +1

    รอมานานมากๆ สุดท้ายได้ดูคลิปสมใจ ขอบคุณมากๆครับที่ทำคลิปดีๆอบบนี้ออกมา สุดยอดมากครับ

  • @littan
    @littan ปีที่แล้ว +3

    ช่วยทำเรื่องทางยกระดับที่พังลงมาที่ กทม ด้วยได้ไหมครับ

  • @ariya5809
    @ariya5809 ปีที่แล้ว

    ดูแล้วรู้สึกฉลาดขึ้นมาเลยค่ะ อธิบายเข้าใจง่ายดีค่ะ

  • @pongtarattantiapigul2813
    @pongtarattantiapigul2813 ปีที่แล้ว +2

    เรื่องหน่วยในงานช่างบ้านเรามันมีหลายแบบครับ แค่ขนาดท่อยังเรายังใช้ หุน ใช้นิ้วเลยครับ อย่างที่บอกให้มันใช้ได้ปลอดภัยเป็นพอ

  • @nuengi001
    @nuengi001 ปีที่แล้ว +1

    ชอบช่องนี้มากกเลยครับ ผมมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพิ่มมากขึ้นเพราะช่องนี้เลยครับ ขอบคุณมากครับ

  • @ducky-q3v
    @ducky-q3v ปีที่แล้ว +1

    สนุกมาก ได้ประโยชน์มาก ขอบคุณค่ะ

  • @duoangel190
    @duoangel190 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับ, สำหรับคลิป ฟังเพลินดีครับ
    ขออนุญาตเปลี่ยนใจ ไม่ วิจารณ์ เรื่อง CEO นะครับ, อย่างน้อย เป็นการแสดงความให้เกียรติ ต่อดวงวิญญาณ ของเขา ครับ

  • @karaoke8131
    @karaoke8131 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากครับ ถ้าเป็นไปได้ช่วยทำเรื่อง เเนวคิดเกี่ยวกับ planet x / planet nine หน่อย ครับ

  • @เปรมฤทัยแสนทองคํา

    ขอบคุณสำหลับความรู้คับ ลงบ่อยๆนะคับ

  • @tanakittancharoen4467
    @tanakittancharoen4467 ปีที่แล้ว +1

    รักช่องนี้ที่สุดเลยครับ สุดยอดดด 👍❤️

  • @Angkatavanich
    @Angkatavanich ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลความรู้ค่ะ

  • @pleaseta
    @pleaseta ปีที่แล้ว +2

    ผมชอบมากครับ ผมไปไล่ดูแทบทุกคลิป ❤❤

  • @chanhdong23
    @chanhdong23 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ ได้ความรู้มากเลยครับ

  • @kruing02
    @kruing02 ปีที่แล้ว +2

    อยากได้อีกคลิปครับ "สะพานลอยสั่น" ที่เป็นข่าว เอาแน่นๆ

  • @RocK1983_
    @RocK1983_ ปีที่แล้ว +4

    เหตุเกิดครั้งนี้มีคุณาประคุณยิ่ง คนสร้างอาจผิดในเรื่องนี้ แต่เรื่องตระหนักให้เรียนรู้แรงกดเพื่อการผลิตโครงสร้างนั้นเขาพิสูทธิ์ให้เห็นแล้ว

  • @montainchaiwanna9248
    @montainchaiwanna9248 ปีที่แล้ว +1

    เป็นคลิปที่ยาวมากครับ และผมก็ดูจนจบ😊

  • @MrNeoNos
    @MrNeoNos ปีที่แล้ว

    Thanks!

  • @speedbikeclub
    @speedbikeclub ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดเลยครับ ฟังเพลินมาก

  • @ฐาปนพงษ์การสร้าง-ฐ8ผ

    เฉียบแหลมมากครับ. ผมดูช่องอื่นยังอธิบายไม่กระจ่างเหมิอนคุณเลยเข้าใจง่าย

  • @Yoyo123A
    @Yoyo123A ปีที่แล้ว +2

    7:45 ผมเรียกว่าการถูกบีบอัดแบบฉับพลันครับ

  • @HDSKOS1
    @HDSKOS1 ปีที่แล้ว +1

    พี่ครับพี่ทำคลิปเรื่ง เซโน้ พาราด็อก ได้ไหมครับ

  • @club1199
    @club1199 ปีที่แล้ว +1

    วิเคราะห์ละเอียดดีครับเป็นไปได้หมดเจ้าของลืมคิดเรื่องความเครียดของวัสดุไปหรือปล่าว ชอบคลิปนี้ครับ😊😊😊

  • @tanakridchanburi6748
    @tanakridchanburi6748 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าเราออกไปนอกอวกาศโดยไม่มีชุดอวกาศเราจะเกิด explotion ไหมครับ

    • @Azathoth-bj4tn
      @Azathoth-bj4tn ปีที่แล้ว +4

      ตัวเราจะพองเหมือนลูกโป่งครับ
      แต่ไม่แตกเพราะเนื้อหนังมนุษย์
      เหนียว

  • @phoenix5883
    @phoenix5883 ปีที่แล้ว +3

    เราจะตายก่อนที่ภาพและความรู้สึกจะส่งถึงสมองครับ ผมฟังจากช่องของหมอ

  • @nithikornjantornthin1846
    @nithikornjantornthin1846 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณที่สร้างคอนเทนเนอร์นี้ ❤

    • @BirmDindaeng
      @BirmDindaeng ปีที่แล้ว +1

      คอนเทนต์ใช่ไหมครับ

  • @โชคชัยประดิษฐ์ศิลป์

    อธิบายเรื่องแรงดันง่ายๆครับ😊ลองเอาถุงหูหิ้ว ถุงยงถุงยางก็ได้😅เป่าลมเข้าไป แล้วก็เอาไปกดลงน้ำดูว่ามันเป็นอย่างไร ถ้ากดลงตื้นก็จะกดลงง่าย แต่ถ้าคุณจะกดลงลึกๆคุณจะเห็นว่าถุงมันโดนบีบจนลมข้างในจะระเบิดออกมาเป็นโกโก้ครั้นอยู่แล้ว😂😂😂😂กล่าวคือมันมีอากาศอยู่ข้างในมันจึงมีผลต่อแรงดันน้ำ😊😊ยิ่งกดลงลึกยิ่งแรงดันสูง😊😊

  • @anurakthappayasan603
    @anurakthappayasan603 ปีที่แล้ว +1

    พี่ครับ ผมอยากรู่ว่าไฟแชคแก๊ส ดอกล่ะ 5 บาท 10 บาท ทำไมแก๊สในไฟแชคข้างในมันเป็นน้ำ แต่พอปล่อยออกมามันเป็นก๊าซครับ ทำไมมันไม่ไหลออกมาเป็นน้ำแบบน้ำทั่วไปครับ อันนี้เกี่ยวกับแรงดันด้วยหรือเปล่าครับ

  • @samaxjunk
    @samaxjunk ปีที่แล้ว +1

    ติดตามดูทุกคลิปชอบครับ

  • @บัณฑูรเล็กประเสริฐ

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

  • @ohyech1365
    @ohyech1365 ปีที่แล้ว +1

    ตั้งแต่ดูยูทูป ดูช่องนี้แล้วฉลาดขึ้นมากๆ

  • @-3-613
    @-3-613 ปีที่แล้ว +1

    ชอบมากครับ ดูยาวๆ

  • @fthvf7862
    @fthvf7862 ปีที่แล้ว

    สุดยอดการประมวลผลการสื่อความหมาย

  • @gOd.father__
    @gOd.father__ ปีที่แล้ว +5

    เข้าใจล่ะ ทำไม แก้ว แตก ง่าย 👍
    เรือ ของ ลุงเจม เป็น ทรงกลม น่าจะเเข็งแรงกว่า ทรงกระบอก

    • @zigaroldman8190
      @zigaroldman8190 9 หลายเดือนก่อน

      ทรงกลม มันช่วยหักเหแรงดัน ได้ดีกว่าทรงกระบอก

    • @gOd.father__
      @gOd.father__ 9 หลายเดือนก่อน

      @@zigaroldman8190 เขาเรียก กระจายแรง ไม่ใช่ หักเหแรง

    • @zigaroldman8190
      @zigaroldman8190 9 หลายเดือนก่อน

      @@gOd.father__ เอ่อนั้นแหละ แหม่กรูก็ตกฟิสิกอะนะ
      จริงๆมรึงตอบแบบนี้ก็ได้นะ
      เขาเรียกกระจายแรง หรือป่าวครับ?
      พ่อนักฟิสิกใหญ่
      พ่อๆมิการันเจโล่
      พ่อๆไอแซคนิวตัน
      แหม่ พ่อเอ็ดเวิดนอตัน
      พ่อแบล็คพีค !

    • @zigaroldman8190
      @zigaroldman8190 9 หลายเดือนก่อน

      และจริงๆมึงบอกน่าจะแข็งแรงกว่า
      ไม่ใช่น่าจะนะ มันแข็งแรงกว่า 100%
      น่าจะไม่ได้ครับ ฟิสิกส์ น่าจะ ไม่ได้นะครับ

    • @zigaroldman8190
      @zigaroldman8190 9 หลายเดือนก่อน

      @@gOd.father__ ทรงกลมแข็งกว่าทรงกระบอกแน่นอน ไม่ใช่น่าจะ ! เข้าใจป่าว

  • @lordseyren5454
    @lordseyren5454 ปีที่แล้ว +1

    พูดถึงเรื่องอุบัติเหตุใต้ทะเลลักษณะนี้แล้วผมนึกถึงเรื่อง Byford dolphin accident เลยครับ สนใจทำซักคลิปมั๊ยครับ ?

  • @lanlanha
    @lanlanha ปีที่แล้ว +3

    แล้วความแตกต่างของแรงดันภายนอกกับในร่างกายมนุษย์ ต้องแตกต่างกันแค่ไหนร่างกายถึงเริ่มรับไม่ได้ แค่ดำน้ำลึก 1 เมตร ก็มีความดันเพิ่มขึ้น 1 ตันแล้ว แค่ฟังก็รู้สึกว่าเยอะเหลือเกิน แต่เรากลับดำน้ำได้ลึกกว่านั้นเป็นปกติ (ปล. ถามแบบบ้านๆนะครับ ไม่มีความรู้ อย่าดราม่าเลย)

    • @Azathoth-bj4tn
      @Azathoth-bj4tn ปีที่แล้ว +1

      แรงดัน 0 คืออวกาศครับ
      ถ้ามนุษย์ไปอวกาศแบบถอดชุดตัวจะ
      พองขึ้นมากเลย

    • @Azathoth-bj4tn
      @Azathoth-bj4tn ปีที่แล้ว +1

      แต่ละคนรับแรงดันได้ต่างกันครับ

  • @annanny2400
    @annanny2400 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดค่ะ👍

  • @คิดไม่ออกคิดออกก็ไม่บอก

    อหหหห คลิปเป็นชม.เลย เดี๋ยวจะหาเวลาว่างมาดูนะคะ

  • @sasdamzaa55
    @sasdamzaa55 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าพี่จัด podcast ต้องสนุกมากแน่ๆ

  • @Standbychannelone
    @Standbychannelone ปีที่แล้ว +1

    รอนานเลย ติดตามครับ

  • @tonistudio6123
    @tonistudio6123 ปีที่แล้ว +1

    เวลาเกินครับแต่ดูจบสนุกมาก😊

  • @peradolthaimanit
    @peradolthaimanit ปีที่แล้ว +1

    ผทชอบคลิปนี้มากเลย แต่ผมอยากช่วยเสริม ฟังมาอีกช่อง คือ cabon fiber เขาใช้ตรงกระบอกส่วนหัวท้ายที่เป็นโดมเขาใช้โลหะ ปัญหาคือ วัสดุต่างกันจะมีการเปลี่ยมรูปไม่เท่ากัน เมื่อวัสดุใดวัสดุหนึ่งเปลี่ยนรูปก่อนจะมีช่องว่าง จึงเกิดเหตุการณ์ Implotion ครับ

  • @MrSssseo
    @MrSssseo ปีที่แล้ว +1

    ความหนาแน่นในน้ำลึก กับน้ำตื้นต่างกันอีกด้วยครับ ที่น้ำลึกน้ำเย็นก่ว่า มีเกลือผมสมอยู่มากกว่า เคยอ่านมาผ่านๆครับ

  • @heinzawsoe7181
    @heinzawsoe7181 ปีที่แล้ว +1

    ชอบพี่มากเลยคับ

  • @luckyriri7232
    @luckyriri7232 ปีที่แล้ว +1

    ขอ เรื่อง จิตวิทยา พฤติกรรม มนุษย์

  • @dmt2095
    @dmt2095 ปีที่แล้ว +1

    ขอ1ชัวโมงฉํ่าๆแบบนี้อีกนะ🙇

  • @ToTo_Lekato
    @ToTo_Lekato ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ 😊

  • @nttk.5861
    @nttk.5861 ปีที่แล้ว +1

    ได้อีกความรู้เลยค่ะ😊
    แอบคิด กองทัพสหรัฐ จับสัญญาณเก่ง! น่าแปลก ทำไมMH370 กองทัพต่างๆ ไม่เห็นเลยหรอคะ....

    • @Dioxin-qi6jz
      @Dioxin-qi6jz ปีที่แล้ว +2

      Mh 370 ถ้ารู้จุดตก ก็หาเจอครับ นี่ไม่รู้อะไรเลย งมเข็มในมหาสมุทรของจริง นี่ไม่นับว่ามันอาจไม่ได้ตก อาจถูกพาไปเก็บที่อื่นอีก

  • @narakonsirisopa9980
    @narakonsirisopa9980 ปีที่แล้ว +1

    แรงบีบฉับพลัน ซึ่งต่างกับแรงดูดหรือแรงกดทับด้านใดด้านหนึ่ง เพราะแรงบีบมันมีแรงมากระทำทั่วทิศทาง

  • @kruing02
    @kruing02 ปีที่แล้ว +4

    เราชาววิศวะ ฟังกูรู แล้วขำ แม้กระทั่งคนอ่านข่าว มันสะกดคนละแบบอยู่แล้ว "ระเบิด" เป็นไปได้อย่างไร ตัวอย่าง "เครื่องบิน" ข้างในความดันสูง กับ "เรือดำน้ำ" ข้างนอกความดันสูง ปรากฏการณ์มันคนละอย่าง

  • @fozzchannel5901
    @fozzchannel5901 ปีที่แล้ว +1

    ชอบครับ ละเอียดยิบ

  • @aekenstone1555
    @aekenstone1555 ปีที่แล้ว +2

    ทำเรื่องสะพานถล่มได้ไหมครับ

  • @suriyaburana822
    @suriyaburana822 7 หลายเดือนก่อน

    ดูคลิปนี้แล้วคิดถึงโบอิง เลยครับ
    การตลาดนำวิศวกรรม = โศกนาฏกรรม

  • @aliuqA
    @aliuqA หลายเดือนก่อน

    คิดเล่นๆ ตามแบบฉบับ คนช่างสงสัย😁
    แผ่นดินไหวจะทำอะไร บ้านลอยน้ำได้มั้ยครับ🤔
    คำถาม
    จะมีปัญหาอะไรตามมาอีกมั้ยนอกจากงบประมาณ 😅
    ไม่ใช่กลางทะเลกัน "ทสึนามิ" เอาแค่น้ำตื้นๆ แค่พอให้บ้านไม่แตะพื้น
    ถ่วงสมอกันลอยไปติดขอบสระ

  • @chowwalitpuakaosan3249
    @chowwalitpuakaosan3249 8 หลายเดือนก่อน

    ที่ผมทึ่ง คือ ทร. เมกานี้ แน่นอนจริง ยังจับสัญญาณได้ แสดงว่าเรือดำน้ำเขาประจำการอยู่ทั่วโลกนี้แน่นอน

  • @kboyhat
    @kboyhat ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ

  • @mooyong2010
    @mooyong2010 ปีที่แล้ว +1

    น่าจะ fatigue failure ตรงรอยต่อ และ กาว

    • @mooyong2010
      @mooyong2010 ปีที่แล้ว

      อาจารย์ เรียน นพอ. ด้วยเหรอครับ รุ่นไหน ครับ เห็น แว๊บๆ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  ปีที่แล้ว +1

      @@mooyong2010 รุ่น "ยี่สิบหนึ่ง" ครับ

  • @vivitkeaophan968
    @vivitkeaophan968 ปีที่แล้ว

    ผมว่าเกิดจากงาน2ชิ้นมาบรรจบกัน ไฟเบอร์คาบอนเป็นทรงกระบอก แล้วเอาไทเทเทียมปิดหัวท้าย ถ้ามันปิดชิ้นเดียวกันจะแข็งแรงกว่านี้

  • @IHaoRango
    @IHaoRango ปีที่แล้ว +1

    ละเอียดมากกกกกก

  • @goodwordmerithappy6395
    @goodwordmerithappy6395 10 หลายเดือนก่อน

    ส่วนมากถ้าเป็นเกี่ยวกับอากาศหรือลมผมเรียกความดันอากาศ ส่วนแรงดัน ผมใช้เรียกแรงดันไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้าครับ

  • @r.j.8774
    @r.j.8774 ปีที่แล้ว +2

    ตอนนี้บริษัทโอเชียนเกตท์มีเพิ่มรายการ ทัวร์ซากเรือไททันเพิ่มอีกทริปแล้วรึยังครับ

    • @แมวชื่อขนมหวาน
      @แมวชื่อขนมหวาน ปีที่แล้ว +1

      ไม่มีค่ะเพราะซากไททันได้กู้ซากขึ้นมาแล้วค่ะ กู้โดยยานดำน้ำ ROV ค่ะ

  • @พลทาพงษ์
    @พลทาพงษ์ ปีที่แล้ว +1

    🎉Much thank! ขอบคุณ สุดยอด!?😮

  • @ไกรวินมหาวงศนันท์-ภ1ญ
    @ไกรวินมหาวงศนันท์-ภ1ญ 9 หลายเดือนก่อน

    ดูแว็บเดียวก็รู้ได้ง่ายๆเลย คือ จุดอ่อนอยู่บริเวณตรงก้นยาน เมื่อเจอแรงดันมหาศาล ก้นจะบีบแบนก่อน ทีนี้หล่ะ การบิดเบี้ยวจะเกิดขึ้นทันทีในเสี้ยววินาที และแรงระเบิดของอากาศจะสวนทางออกจากการบีบอัด ทันทีดังนั้นชิ้นส่วนจึงถูกฉีกออกเป็นชิ้น รูปทรงที่เหมาะสมควรจะเป็นทรงกลมหรือไกล้เคียงทรงกลมเพราะสามารถรับแรงอัดได้รอบตัว ทรงกระบอกยาวไม่น่าจะทนได้ !

  • @ilumiabelly3563
    @ilumiabelly3563 ปีที่แล้ว

    ตามมาฟังค่ะ 😊😘👍

  • @yaazilla
    @yaazilla 5 หลายเดือนก่อน

    น่าสนใจครับ

  • @mypicturena
    @mypicturena 10 หลายเดือนก่อน

    ไม่ว่าเราเรียนจบ หรือ เชี่ยวชาญอะไรก็ตาม ก็อย่ามั่นใจตัวเองสูงมากจนเกินไป เราต้องทำตามมาตรฐานสากลจึงจะดีที่สุด

  • @Sora-bo2rl
    @Sora-bo2rl ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ เรื่องนี้ผมถือว่าเป็นบทเรียนที่ดีสำหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์แบบผมมาเลยครับ ทำให้เข้าใจความสำคัญของการออกแบบที่ดีเลยครับ ขอบคุณมากครับ

  • @surapongjung6245
    @surapongjung6245 3 หลายเดือนก่อน

    Submersible = ยานสำรวจใต้น้ำ ได้ไหมครับ

  • @piyaratchhongtaweekul
    @piyaratchhongtaweekul ปีที่แล้ว +1

    ทักทายครับ
    ตั้งตารอครับ

  • @Lil_zero37
    @Lil_zero37 ปีที่แล้ว +1

    ยังสงสัยว่า ไททันจมลงได้อย่างไร เพราะข้างในเรือมีโพรงอากาศ

    • @อดัมดือเระ
      @อดัมดือเระ ปีที่แล้ว +1

      มันระเบิดใต้น้ำมันไม่ได้จม

    • @r.j.8774
      @r.j.8774 ปีที่แล้ว +1

      หลักการเดียวกับเรือดำน้ำแหละครับ แต่ถ้าเป็นเรือดำน้ำก็จะมีถังอับเฉาหลายจุดหน่อย

    • @เทพพยากรณ์-อ8ฟ
      @เทพพยากรณ์-อ8ฟ ปีที่แล้ว +2

      ไม่รู้ใช้คำถูกปะ คือเพิ่มแรงจมให้สูงกว่าแรงลอย โดยเพิ่มอัตราส่วนของตัวเรือบวกน้ำให้สูงกว่าอากาศในเรือ

    • @สมพงษ์สาบุบผา
      @สมพงษ์สาบุบผา ปีที่แล้ว

      ​@@เทพพยากรณ์-อ8ฟใช้ตะกั่วถ่วงครับสำหรับเรือลำนี้เวลาลอยขึ้นใช้การปลดตะกั่วถ่วง

    • @เทพพยากรณ์-อ8ฟ
      @เทพพยากรณ์-อ8ฟ ปีที่แล้ว

      @@สมพงษ์สาบุบผา ผมพูดถึงตอนจมนะครับ ตอนลอยก็ปลดตะกั่วก็ได้ หรือปล่อยแก็สไล่น้ำออกจากถังอับเฉาก็ได้ ได้หลายวิธี

  • @หมูทอดH
    @หมูทอดH ปีที่แล้ว +2

    ปัญหามันเกิดจากเรื่องเดียวเลยครับ คือความมักง่ายของมนุษย์ โดยเฉพาะมนุษย์ที่เป็นเจ้าของบริษัท อะไรๆ ก็ลดต้นทุน เพื่อให้กำไรมากที่สุด กำไรน้อยลงหน่อยก็คงไม่ตายหรอกมั้ง

  • @johanlofilelo5359
    @johanlofilelo5359 ปีที่แล้ว

    56:00. มันตรวจเจอครับเเค่ คนไม่สนใจ

  • @tanakridchanburi6748
    @tanakridchanburi6748 ปีที่แล้ว

    สงสัยอ่ะครับ ร่างกายเราไปเอาแรงดันเป็น10ตันมาจากไหนเพื่อสมดุลกับแรงดันภายนอกขณะอยู่บนพื้นดิน

    • @Azathoth-bj4tn
      @Azathoth-bj4tn ปีที่แล้ว +2

      คล้ายสปริงครับ
      ถ้าเราไปอยู่อวกาศที่แรงดันเป็น 0
      ตัวเราจะขยายและพองออกครับ

    • @สมพงษ์สาบุบผา
      @สมพงษ์สาบุบผา ปีที่แล้ว

      อากาศที่เราหายใจไงครับ

  • @wizardClass2
    @wizardClass2 ปีที่แล้ว +1

    สำหรับผมปัญหามันอยู่ที่การใช้รอบสูงสุด ยกตัวอย่างเช่นการขึ้นลงของจรวดอีรอนมัส เมือวัสดุทุกอย่างถูกใช้งานเต็มที่จำนวนรอบการใช้ก็จะถูกจำกัด ซึ่งจากที่ตามข่าวไม่ได้มีการทดสอบว่ายานดำน้ำลงได้กี่รอบก่อนจะเริ่มเสียหาย....อีกเรื่องก็ระบบแจ้งเตือนความเสียหายแบบrealtimeคือหลักการดีนะแต่ลองคิดดูสมมุติเอาไปติดรถยนต์คุณคิดว่าจอดไว้เฉยมันจะพังไหม? มันก็ต้องพังต้องที่รถถูกขับเครื่องยนต์กำลังทำงานใช้ไหมละ แล้วมันจะไปมีประโยชน์อะไรถ้ามันแจ้งเตือนสายเบรกขาดต้อนคุณขับ120 กรณีเดียวกันคือคุณดำลงไปแล้ว3000กว่าแล้วระบบแจ้งว่าโครงสร้างได้รับความเสียหาย...ตู้ม! ธุระกิจแบบนี้ความปลอดภัยต้องมาก่อนเสมอ

  • @malterp5523
    @malterp5523 ปีที่แล้ว +3

    ชอมตรง " ผมจะไม่ให้เกินสี่สิบถึงห้าสิบนาทีละกัน ''แล้วผมที่เหลือบดูเลข 1:01:36 / 1:02:13 🤣🤣🤣

  • @อาติ้งได้ไหม
    @อาติ้งได้ไหม 7 หลายเดือนก่อน

    37:58 เจ้าของเรือน่าจะได้มาฟังคลิปนี้ก่อน โศกนาฏกรรมครั้งนี้คงไม่เกิดขึ้น ขอแสดงความเสียใจด้วยนะครับ😢