เหมาเจ๋อตุง ปฏิรูปตัวอักษรจีน เพื่อให้คนจีนรู้หนังสือมากขึ้น | 8 Minute History EP.90

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 3 พ.ค. 2024
  • เนื่องในโอกาสวันตรุษจีน เอพิโสดนี้จะพาไปย้อนรอยที่มาของการปฏิรูปตัวอักษรจีน ในช่วงหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบบสาธารณรัฐ ‘เหมาเจ๋อตุง’ เลือกที่จะพัฒนาตัวอักษรของประเทศจีน เพื่อให้ประชากรอ่านออกเขียนได้ และสะท้อนวัฒนธรรมจีนผ่านระบบตัวอักษร Simplified Chinese และพัฒนาไปสู่ระบบพินอิน โดยโจวโหย่วกวง จนพลเมืองจีนมีความสามารถในการเรียนหนังสือได้มากยิ่งขึ้น ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในการปฏิรูปสังคมจีน และทำให้ภาษาจีนกลายมาเป็นอีกหนึ่งภาษากลางที่นิยมกันทั่วโลกในปัจจุบัน
    Time Index
    00:00 Introduce
    02:54 วิวัฒนาการอักษรจีนยุคแรกเริ่ม
    06:32 Bopomofo
    08:36 ปฏิรูปอักษรจีน
    14:35 Pinyin
    17:08 พัฒนาการแป้นพิมพ์อักษรจีน
    ---------------
    ติดตาม 8 Minute History ในช่องทางต่างๆ
    Apple Podcasts: apple.co/3cfxNjL
    Spotify: spoti.fi/3ejXUsM
    Website: thestandard.co/podcast_channe...
    SoundCloud: bit.ly/8minutes-history
    #ประวัติศาสตร์ #เหมาเจ๋อตุง #8MinuteHistory #TheStandardPodcast

ความคิดเห็น • 298

  • @TheStandardPodcast
    @TheStandardPodcast  2 ปีที่แล้ว +39

    00:00 Introduce
    02:54 วิวัฒนาการอักษรจีนยุคแรกเริ่ม
    06:32 Bopomofo
    08:36 ปฏิรูปอักษรจีน
    14:35 Pinyin
    17:08 พัฒนาการแป้นพิมพ์อักษรจีน

    • @user-kh9ml1gi3e
      @user-kh9ml1gi3e 2 ปีที่แล้ว +7

      อักษรจีนย่อมีการใช้ก่อนยุคเหมาจะเห็นได้จากบทกวีในอดีต รัฐบาลเหมาเจ๋อตงได้นำหบักการมาปรับปรุงเพื่อให้เขียนง่ายขึ้น และการปรับปรุงอักษรจีนเพียงร้อยละห้าเท่านั้นไม้ได้ทำการปรับปรุงทั้งหมดครับ กนังสือพิมพ์จีนในไทย ฮ่องกง ใต้หวัน ใช้อักษรจีนเก่าในปัจจุบัน

    • @suthonkhokasai7988
      @suthonkhokasai7988 ปีที่แล้ว

      -

    • @merryma7765
      @merryma7765 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากค่ะ ถือว่าเป็น 20นาทีที่ครบแน่น เข้าใจชัดเจน เยี่ยมมากค่ะ

  • @wivakt2935
    @wivakt2935 2 ปีที่แล้ว +131

    ส่วนตัวชอบตัวเต็ม 繁體字(ฝานถี่จื่อ)นอกจากความเป็นเอกลักษณ์ ความสวยงามของลำดับขีดก็หายไปด้วย รวมถึงความหมายก็หายไปด้วย เช่นคำว่า 愛 ถ้าไม่มี ซิน心 รักก็ไม่ได้ใช่ใจรักอีกแล้ว และคำว่า 親 ที่แปลว่า ครอบครัว พอไม่มี ตัวเจี๋ยน見 ทุกวันนี้ครอบครัว ไม่ค่อยหันหน้ามาพบ พูดคุยกัน เพราะ เจี้ยนแปลว่า พบปะ เจอหน้ากัน บลาๆๆๆ อีกมากมาย เพราะจีนดั้งเดิม ตัวเต็มที่ว่านั้น ก็แฝงความหมายไปในตัว ทำให้ง่ายต่อการจำมากกว่าตัวย่อ ที่ต้องจำอย่างเดียว แต่ไม่มีรากศัพท์ เช่น ถ้าเห็นตัวนี้ 言yán ประกอบในตัวอักษรใด ก็จะรู้ละว่า คำนี้เกี่ยวกับคำพูดแน่นอน เช่น 語(ภาษา) 話(คำพูด) 說(พูด) 講(พูด คุย บรรยาย) 謝(ขอบคุณ) 誠語(สุภาษิต คำพังเพย)(เฉิงตัวเดียว ก็แปลว่า ศรัทธา) 信(เชื่อมั่น สัจจะ) ทั้งหมดนี้ล้วนเกี่ยวกับการพูดโดยสิ้น แม้จะอ่านเหมือนกัน ออกเสียงเหมือนกัน แต่มีรากศัพท์เข้าก็จะรู้ความหมาย จะจำความหมายได้ง่ายขึ้นด้วย นี่คือ เอกลักษณ์ที่ซ่อนในตัวอักษรเต็ม ที่ใครบอกว่ายาก ถ้าเข้าใจตัวอักษรแล้ว จะรู้ว่า ตัวเต็มแค่ขีดเยอะ แต่ความหมายและความเข้าใจ นั้นลึกซึ้งมากๆๆๆ

    • @user-vp7rc9oe2c
      @user-vp7rc9oe2c 2 ปีที่แล้ว +8

      จริง คำว่า สัจจะ信 มาจากรากศัพย์คือ คำพูด ของ คน

    • @firuinjapan
      @firuinjapan 2 ปีที่แล้ว +11

      ตอนเรียนคันจิก็ฟีลเดียวกันเลยครับ ทุกตัวอักษรมีความหมายในตัวมัน แล้วเวลาเราเขียนแต่ละสโตรคมันให้ความรู้สึกค่ตฟินเลยครับ555

    • @user-fx6jt8gm6b
      @user-fx6jt8gm6b 2 ปีที่แล้ว +7

      ขีดเยอะมากบางที เจ้าของภาษาก็ตกขีดนะครับ เหล่าซือที่เคยสอน ยังมีตกขีดเลย แต่ไม่บอกว่าแกเขียนผิด555

    • @usa9116
      @usa9116 2 ปีที่แล้ว +11

      พ่อเราก็บอกว่าตัวอักษรแบบเดิมมีความหมายแฝงที่มีความเป็นศิลปะ
      คนอดีตขยันมาก จดจำได้เยอะมากๆ. ในขณะที่เราเรียนแล้วบอกว่ายากสุดๆไม่ไหว 55 เรียนได้แค่ไม่นานก็ท้อเลิกเรียน เสียดายจริงๆ เป็นคนจีนแต่ไม่รู้จักภาษีจีน น่าอายสุดๆ

    • @nuttawatsubcharoen1512
      @nuttawatsubcharoen1512 2 ปีที่แล้ว +14

      มันเหมาะกับ ชนชันปัญญาชนที่มีเวลานั่งศึกษาครับ แต่ในสภาพสังคมจริง ชนชันแรงงานและเกษตรกรที่ ใช้เวลาทั้งวันทำมาหากิน ยากครับ ที่จะมานั่งศึกษาอย่างลึกซึ้ง อีกอย่าง ถ้าเอามาเขียนโปรแกรมจากเลขฐานสอง ของภาษาคอมพิ้วเตอร์ ตายอย่างเดียวครับงานนี้ 555555555 คนจีนอาจจะต้องเปลี่ยนไปใช้ อังกฤษเลยก็ได้ง่ายกว่า

  • @alexlo7708
    @alexlo7708 ปีที่แล้ว +14

    เคยอ่านเจอ ในข่าวฝรั่ง เหมาถึงกับมีแนวคิด จะเอาตัวอักษรฝรั่งมาสะกดคำภาษาจีนแทนตัวหนังสือจีนกันเลยทีเดียว
    เหมาเคยเปรยเรื่องนี้ใหสตาลินฟัง
    สตาลิน ฟังแล้วถึงกับอึ้ง แล้วสตาลินก็พูดกับเหมาว่า ตัวอักษรของท่านเป็นรากฐานของวัฒนธรรมแห่งชนชาติท่านมานับพันปี หากคิดจะเปลี่ยนเป็นตัวหนังสือฝรั่ง ก็โปรดไตร่ตรองให้ดี

  • @RedDPhoenix
    @RedDPhoenix 2 ปีที่แล้ว +46

    ปรับให้มีขีดน้อยลงทำให้จำง่ายเขียนได้ง่ายและไวขึ้น แต่ยังไงสำหรับผมคิดว่าอักษรตัวเต็มดูดีกว่าเพราะดูมีเอกลักษณ์ สื่อความหมายได้ตรง และอีกอย่างนึงคือผมคิดว่ามันดูสวยดี

    • @zachtonator9797
      @zachtonator9797 2 ปีที่แล้ว +15

      ผมว่าอาจจะจริงครับผม อย่างเช่นคำว่า "รัก(爱)" ในจีนกลาง พอไม่มีตัว Radical หัวใจ (心) แล้วมันดูเหมือนขาดอะไรไปบ้างอย่าง เป็นคำว่ารักแต่ไม่มีหัวใจ

    • @RedDPhoenix
      @RedDPhoenix 2 ปีที่แล้ว +16

      @@zachtonator9797
      ใช่ๆ อีกตัวนึงที่ผมคิดว่าแปลกคือ คำว่า“龍”(หลงแปลว่ามังกร) ในจีนตัวย่อจะเขียนแบบนี้ “龙” ผมว่ามันดูไม่สวยสมคำว่ามังกรเลย

    • @wivakt2935
      @wivakt2935 2 ปีที่แล้ว +9

      จริงค่ะ เห็นด้วยมากๆๆ นอกจากความเป็นเอกลักษณ์ ความสวยงามของลำดับขีดก็หายไปด้วย รวมถึงความหมายก็หายไปด้วย เช่นคำว่า 愛 ถ้าไม่มี ซิน心 รักก็ไม่ได้ใช้ใจรักอีกแล้ว และคำว่า 親 ที่แปลว่า ครอบครัว พอไม่มี ตัวเจี้ยน見 ทุกวันนี้ครอบครัว ไม่ค่อยหันหน้ามาพบ พูดคุยกัน เพราะ เจี้ยนแปลว่า พบปะ เจอหน้ากัน บลาๆๆๆ อีกมากมาย เพราะจีนดั้งเดิม ตัวเต็มที่ว่านั้น ก็แฝงความหมายไปในตัว ทำให้ง่ายต่อการจำมากกว่าตัวย่อ ที่ต้องจำอย่างเดียว แต่ไม่มีรากศัพท์ เช่น ถ้าเห็นตัวนี้ 言yán ประกอบในตัวอักษรใด ก็จะรู้ละว่า คำนี้เกี่ยวกับคำพูดแน่นอน เช่น 語(ภาษา) 話(คำพูด) 說(พูด) 講(พูด คุย บรรยาย) 謝(ขอบคุณ) 誠語(สุภาษิต คำพังเพย)(เฉิงตัวเดียว ก็แปลว่า ศรัทธา) 信(เชื่อมั่น สัจจะ) ทั้งหมดนี้ล้วนเกี่ยวกับการพูดโดยสิ้น แม้จะอ่านเหมือนกัน ออกเสียงเหมือนกัน แต่มีรากศัพท์เข้าก็จะรู้ความหมาย จะจำความหมายได้ง่ายขึ้นด้วย นี่คือ เอกลักษณ์ที่ซ่อนในตัวอักษรเต็ม ที่ใครบอกว่ายาก ถ้าเข้าใจตัวอักษรแล้ว จะรู้ว่า ตัวเต็มแค่ขีดเยอะ แต่ความหมายและความเข้าใจ นั้นลึกซึ้งมากๆๆ

    • @ThnbAnimatrll
      @ThnbAnimatrll 2 ปีที่แล้ว +6

      แต่ยังไงการทำให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ก็ยังสำคัญกว่า

    • @user-xi3ds5jy5n
      @user-xi3ds5jy5n 2 ปีที่แล้ว

      @@ThnbAnimatrll ใช้

  • @xiaolong1095
    @xiaolong1095 2 ปีที่แล้ว +82

    6:48 注音符号 (Zhù yīn fú hào) อ่านว่า จู้ยินฝู 'เฮ่า' ไม่ใช่ 'โฮ่ว' ก่อนการทำคอนเทนต์ภาษาจีนควรปรึกษาผู้รู้เพื่อความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น คุณชอบพูดเสียงวรรณยุกต์ผิด ผมติดตามมาหลายคอนเทนต์แล้ว แต่ครั้งนี้ผิดยันสระเลย เนื้อหาดีครับ แต่ตรงภาษาจีนต้องแก้ไขปรับปรุงเรื่องเสียงอ่านภาษาจีนครับ จะทำให้คอนเทนต์ของคุณมีเสน่ห์ยิ่งขึ้น ในฐานะผู้รู้ภาษาจีนปล่อยผ่านไม่ได้จริง ๆ ครับ

    • @wivakt2935
      @wivakt2935 2 ปีที่แล้ว +14

      ใช่ๆๆๆ 笔画หรือตัว 筆畫 bǐhuà อ่านว่า ปี่ฮว่า ไม่ใช่ ปี่โฮ่ว แต่คอนเทนท์ดี ชอบๆๆ

    • @MrHeyki0086
      @MrHeyki0086 2 ปีที่แล้ว +1

      ฮ้าว โอ......ควับกล้ำเร็วๆ

    • @Noobmaster-qj7wq
      @Noobmaster-qj7wq 2 ปีที่แล้ว +4

      พ่วนแหล่ว ขี้มาดคัก

    • @greyisthewhiteandblack
      @greyisthewhiteandblack 2 ปีที่แล้ว

      ครับผม

    • @user-oz7lr4bg9x
      @user-oz7lr4bg9x 2 ปีที่แล้ว +4

      เรียกคำจีนมั่วทุกชื่อ ดูเขาไม่น่าจะรู้ภาษาจีนนะ

  • @LiTzuMin
    @LiTzuMin 2 ปีที่แล้ว +21

    ย่อจนเละเทะเลย
    ตัวคินจิของญี่ปุ่น ย่อบางส่วนได้แบบดูดีเก็บความหมายไว้ได้มากกว่าเยอะครับ

  • @user-bk3bc9ou9c
    @user-bk3bc9ou9c ปีที่แล้ว +7

    ชอบอักษรจีนตัวเต็มครับ อักษรจีนสวย ตอนคัดลายมือ ต้องเขียนแต่ละอักษรในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัส และเขียนด้วยภู่กันจีน เหมือนอักษรภาพวาด แค่ตัวอักษรที่เป็นคำมงคล เขียนด้วยภู่กันจีน ก็เอาใส่กรอบแขวนโชว์ได้แล้ว สวยงามและเหมือน มีเวทมนตร์ในตัวอักษรนั้น

  • @user-rl5yp8oz4f
    @user-rl5yp8oz4f 2 ปีที่แล้ว +32

    ตัวอักษรจีนเป็นภาษาภาพแบบอียิปต์ มีความหมายแฝง ความหมายภาพรวมกัน เช่น ความคิด 想 มีต้นไม้ ตา หัวใจ ตีความหมายเป็นรากแก้วแห่งใจ ก็คือความคิด

    • @khunphraeokha
      @khunphraeokha 2 ปีที่แล้ว +2

      🌳=樹

    • @mosawdxxt101
      @mosawdxxt101 2 หลายเดือนก่อน

      @@khunphraeokha ถ้านั่นแปลว่าต้นไม้ กว่าจะเขียนเสร็จใช้เวลากี่ปีครับ555

    • @khunphraeokha
      @khunphraeokha 2 หลายเดือนก่อน

      @@mosawdxxt101 🌳=树

  • @pijppa
    @pijppa 2 ปีที่แล้ว +7

    ก็ดีเรียนง่าย สมัยเด็กหัดเขียนตัวเต็มยากมากเมื่อยมือ แต่พอได้เรียนตัวย่อ เรียบง่าย แต่ยังไงก็ยังรักชอบตัวเต็ม

  • @a0030439
    @a0030439 2 ปีที่แล้ว +11

    จริงๆอักษรจีนตัวเต็มอ่านง่ายกว่าตัวย่อ เพราะอักษรจีนเป็นอักษรภาพ ตัวเต็มมีองค์ประกอบของอักษรจีนครบหมด ไม่ใช่ตัวย่ออ่านง่ายกว่าตัวเต็มอย่างที่หลายคนเข้าใจกัน
    คนสมัยก่อนไม่ใช่ว่าอ่านตัวเต็ม หรือใช้ตัวเต็มแล้วต้องเขียนเป็นตัวเต็มเป๊ะๆ เพราะการเขียนที่ไม่ใช่บริบทที่เป็นทางการเค้ามักใช้ตัวหวัด หรือตัวกึ่งหวัด คือเป็นการแยกระหว่างอักษรตัวพิมพ์(ตัวเต็ม)กับตัวเขียน(ตัวหวัดหรือกึ่งหวัด) แต่จีนปัจจุบันเอาสร้างตัวย่อขึ้นมาใช้เป็นทั้งตัวอ่านและตัวเขียนหมดเลย แถมไม่บอกประวัติศาสตร์(คือพยายามปกปิดและอวยการนำตัวย่อมาใช้)ที่ถูกต้องให้ได้รับรู้
    ตัวย่อของจีนปัจจุบันคือย่อมั่วมาก ขาดศิลปะ ย่อแบบไม่เข้าใจประวัติศาสตร์ความเป็นมา หลายตัวนั่งเทียนปั้นขึ้นมาเอง
    คนเรียนจีนยุคนี้ถูกบังคับให้เรียนตัวย่อก่อน ทำให้รู้สึกว่าตัวย่อเรียนง่ายกว่าตัวเต็ม แถมเป็นการทำลายทักษะเรียนรู้ที่จะเข้าใจตัวเต็มด้วย เพราะถ้าเรียนตัวย่อก่อน ตัวเต็มจะเรียนยากขึ้นไปอีก

    • @khunphraeokha
      @khunphraeokha 2 ปีที่แล้ว

      👤🥄🍚

    • @chennopphanant9514
      @chennopphanant9514 ปีที่แล้ว

      เห็นด้วยกับคุณเลย จีนตัวย่อ ดูมักง่าย ไร้ศิลปะ ช่างเหมือนกับนิสัยจีนแดงจริงๆ

  • @somchaisuphankomut6049
    @somchaisuphankomut6049 ปีที่แล้ว +3

    ผมเรียนภาษา จีน เมื่อ 6 ขวบ สมัยโน่น ครู สอนให้จำ 4 ขั้นตอน เพราะว่า ตัวหนังสือ จีน เป็นตัว 4 เหลี่ยม แบ่งแยก เป็น 4 ช่อง สี่เหลี่ยม ก็จะจำ ได้มากขึ้น ผมก็เรียน เปอ เพอ มอ เฟอ อยู่ ก็จำไม่ยาก เท่าไหร่ ภายหลัง จอมพลสฤษดิ์ สั่งห้ามเรียน ใครเรียน ใครสอน จะถูกจับ ข้อหา คอมมิวนิสต์ ผมไปเรียน ภากค่ำ คุณครูที่สอน ถูกจับ และถูก เนรเทศ ผมก็ ยังเรียน ต่อ ครับ 78 แล้วครับ สวัสดีครับ

  • @strawberrynukky4666
    @strawberrynukky4666 ปีที่แล้ว +4

    ส่วนตัวเรียนตัวเขียนมาทั้ง 2 แบบ ตัวเต็ม และตัวย่อ แต่กลับจำตัวเต็มหรือแบบเก่าได้ดีกว่าทั้งที่จำนวนเส้นเยอะกว่ามาก นั้นเพราะมองแล้วเห็นภาพเลยจำได้ง่ายกว่า ในขณะที่ตัวย่อ ขีดน้อยกว่าก็จริงแต่หาหลักการจำยากกว่า เพราะมองยังงัยก็ไม่เห็นเป็นภาพให้จดจำ คำบางคำ ขีดน้อยแต่กลับจำยากมาก เพียงแต่ตัวย่อเขียนได้เร็วกว่าเท่านั้นเอง นี่เป็นความเห็นส่วนตัวนะคะ

  • @SJTuan
    @SJTuan 2 ปีที่แล้ว +28

    ผมว่าภาษาอังกฤษดีสุด 26ตัวครอบจักรวาล ทำให้เราเข้าถึงความรู้ได้เร็วขึ้น โลกก็จะพัฒนาได้เร็วขึ้น

    • @user-yo5hq4hi8y
      @user-yo5hq4hi8y 2 ปีที่แล้ว +5

      เนาะง่ายสุดละง่ายกว่าไทยด้วยตอนเด็กภาษาไทยอยากมากจริงๆ

    • @youxtv9676
      @youxtv9676 2 ปีที่แล้ว +5

      อังกฤษเขียนเหมือนกันออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี มักจะถามกันบ่อยๆ ชื่อคุณเขียนยังไง? ออกเสียงยังไง? ไทยดีที่สุดจะดียิ่งขึ้นถ้าตัดอักษรหัวแตกต่างๆออก

    • @user-fx6jt8gm6b
      @user-fx6jt8gm6b 2 ปีที่แล้ว +3

      @@youxtv9676 แล้วของจีน ออกเสียงเหมือนกันเยอะมากแต่เขียนได้ต่างๆกัน อย่างชื่อคน เขาจะแน่ใจได้ไงครับว่า ถ้ามีคนบอกชื่อแล้วเขาจะเขียนถูกแน่ๆอ่ะครับ

    • @youxtv9676
      @youxtv9676 2 ปีที่แล้ว +7

      @@user-fx6jt8gm6b ภาษาจีนยากมาก อักษรนึงแทนคำๆนึง สิ่งใหม่ๆ คำใหม่ๆมีขึ้นเสมอ คงมีอักษรใหม่เกิดขึ้นมาเพียบ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย ใช้อักษรประกอบเป็นคำ จะมีสิ่งใหม่ คำใหม่เกิดขึ้น เราก็ใช้อักษรที่มีสร้างคำได้เป็นล้าน

    • @user-mb3ne6dr2z
      @user-mb3ne6dr2z 2 ปีที่แล้ว

      ภาษาเต๋าในนิยายจีนง่ายกว่า
      เต๋า เต๋า เต๋า = ดอกไม้บานสะพรึง กลิ่นหอมหวลงมงาย
      เต๋า เต๋า เต๋า = สามพันชีวิต ลิขิตไว้ลงดินเหลืองตามกาลเวลา

  • @shuchanginjapan1117
    @shuchanginjapan1117 2 ปีที่แล้ว +6

    ตัวอักษรจีนแบบโบราณ ที่เขียนเส้นเยอะๆน่ะ มันมีความหมายในตัวของมันเอง แต่การที่ไปย่อเส้นขนาดนั้น เขียนอ่านง่ายขึ้นก็จริง แต่เนื่องจากภาษีจีนมีตัวอักษรเยอะมาก ถ้าเกิดมีอักษรที่ไม่สามารถอ่านได้ก็ไม่สามารถเดาความหมายได้ค่ะ

  • @steamtechnicolor461
    @steamtechnicolor461 2 ปีที่แล้ว +28

    ผมคิดว่าอักษรจีนตัวเต็มมีความสวยงาม เหมาะกับการใช้ในงานศิลปะ ทำป้าย ชื่อสถานที่ สื่อต่างๆ ที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ความรวดเร็วเร่งรีบในการเขียน อันที่จริงก็อยากให้จีนแผ่นดินใหญ่ใจกว้างเหมือนขนาดพื้นที่ของประเทศจีน ควรให้อิสระแก่ชาวจีนในการตัดสินใจเลือกใช้งานตัวอักษรจีน จะใช้ตัวเต็มก็ไม่ผิดอะไรอย่างเนี้ย ไม่ใช่ไปเห็นร้านไหนขึ้นป้ายร้านเป็นอักษรจีนตัวเต็มแล้วไปสั่งให้ปลดป้ายออก เมื่อถึงตอนนั้น เมื่อสังคมจีนแผ่นดินใหญ่มีการเปิดกว้าง เราคงจะได้เห็นอักษรจีนตัวเต็มกลับมาปรากฏอีกครั้งในจีนแผ่นดินใหญ่มากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน บางทีอาจเป็นการผสมผสานใช้งานร่วมกันระหว่างอักษรจีนสองชนิดนี้

  • @ZAPKRTAINA
    @ZAPKRTAINA 2 ปีที่แล้ว +15

    อักษรจีนนี่ก็อยู่ทนเหมือนกันนะเป็นระบบภาพสื่อความหมายแบบเดิมเป็นพันๆปี ตัวนึงแทนความหมายนึง
    ก็สงสัยนะว่าถ้าอักษรจีนเปลี่ยนไปเป็นระบบ อักษรสื่อเสียงแบบสระพยัญชนะ จะเป็นยังไง
    อักษรอียิปต์เองก็เคยเป็นระบบภาพสื่อความหมายมาก่อนแล้วก็เปลี่ยนเป็นระบบภาพสื่อเสียงแทนแต่ตอนนั้นยังไม่มีสระต้องจำเอาว่าออกเสียงอะไร จนชาวฟินิเชียนเอามาทำให้ง่ายขึ้นเริ่มแยกเสียงสระพยัญชนะประสมคำ แล้วก็พัฒนาต่อไปเป็นอักษรกรีกและโรมัน

    • @khunphraeokha
      @khunphraeokha 2 ปีที่แล้ว

      นึก"ภาพ"ไม่ออกเลย

  • @jingxiangp.5785
    @jingxiangp.5785 2 ปีที่แล้ว +1

    เนื้อหาละเอียดมากค่ะ สุดยอดเลย

  • @xiaolong1095
    @xiaolong1095 2 ปีที่แล้ว +13

    11.23 笔画 (bǐ huà)อ่านว่า ปี่ 'ฮว่า' ไม่ใช่ 'โฮ่ว' อ่านออกเสียงสระผิดอีกแล้วครับ

  • @chertamz
    @chertamz 2 ปีที่แล้ว +76

    รัฐบาลจีนนางมีการย่อเพิ่มในซีซั่น 2 ด้วยค่ะ ย่อเพิ่มอีกเยอะมากๆ แต่โครงการถูกพับล้มไป เพราะพวกอนุรักษ์นิยมบอกว่าย่อจนแทบไม่เหลือเค้าโครงเดิมแล้ว และดูเหมือนอักษรญี่ปุ่นมากเกินไป อีกทั้งคนส่วนใหญ่ก็เริ่มชินกับตัวย่อในซีซั่นแรกแล้ว ถ้าต้องมาเรียนเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงใหม่ จะวุ่ยวายและสับสน และเกิดการเข้ามาของระบบการพิมพ์ในคอมพิวเตอร์ที่ไม่ต้องอาศัยการเขียนอีกต่อไปแล้ว ระบบการย่อจึงหยุดไว้เพียงเท่านั้น เพราะคนใช้พิมพ์ Pinyin เอา การย่อซีซั่น 2 จึงไม่จำเป็นขนาดนั้นแล้ว

    • @huasaepung5792
      @huasaepung5792 2 ปีที่แล้ว +8

      ย่อจนตัวอักษร น่าเกลียดมากแล้ว ไม่มีความสวยงาม ไม่มีเอกลักษณ์ ไม่มีความคลาสสิค เลย☹️😞🥴

    • @somwangphulsombat8468
      @somwangphulsombat8468 2 ปีที่แล้ว +4

      ที่สำคัญ เมื่อจีนคิดตัวย่อขึ้นมา ตัวคันจิของญี่ปุ่นที่ยืมไปจากจีน ก็ใช้ตัวย่อตามทันทีไม่นาน

    • @orpheouz
      @orpheouz ปีที่แล้ว +2

      @@somwangphulsombat8468 ตัวไหนบ้างเหรอครับ ผมรู้แต่พวก 麺類、車、馬、語 ยังใช้แบบตัวเต็มอยู่เลย

    • @somwangphulsombat8468
      @somwangphulsombat8468 ปีที่แล้ว

      @@orpheouz เช่น คำว่า ประตู , โรงเรียน

    • @voraluckthammanichanon7260
      @voraluckthammanichanon7260 ปีที่แล้ว +9

      @@somwangphulsombat8468
      เรียนคุณสมหวังค่ะ😃🙏🙇🏻‍♀️
      ในฐานะที่ดิฉันเรียนตัวคันจยิญี่ปุ่นมาหลายปี,
      และมีเพื่อนชาวญี่ปุ่นหลายคน,
      เท่าที่ดิฉันทราบ,
      คนญี่ปุ่นจะเขียนคันจยิแบบย่อในกรณีที่เป็นการจดโน้ตส่วนตัว(อ่านเอง),
      หรือแม้แต่การเขียนถึงใครโดยใช้คันจยิตัวย่อ,
      ผู้รับ(คนญี่ปุ่นหลายคน)จะรู้สึกว่าคนเขียนท่านนั้นไม่ให้เกียรติคนรับค่ะ
      ถ้าหากเป็นเอกสารราชการต้องเขียนคันจยิตัวเต็มค่ะ,
      และดิฉันยังไม่เคยเห็นรัฐบาลญี่ปุ่นหน่วยงานใดๆออกมาประกาศใช้คันจยิแบบย่อได้เลยค่ะ,
      หากกรุณาเมตตา จะขอข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องที่รัฐญี่ปุ่นประกาศปรับการใช้คันจยิแบบย่อด้วยนะคะ🙏🙇🏻‍♀️
      ขอขอบคุณ&ด้วยความเคารพค่ะ🙏🙇🏻‍♀️😃

  • @hinhger
    @hinhger 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับ

  • @MrNankho
    @MrNankho 2 ปีที่แล้ว +9

    ภาษาจีนง่ายนิดเดียว ................. ที่เหลือยากหมดดด

  • @SA-561
    @SA-561 2 ปีที่แล้ว

    อธิบายเรื่องยากมาก ให้เข้าใจได้ง่าย
    เก่งมากครับ

  • @Bais.lifechannel
    @Bais.lifechannel ปีที่แล้ว +3

    ชอบรายการแบบนี้มาก ๆ อัพเดตบ่อยๆ นะค้า สำหรับคนเรียนภาษาจีนคือ อินมากๆ

  • @thaismilebuffalo931
    @thaismilebuffalo931 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณบรรพบุรุษไทย ลูกหลานไทยไม่ต้องปวดหัวกับตัวอักษรไทย

  • @yyw.6197
    @yyw.6197 8 หลายเดือนก่อน +1

    เหมาเป็นผู้นำมี่มีความกล้าหาญในการสร้างความเปลี่ยนแปลงในทุกเรื่อง ที่ถือว่าก้าวหน้าทันสมัยและนำไปสู่ความเจริญ ซึ่งความกล้าแบบนี้หายากมากในสังคมไทย ไม่ค่อยมีใครกล้าเปลี่ยน และเปลี่ยนได้สำเร็จ

  • @tasanttta
    @tasanttta 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ

  • @SurapholKruasuwan
    @SurapholKruasuwan 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมยุทธ ขอบคุณพันครั้งครับผม

  • @Faruox
    @Faruox 2 ปีที่แล้ว

    สนใจเรื่องนี้มานาน ขอบคุณครับ

  • @jota8424
    @jota8424 ปีที่แล้ว

    ชัดเจน

  • @Arr_Montt
    @Arr_Montt 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณครับ ที่นำข้อมูลและเรื่องราวดีๆมาเล่าให้ฟังเสมอ เป็นกำลังใจให้ครับ

  • @hainan98
    @hainan98 ปีที่แล้ว

    คุณวิทย์ของจริง

  • @attentionchinese
    @attentionchinese 2 ปีที่แล้ว +6

    ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆครับ

  • @endorphinz03
    @endorphinz03 2 ปีที่แล้ว +14

    คือเราเรียนอยู่ที่ฮ่องกง ตัวอักษรที่ใช้เรียนคือจีนตัวเต็มแบบไต้หวัน แล้วคือไม่ได้ใช่ภาษาไต้หวันหรือภาษาจีนกลางในการเรียกหรือพูดเลย (พูดง่ายๆก็คือคนที่อยู่ฮ่องกงมาเก๊าจะใช่ภาษาจีนที่คนไทยหรือคนทั่วโลกเรียนกันน้อยมาก) แต่จะใช่เป็นภาษาจีนกวางตุ้งแทน เราก็เลยอานพูดแบบจีนตัวย่อไม่ได้ ได้แบบบางคำแค่นั้น😄

    • @pordee
      @pordee 2 ปีที่แล้ว +7

      ดีแล้วค่ะ เราเป็นหนึ่งคนที่รู้สึก appreciate ในภาษากวางตุ้งมากๆ ยิ่งสื่อบันเทิงฮ่องกงยุค 80 90 ไม่ว่าจะเป็นเพลงหรือภาพยนตร์ คือเราต้องมาหาอ่านซับไทย หรือบางครั้งซับอังกฤษด้วยซ้ำ เราอยากฟังพูดภาษากวางตุ้งได้เหมือนคุณมากๆเลยค่ะ😭

    • @mayyang8276
      @mayyang8276 2 ปีที่แล้ว +5

      @@pordee เราก็ชอบภาษากวางตุ้งเหมือนกันเลยค่ะ เราว่ามันเพราะมากเลย โดยเฉพาะเวลาที่มันเป็นเนื้อเพลง ตอนร้องก็รู้สึกว่าเสียงมันเพราะกว่าจีนกลาง ตอนอ่านเป็นเนื้อก็รู้สึกว่าเพราะกว่าแล้วความหมายก็ลึกซึ้งกว่า

    • @user-yo5hq4hi8y
      @user-yo5hq4hi8y 2 ปีที่แล้ว +2

      @@mayyang8276 รู้สึกเหมือนกันเลยว่ามันมีเสน่แต่ไม่รู้จะดรียนแล้วพูดกับใครใด้บ้างเพื่อเป็นทางการจริงๆเพราะเขาก็ใช้จีนกลางแม้กระทั้งใต้หสันก็พูดเหมือนจีนแผ่นดินใหญ่แค่ค่างกันอารมณ์ล่วไทย

    • @mayyang8276
      @mayyang8276 2 ปีที่แล้ว +3

      @@user-yo5hq4hi8y ไปฮ่องกง, หรือประเทศจีนภูมิภาคกวางตุ้ง(ภาคใต้)ก็ใช้ภาษากวางตุ้งเป็นส่วนใหญ่นะคะ เราเคยไปกวางโจว คนที่นั่นก็พูดกวางตุ้งเป็นส่วนใหญ่(เวลาคุยกันส่วนตัว) พูดจีนกลางติดสำเนียงกวางตุ้งเยอะมาก ถึงภาษาทางการจะใช้ภาษาจีนกลางก็เถอะ อีกอย่างชาวจีนเชื้อสายกวางตุ้งก็มีอยู่ทั่วโลกด้วย คนจีนแบบนี้บางคนก็พูดได้แค่กวางตุ้ง พูดจีนกลางไม่ได้ด้วยซ้ำ

    • @usa9116
      @usa9116 2 ปีที่แล้ว +2

      ภาษากวางตุ้ง​เพราะมาก เราช้อบชอบ นุ่มนวลน่าฟังค่ะ❤️❤️

  • @anenaung-aphinant2639
    @anenaung-aphinant2639 2 ปีที่แล้ว

    ยอดเยี่ยมครับ

  • @phansakleephokhanon5626
    @phansakleephokhanon5626 2 ปีที่แล้ว

    สุดยอดครับ

  • @chafuby3202
    @chafuby3202 2 ปีที่แล้ว +20

    อักษรที่ใช้ภาพมาเขียนเป็นตัวหนังสือ ทำให้ต้องจำไปเรื่อยๆทีละตัว ทั้งการอ่านและเขียน ทำให้คนด้อยโอกาสไม่มีเวลามากพอที่จะเขียนและจำได้หมด จึงกลายเป็นคนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ยิ่งปัจจุบันโลกมีวัตถุให้ต้องวาดเป็นภาพมากขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งถึงทางตันเข้าไปทุกที ไม่เหมือนภาษาไทยและอังกฤษ ที่ใช้ผสมอักษร จึงเขียนอะไรก็ได้ ไม่มีวันถึงทางตัน เรียนเพียงเล็กน้อยก็อ่านและเขียนได้หมดแล้ว

    • @PG-lq9ji
      @PG-lq9ji 2 ปีที่แล้ว +2

      อักษรฮั่นมีมา5พันปีจะให้จีนลืมทิ้งว่างั้น

    • @mr.atyrant558
      @mr.atyrant558 2 ปีที่แล้ว +9

      ทุกอย่างต้องมีการพัฒนาสู่ความเจริญรุ่งเรืองในอนาคตสืบไป มิใช่เพ้อเจ้ออยู่กับอดีตโบราณนับพันปีที่ตกยุคหมดสมัยไปแล้ว

    • @jokavinpat
      @jokavinpat 2 ปีที่แล้ว

      +1

    • @mildseason99
      @mildseason99 2 ปีที่แล้ว +2

      รุ้ภาษาจีนกะเขาป่าว คนที่เขาใช้ภาษาจีนในชีวิตทุกวัน เขาชินไม่ต้องจำอะไรมาก ภาษาไทยสะกดคำ คุณจำแต่ละคำได้หมดหรอ ถ้าไม่รุ้ภาษาจีน แสดงใช้ความฉลาดมาพูดแบบไก่ๆ อักษรภาษาจีนมีมาเป้นพันๆปีแรกๆของโลกที่มีภาษาบ่งบอกถึงอารยธรรม ไม่เหมือนคนป่าเพิ่งจะมีอักษรภาษาที่พัฒนาตามเขาไม่นาน ไม่มีกี่ร้อยปีถือว่ายังใหม่

    • @paagjapan
      @paagjapan 2 ปีที่แล้ว +8

      @@mildseason99 แรกๆเหมือนจะดี กะจะเข้าข้างแระ หลังๆเริ่มเหยียด ไม่ไหว 🙈🙈

  • @Ninlakarn
    @Ninlakarn 2 ปีที่แล้ว

    ดีมากครับ

  • @ricardomilo3535
    @ricardomilo3535 2 ปีที่แล้ว +6

    จีนตัวเต็มนั้นมีเสน่ห์มากกว่าไม่งั้นสมัยก่อนคงสอบเข้าราชสำนักจีนกันไม่ง่ายเลย

  • @ewehonda291
    @ewehonda291 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากค่ะ 🙏✌️💖

    • @user-li5rv6us7e
      @user-li5rv6us7e ปีที่แล้ว

      ก็ดีอยู่เขามี

  • @steven3056
    @steven3056 2 ปีที่แล้ว +2

    คำว่าตัวเต็มภาษาจีนมันต้องย้อนไปหลายพันปี ยุคนั้นเขียนยากกก วันนี่คำว่าตัวเต็มหรือตัวย่อก เข้าใจได้เหมือนกัน

  • @KEISHINZAN
    @KEISHINZAN ปีที่แล้ว +1

    有難う御座います。

  • @korawitwoonsin7547
    @korawitwoonsin7547 2 ปีที่แล้ว

    ชอบ

  • @wanchanasorndee9599
    @wanchanasorndee9599 2 ปีที่แล้ว +4

    ชอบเสียงพูดมากครับ ถ้าไม่ได้ฟังตอนนอน นอนไม่หลับเลย555

  • @hmeiaywiev9961
    @hmeiaywiev9961 2 ปีที่แล้ว +19

    นี่ขนาดง่ายขึ้นแล้วนะครับ 🤣🤣

    • @kkzadq
      @kkzadq ปีที่แล้ว

      อย่างน้อยก็ง่ายขึ้น

  • @niwatnum
    @niwatnum ปีที่แล้ว +2

    ภาษาญี่ปุ่นน่าสนใจขีดน้อยมีอักษรจีนแทรกดูมีเอกลักษณ์
    ภาษาจีนก็น่าใช้พินอินผสมอักษรภาพจะได้ไม่ทิ้งเอกลักษณ์จีน.
    ควรแทรกอักษรภาพตรงจุดสำคัญพอ.

  • @matsushimatop
    @matsushimatop ปีที่แล้ว +2

    ภาษาที่ใช้อักษรเฉพาะคำ จะมีความยากเเละเยอะขึ้นทุกวัน เพราะจะมีคำใหม่ๆเกิดขึ้นเสมอ การใช้ตัวอักษรมาใช้เเทนคำก็จะเยอะขึ้นตามไปด้วย !
    การใช้ตัวพยัญชนะอักษรเเต่ละตัว นำมารวมเป็นคำ เป็นประโยค จะง่ายกว่า !
    สมมุตินะว่า คำเสมือนประชากร ไทยมีประชากรน้อยนิด อักษรก็มีไม่เยอะ
    เเต่พี่จีนมีประชากรมหาศาล คำเเต่ละคำที่นำมาใช้ คงมีท่วมหัวพอๆกับประชากรเป็นเเน่
    ภาษาจีน เรียน50000 ใช้จริง 5000 !

  • @tga.
    @tga. 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอให้​เรื่องการปกคองฮ่องกง​ เเละการเลือกตั้ง​ ชาวฮ่องกง​ การเป็นอูย่

  • @exkaracharuangchainun3048
    @exkaracharuangchainun3048 2 ปีที่แล้ว +1

    เปนสารคดีที่สุดยอดมากครับ คนดำเนินการเก่งมาก

  • @jaime2843
    @jaime2843 2 ปีที่แล้ว +36

    ผมชอบตัวอักษรจีน สะปัดผู้กันแบบญี่ปุ่น จะเห็นได้ตามอนิเมะญี่ปุ่นย้อนยุค จะมีท่าไม้ตายเขียนด้วยคันจิ

    • @user-jb3hi8pf4r
      @user-jb3hi8pf4r 2 ปีที่แล้ว +13

      มันเหมือนเพราะญี่ปุ่นยืมมาจากจีนครับ

    • @user-ve6ju1xg7x
      @user-ve6ju1xg7x 2 ปีที่แล้ว +12

      จริงๆอักษรจีนนั้นลดรูปได้เองอยู่แล้ว
      เดิมทีนักปราชญ์ บัณฑิตจีนเขียนหนังสือ อักษรก็จะหวัดจนเกิดอักษรแบบลดรูปอัตโนมัติ
      ดั่งเดิมประเทศญี่ปุ่นรับเอาอักษรจีนมาใช้เป็นอักษรเขียนในภาษาญี่ปุ่น
      ซึ่งนักปราชญ์จีนและปราชญ์ญี่ปุ่น ก็ได้คิดริเริ่มสร้างอักษรญี่ปุ่นขึ้นมาบ้าง
      ซึ่งก็นำอักษรลดรูปซึ่งมีอยู่แล้ว มาใช้แทนเสียงในภาษาญี่ปุ่นเลย ซึ่งจากที่เคยใช้อักษรเติมก็ใช้เป็นอักษรหวัด
      และยึดเอาเป็นอักษรหวัดนั้นเป็นอักษรพื้นฐานของญี่ปุ่นเสียเลย
      ไม่จำเป็นต้องประดิษฐ์ขึ้นใหม่แบบ
      อักษรเกาหลี

    • @chayasajja1936
      @chayasajja1936 2 ปีที่แล้ว +4

      คนญี่ปุ่นมาเยาวราชถึงไม่หลงเพราะอ่านตัวหนัวสือจีนได้นี้เอง

    • @nottius1026
      @nottius1026 2 ปีที่แล้ว +3

      พูดถึงอักษรคันจิ เพื่อนผมเล่าให้ฟังว่าคนที่เรียนภาษาจีนมาก่อนไปเรียนภาษาญี่ปุ่นจะอ่านคันจิคล่องมาก เพราะมันแกะความหมายง่ายขึ้น

    • @somwangphulsombat8468
      @somwangphulsombat8468 2 ปีที่แล้ว +1

      ปัจจุบัน คันจิของญี่ปุ่น ก็ใช้ตัวย่อตาม หลายตัว ครับ

  • @user-vi1hq4dc4r
    @user-vi1hq4dc4r ปีที่แล้ว

    อยากให้เล่า ประวัติศาสตร์จีน ในไทยหน่อยครับ

  • @siapan4584
    @siapan4584 2 ปีที่แล้ว +3

    อันนี้นึกถึงเรื่องที่คล้ายกัน เคยถามเพื่อนอินเดียว่าทำไมคนอินเดียใช้ภาษาอังกฤษได้ดี คำตอบคือ เพราะอินเดียใหญ่และแต่ละพื้นที่ภาษาต่างกัน คนอินเดียเลยใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการคุย

  • @jayshibutani4206
    @jayshibutani4206 ปีที่แล้ว +2

    เห็นคอมเม้นต์ตำหนิติเตียนตัวย่อกันเยอะ ของเราเรียนภาษาญี่ปุ่นมาก่อน ก็จะเข้าใจความตัวเต็มพอสมควร ต่อมาได้เรียนภาษาจีนเป็นตัวย่อ โอโห สวรรค์มาก คนสร้างมีภูมิปัญญาสูงส่งจริงๆ อยากให้คนเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้สร้างตัวอักษร ความจริงเมื่อเรียนไปถึงระดับหนึ่งแล้ว การเข้าใจตัวย่อก็จะทำให้เข้าใจตัวเต็มไปเอง รู้ที่มาที่ไปโดยไม่มีอะไรที่เสียหายทางคุณค่า เหมือนกับว่าเราเข้าใจความหมายที่แท้จริงอยู่ในใจเองค่ะ เวลาเปิดดิก เขาก็ขึ้นตัวเต็มมาให้ดูด้วยตลอดถ้าจะขยันสังเกต เพียงแต่ เมื่อโลกเปลี่ยนไปการใช้งานก็ต้องทำอะไรให้ง่ายขึ้น ตัวเต็มขีดเยอะ จำยาก เป็นแบบดีนี้แล้วค่ะ ปล.เราทำงานเป็นนักแปลนะคะ แปล จีน อังกฤษ ญี่ปุ่น ตอนแรกว่าค่อนข้างโอเคกับภาษาญี่ปุ่น เพราะดูมีฮืรากานะคาตาคานะแทรก อ่านง่าย แต่พออยู่กับภาษาจีนจริงๆที่ใช้แต่ตัวจีนล้วน ได้รู้แล้วว่าระบบภาษาจีนง่ายกว่าญี่ปุ่นอีกมากเลยค่ะ^^

    • @JoJo_EN_JP
      @JoJo_EN_JP 11 หลายเดือนก่อน +1

      จริงครับ นี่ก็ชินกับคันจิมาก่อน พอมาเจอตัวย่อของจีนคือแบบ มันไปได้เร็วจริงๆ แล้วก็รุ้สึกว่ามันสะดวกในการใช้นะ

  • @SuperPromethee
    @SuperPromethee ปีที่แล้ว +1

    ยังไม่เก๋าเท่าเวียดนาม...แต่เจ๋งสุดคือญี่ปุ่น..มีอักษรใข้ 3 แบบในเวลาเดียวกัน..นับถือคนญี่ปุ่นในเรื่องนี้...

  • @NickyDIY101
    @NickyDIY101 2 ปีที่แล้ว +95

    เสียดายไหนๆจะประดิษฐ์ตัวย่อแล้ว น่าจะทำเป็นแบบ คล้ายๆฮิรางานะหรือจู้อินมาใช้ไปเลย ตัวย่อจีนที่ทำมานี่ย่อแบบไม่เป็นระบบ บางตัวรวบขีด บางตัวคล้ายเดิม บางตัวไม่คล้าย บางตัวไปเอาตัวเต็มของคำอื่นมาใช้เป็นตัวย่อ งงสุดๆ ต้องจำล้วนๆ

    • @khunphraeokha
      @khunphraeokha 2 ปีที่แล้ว +15

      ย่ออย่างไรให้งงกว่าเดิม

    • @prak_gb2358
      @prak_gb2358 2 ปีที่แล้ว +3

      ใช่เลย

    • @ThnbAnimatrll
      @ThnbAnimatrll 2 ปีที่แล้ว +14

      ไต้หวันใช้วิธีนั้นครับ เพราะไม่อยากทำตามจีน แต่ก็ไม่ค่อยเวิร์ก

    • @MrHeyki0086
      @MrHeyki0086 2 ปีที่แล้ว +1

      มีครับ

    • @IamGroot-ln1nm
      @IamGroot-ln1nm 2 ปีที่แล้ว

      ดีกว่าไท กระแดะใช้ เสียงไม่ตรงวันยุค
      ต้องจำล้วนๆ
      ถ้าตรงทุกตัว ลูกหลาน ใช้ชีวิตง่ายขึ้น
      เอาเวลามัดยมไป
      เรียน/ฝึกฝีมืออื่นๆ ได้อีกหลายร้อย ชม.

  • @tenchuja8649
    @tenchuja8649 2 ปีที่แล้ว

    สรุป อธิบาย ให้เข้าใจง่าย มากเลยครับ

  • @user-ej4ms7qz7r
    @user-ej4ms7qz7r 2 ปีที่แล้ว +3

    ตัวอักษรย่อ บางตัวก็สวย แต่บางตัวก็ดูแปลกไป เช่น 灵叶笋尘韦
    农书卫卖厂

  • @guitaristtle11
    @guitaristtle11 2 ปีที่แล้ว +11

    กำลังจะนอน เปิดฟังเพลินๆ

    • @Bigcathq
      @Bigcathq 2 ปีที่แล้ว +2

      โอเค กู๊ดมอร์นิ่ง

  • @kovision
    @kovision 2 ปีที่แล้ว +2

    ผมเข้าใจภาษาจีนได้เพราะเรียรภาษาญี่ปุ่น !!!
    แปลกที่ระบบการสอนญี่ปุ่นดีมาก จนผมสามารถเข้าใจภาษาจีนที่เคยเรียนมาแต่เด็กถึง 7 ปี แต่ไม่เข้าใจอะไรเลย

    • @hulehui9208
      @hulehui9208 2 ปีที่แล้ว +1

      ผมก็เข้าใจภาษาญี่ปุ่นได้จากการเรียนจีน5555

    • @strawberrynukky4666
      @strawberrynukky4666 ปีที่แล้ว +1

      ดิฉันคิดว่าอยู่ที่วัยวุฒิมากกว่าค่ะ ตอนเรียนภาษาจีนตอนเด็ก คุณอาจถูกบังคับให้เรียน เลยไม่ได้ใส่ใจเรียนมันมากกว่า ส่วนภาษาญี่ปุ่น ดิฉันเดาว่าคุณมาเรียนตอนเป็นผู้ใหญ่แล้ว จึงมีความสนใจเรียนมากกว่า ทำให้ความเข้าใจได้มากกว่าค่ะ

  • @Catzillator
    @Catzillator ปีที่แล้ว

    อ้อ ที่ผมเรียนเมื่อ 40 ปีก่อนเป็นจู้อินฝูโฮ่ว ... ช่วงวัยรุ่นเบียวๆ นี่ผมต่อต้านผินยินปัจจุบันสุดๆเลย เหอๆๆๆ

  • @Omar1992.
    @Omar1992. 2 ปีที่แล้ว +5

    11:50 คุ้น​ ๆ​ 555555

  • @MrHeyki0086
    @MrHeyki0086 ปีที่แล้ว

    ผมชอบตัวย่อครับ อ่านง่ายกว่า จำง่าย

  • @user-bu4ju1ce4d
    @user-bu4ju1ce4d 2 ปีที่แล้ว +5

    ตัวอักษรจีน / เพลงดาบล้วนๆ ยิ่งตัวอักษรมีความวิจิตรซับซ้อนมาก เพลงดาบยิ่งล้ำลึก รับมือได้ยาก เสียดายข้าถูกทำลายจุดตันเถียน เสียก่อน ตอนนี้จึงจำเป็นต้องฟื้นฟู ต้องหาสมุนไพรขั้นเทพอีกหลายชนิดเพื่อปรุงยา ไม่ว่าจะเป็น ดีหมีทะเลใต้ ปลาวาฬภูเขาไฟฯลฯ บลาๆ

  • @cgv3767
    @cgv3767 ปีที่แล้ว +1

    กว่าจะอ่านออกเขียนได้ทั้งหมด เสียเวลามากกว่าภาษาอังกฤษ ดีที่สมัยนี้มี google translation จึงพอจะแปลตัวหนังสือจีนได้บ้าง ไม่งั้นไม่รู้เรื่องเลยนะ

  • @KruChote
    @KruChote ปีที่แล้ว

    น่าเสียดายนะครับ ที่ตัดสินใจเก็บภาษานี้ไว้ เหนื่อยจัง

    • @user-oj4gk6re2t
      @user-oj4gk6re2t ปีที่แล้ว

      อย่าลืมด้วยภาษาจีนทำให้จีนเป็นปึกแผ่น

  • @KEsya-no7rg
    @KEsya-no7rg 2 ปีที่แล้ว

    Good afternoon

  • @chomsscintaring2777
    @chomsscintaring2777 2 ปีที่แล้ว +7

    ต่างชาติเรียนภาษาจีนกลาง เริ่มจากพินอินจะง่ายและชัดเจน ส่วนตัวเริ่มจากตัวเก่า เลิกเรียนไปเลย แต่มาเริ่มต้นเรียนใหม่จากพินอินทำให้เรียนสนุกและพัฒนาได้เร็ว

  • @daisykimmihyun
    @daisykimmihyun 4 วันที่ผ่านมา

    12:20 คำนี้คือคำว่า ฮั่นจื้อ 汉字 นะคะ เจี๋ยนถี่คือ 简体 และฝานถี่คือ 繁體 อันนี้ค่ะ

  • @maitreya_Comforter
    @maitreya_Comforter ปีที่แล้ว +1

    น่าเสียดาย ไทยให้จีนมาอาศัยในแผ่นดินไทยแท้ๆกลับถูกยึดแผ่นดินจากจีนผลิตกระดาษหลอกให้ไปเป็นทาสติดในเลข จนมองไม่เห็นคำว่าอมตะ มีจริงสะงั้นน

  • @chhutarak
    @chhutarak 2 ปีที่แล้ว +1

    🙏💜

  • @abandoneddogsfeedingasmr263
    @abandoneddogsfeedingasmr263 ปีที่แล้ว

    ตอนเรียนภาษาจีน พูดง่าย แต่เขียนยาก

  • @dontreekhrutdilakanan8548
    @dontreekhrutdilakanan8548 ปีที่แล้ว

    แต่ก็ยังยากเหมือนเดิม

  • @latte5434
    @latte5434 2 ปีที่แล้ว +3

    จริงๆไทยก็น่าจะทำเหมือนเวียดนามนะ ใช้ภาษาคาราโอเกะเลย หรือไม่ก็ย่อให้เขียนง่ายๆเหมือนภาษาลาว เช่น พาสาไท สะหวัดดี นายกรัดถะมนตี ราดชะอานาจัก ไรงี้

    • @user-uv2ji8io4x
      @user-uv2ji8io4x ปีที่แล้ว +1

      สมัยก่อนก็เคยใช้การเขียนแบบลาวนิ

    • @latte5434
      @latte5434 ปีที่แล้ว +1

      @@user-uv2ji8io4x ก็ใช่ในยุค จอมพล ป. แต่ยกเลิกทีหลังเพราะไม่ค่อยนิยมกัน

  • @yow7465
    @yow7465 2 ปีที่แล้ว +4

    ญี่ปุ่น ประกาศใช้ตัวอักษรย่อ(shinjitai) ในปี 1947 จีน เริ่ม ปรับปรุง 1952 ประกาศใช้ เกือบ 1960
    อักษรหลายๆตัว จีนย่อไปมา เหมือนญี่ปุ่นเด๊ะ เช่น 獻 (ดั้งเดิม)-->献 (ญี่ปุ่น,จีน) // 學 (ดั้งเดิม) --> 学 (ญี่ปุ่น,จีน)// 國(ดั้งเดิม) --> 国(ญี่ปุ่น,จีน)
    // หลายตัว จีนย่อไปมา ก็คล้ายๆญี่ปุ่น แต่ไม่คล้าย ตัวเดิม 棧 (ดั้งเดิม) -->桟 (ญี่ปุ่น) --> 栈 (จีน ย่อต่อล่งไปีอก), 驅 (ดั้งเดิม) -->駆 (ญี่ปุ่น) -->驱 (จีนย่อต่อลงไปอีก)
    繪 (ดั้งเดิม) --> 絵 (ญี่ปุ่น) --> 绘 (จีนย่อต่อลงไปอีก)
    แต่ก็มีอีกส่วนหนึ่งที่ย่อต่างกันอย่างชัดเจน ก็มีค่ะ
    เด็กๆเรียน จีน ที่ จงหัว อยู่หลายปี ก็เรียนตัวเต็มมาตลอด, โตมาเรียนญ๊่ปุ่น ก็เริ่ม เอ๊ะ ตลอดว่า ทำไมมีตัวแปลกๆไม่รู้จัก สรุปว่า ญ๊่ปุ่น ก็ ย่อเหมือนกันค่ะ ไม่ได้ใช้ตัวเต็มทั้งหมด
    พอยุคที่จีนรุ่งเรือง ก็ เริ่มสับสนกับ ตัวจีนย่อ แต่ก็ เริ่ม เดาความหมายของตัวจีนย่อได้ เพราะ หลายๆ ตัว เหมือนตัวญ๊่ปุ่นที่ย่อแบบ เป๊ะๆ ไม่ก็ คล้ายมากๆ(ต่างกันนิดมากๆ แต่ว่า ต่างกับตัวเต็มมาก)
    สรุป การที่ ตัวเองเรียนญี่ปุ่น ทำให้ ดู อักษร จีนย่อ เข้าใจมากขึ้นในบางที (แต่ก็ไม่ทั้งหมด เพราะตัวเองก็ไม่เคยเรียนจิงจัง)
    ก็สงสัยมาตลอด ว่า คนที่ย่อให้จีน เค้า มีแรงบันดาลใจ หรือ ก๊อบ จากญ๊่ปุ่นรึเปล่า (เพราะ เริ่มกระบวนการย่อ หลังญ๊่ปุ่นประกาศใช้ ประมาณ 5 ปี ทำให้สงสัย) แต่ก็ไม่เคยได้คำตอบ ก็ แค่สงสัย

    • @industrialrobot434
      @industrialrobot434 2 ปีที่แล้ว +1

      มันจะย่อเหมือนกันไม่แปลกครับ วัฒนธรรมชิโนของเอเชียตะวันออกมาจากจีน อักษรญี่ปุ่นตัวคันจิก๊อปอักษรจีนทั้งดุ้น บ้านญี่ปุ่น สถาปัตยกรรมโบราณมาจากจีนราชวงศ์ถัง ส่วนเกาหลีชื่อในบัตรประชาชนยังใช้ภาษาจีนเขียนอยู่เลยครับ มีข้อมูลอยู่ว่ารากวัฒนธรรมชิโนมาจากจีนสมัย ราชวศ์ต่างของจีน ในช่วงที่จีนเรืองอำนาจ

    • @yow7465
      @yow7465 2 ปีที่แล้ว

      @@industrialrobot434 อย่าใช้คำว่าก็อบเลยค่ะ ฟังแล้วดู เหมือน เลียนแบบcopy แบบ ผิดกฎหมาย แบบ ไม่ให้เกียรติ มันแปลกๆ แต่เป็นการนำมา และบอกที่มาของการนำมา อย่างชัดเจนค่ะ โดยยังให้ชื่อ ตัวอักษรนั้นว่าเป็นอักษรจีน
      คำว่า คันจิ ในญี่ปุ่น หรือ ฮันจา ในเกาหลี ฮันนม ใน เวียดนาม คือ ฮั่นจื่อ แปลว่า ภาษาฮั่น คือ มาจากจีน นั่นเองค่ะ...
      ในยุคนึง มีการแตกของภาษา จาก old chineseเป็น หมิ่นหนาน และ middle chinese .... ซึ่ง middle chineseนี่หล่ะค่ะ ตรงกับในยุคราชวงถัง ที่จีนมีอิทธิพล มีการแพร่ ภาษาไปไกลยัง ญี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม
      ดังนั้นญี่ปุ่น เกาหลี รับภาษาวัฒนธรรมมาจากจีน โดยชัดเจน เป็นที่รู้กันถ้วนหน้า และ ก็ยังให้เกียรติว่า ภาษาที่ใช้ ยังตั้งชื่อว่า คันจิ ซึ่งแปลว่าอักษรฮั่น
      การรับมาแล้วมีการบอกที่มาที่ไป เช่น ไทยก็บอกว่าอันนี้เป็นศิลปะแบบ ชวา ไม่ได้ตุตะว่าของไทยแท้ ญี่ปุ่นเกาหลีก็เช่นกัน ไม่เคยมีเรื่องให้มาต้องกังขาว่าใครคือ original เพราะ เค้าก็บอกอยุ่แล้วว่า จีนเป๋น original
      แต่การย่อแล้วเหมือนกัน ทำไมถึงไม่แปลกคะ....??? ในเมื่อการย่อ เป็นการย่อโดยบุคคลในแต่ละประเทศ ต่างคนก็ต่างย่อ
      คนสองชาติ ต่างคนต่างย่อ แต่ออกมาเหมือนกัน .. ทำไมจึงคิดว่าไม่แปลก?
      คือสงสัยมาตลอดว่า ทำไมต่างคนต่างย่อ ถึงออกมาเหมือนกันในหลายๆตัว
      เหตุผลคืออะไร

  • @bomgamer9000
    @bomgamer9000 2 ปีที่แล้ว

    ตามประสาคอมมิวนิสต์

  • @porntipleelawijitset8058
    @porntipleelawijitset8058 ปีที่แล้ว +1

    ใครเรียน เขียนจีนได้นี่สุดยอดเลยครับท่าน ท่าจะยากน่าดู แต่เราว่าภาษาไทยนี่ตัวอักษรก็งามมากนะ😁🥰

    • @tonyv2381
      @tonyv2381 5 หลายเดือนก่อน

      ใช่เเล้ว ในถานะชาวลาว ผมชอบของอักษรไทยตรงที่ เราเข้าใจวีธีใช้เขียน เเต่หลักๆคือมีการเขียนเเบบตามสันสกฤต ทำให้สามารถดูรากศัพย์ได้👍

  • @pasonz
    @pasonz ปีที่แล้ว +2

    อยากให้อักษรไทย มีการปรับปรุงบ้าง ที่เป็นอยู่ยากต่อการเรียนรู้พอสมควรโดยเฉพาะสำหรับคนต่างชาติ

    • @tonyv2381
      @tonyv2381 5 หลายเดือนก่อน

      งั้นก็อาจจะได้เอาเเบบของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม มาเเล้วดัดเเปลงนิดหน่อย น่าจะดีนะ ไม่ต้องคิดเองให้มาก . ว่าเเต่คุณคิดว่าควรเปลี่ยนตรงไหนละครับ?

    • @pasonz
      @pasonz 5 หลายเดือนก่อน

      @@tonyv2381 พวกตัวอักษรที่แทบไม่ได้ใช้ ตัดออกบ้าง
      เสียงซ้ำกัน เหลือเท่าที่จำเป็น
      แล้วก็แพทเทินการเรียนรู้(ไม่แน่ใจเรียกถูกหรือป่าว)
      ต่างชาติส่วนใหญ่จะพูดว่าเรียนไทยในห้องเรียนแทบไม่เหมือนในชีวิตจริงเลย
      ซึ่งก็จริง และแก้ยากด้วย ด้วยความภาษาเราหลักไวยกรณ์ไม่ค่อยตายตัวละมั้ง
      ถึงจะอย่างนั้น ก็ต้องมีหลักสอนกันใหม่
      ไม่หมายถึงให้ตัดคำซ้ำทั้งหมดนะครับ แค่ลองบ้างส่วนก่อนก็ได้
      ปล. เรื่องสมัยจอมพลป. เป็นอย่างไงหรอครับ ไม่ร้เลย

  • @kiloPhyll
    @kiloPhyll 2 ปีที่แล้ว +12

    (คหสต.นะครับ)
    ความยากง่ายไม่เกี่ยวกับจำนวนขีด แต่อยู่ที่ความถี่ในการใช้งาน
    อักษรตัวเต็ม
    ข้อดี: ความหมายครบ เรียนสนุกเพราะเป็นอักษรภาพอย่างสมบูรณ์ เช่น 馬"หม่า" คือ ม้า มี 4 ขาเสมอพร้อมแผงขนที่แผงคอตั้งแต่สมัยจิ๋นซีฮ่องเต้ถึงอนาคต ไม่ต้องบอกว่าม้าวิ่งเร็วมากจนมองไม่เห็นขา 马 ก็ได้ เพราะอักษรตัวเต็มจะว่าด้วย"ธาตุพื้นฐาน"ของสิ่งนั้นๆ) ทำให้เราศึกษาภูมิปัญญาจีนแท้ๆดั้งเดิมได้ด้วยตนเอง ไม่ผ่านการ revise/edit โดยอักษรจีนย่อภายหลัง และยังมีความเป็นกลางคือทุกภาษาถิ่นจีนสามารถนำไปใช้ได้เลย ไม่ถูกอิทธิพลจีนกลางรวมศูนย์ทำให้ภาษาถิ่นด้อยค่าลง
    ข้อเสีย: ขีดเยอะ ผู้ใหญ่ต่างชาติมาหัดเรียนจีนอาจบ่นจำยาก
    อักษรตัวย่อ
    ข้อดี: ขีดน้อย จำง่าย เหมาะสำหรับคนต่างชาติที่เป็นผู้ใหญ่มาหัดเรียน ไม่ค่อยซีเรียสเรื่องความหมายลึกซึ้งอะไรของอักษรจีน
    ข้อเสีย: แม้จะขีดน้อย แต่ใช้คำซ้ำกันในความหมายต่างกัน ทำให้เกิดภาระการจำมากขึ้น ต้องระมัดระวังในการใช้งานมากขึ้น เช่น คำว่า 后 ("โฮ่ว") มี 2 ความหมายคือ 皇后 (ราชินี/มเหสี) และ 後 (ภายหลัง) หรือ 云("หวิน") มี 2 ความหมาย คือ 云 ในภาษาโบราณหมายถึง พูด และ 雲 หมายถึง เมฆ ซึ่งหากใช้ตัวเต็มตลอด จะแยกแยะชัดเจนเป็นคนละคำคนละความหมาย ไม่ต้องเดาบริบท รวมถึงอักษร 无 ("อู๋")ซึ่งเป็นตัวย่อของ 無 ("อู๋") ซึ่งแปลว่า ไม่มี ต้องระวังการเขียนการตวัดขีดไม่ให้คล้ายกับ 天("เทียน") ซึ่งแปลว่า ท้องฟ้า/สวรรค์ แต่หากใช้อักษรตัวเต็มก็แยกแยะโดยอัตโนมัติ ไม่ต้องระวังมาก
    จู้อินฝูเฮ่า
    ข้อดี: สะกดออกเสียงจีนกลางได้เป๊ะกว่าพินอิน เช่น 音 (แปลว่า เสียง) สะกดด้วยㄧㄣ ก็คือ "อิน" ในภาษาไทย แต่พอเป็นพินอิน เป็น yīn "ยิน" (มีเสียง ย แอบเข้ามาด้วย)
    ข้อเสีย: หายากบนคีย์บอร์ด qwerty ต้องจำเอาเป็นแถว ๆ แต่ไม่ต้องห่วงมาก ยังไงก็มีไม่เกิน 37 ตัวอักษรครบทั้งสระและพยัญชนะ
    พินอิน
    ข้อดี: หาง่ายบนคีย์บอร์ด qwerty เพราะตีเนียนอยู่ในนั้น
    ข้อเสีย: เสียงเพี้ยนกว่าจู้อิน ทั้ง y (แอบ ย ซึ่งจริงๆต้องมี อ เป็นหลัก) และ r (แอบ ร ซึ่งจริงๆต้องมี ย ด้วย) คนต่างชาติที่เพิ่งมาเรียนต้องทิ้งภาษาอังกฤษออกจากสมองชั่วคราวไม่งั้นตีกัน ในกรณีคนจีนแผ่นดินใหญ่ที่ไม่ค่อยออกไปต่างประเทศ เจออักษรโรมันจะออกเสียงพินอินทันที เช่น Bangna คนไทยเห็นรู้ว่าต้องอ่านว่า บางนา แต่คนจีนจะออกว่า "ปั่งน่า"
    อักษรจีนมีประวัติศาสตร์พร้อมอารยธรรมจีนกว่า 4,500 ปี ผ่านวิวัฒนาการมายาวนาน จนตกผลึกได้อักษรตัวเต็มที่จดจารประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา คติ ค่านิยม ประเพณี ฯลฯ ส่งต่อ ๆ มาให้ชนรุ่นหลังรวมทั้งประเทศเพื่อนบ้านและชาวโลก การเปลี่ยนแปลงการใช้งานควรเป็นไปโดยวิวัฒนาการของมันเองตามธรรมชาติ

    • @-AyothayaNoymuangkun
      @-AyothayaNoymuangkun ปีที่แล้ว

      ตรงนี้มีเกร็ดที่อยากเล่าเพิ่ม คือคำสรรพนามในภาษาจีนถิ่นบางที่ยังคงรักษาคำที่ยังอยู่ในภาษาโบราณอยู่ เช่นปกติเรามักจะได้ยินคำว่า “ลื้อ” เป็นสรรพนามในภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งคำ ๆ นี้ไม่ได้มีการใช้งานใน國語มากเท่าไหร่แล้ว แต่ยังเป็นภาษาในวรรณคดีโบราณ (文言文)คือคำว่า 汝 (หรู่ ท่าน,คุณ)

  • @user-jh5xl3ti2w
    @user-jh5xl3ti2w ปีที่แล้ว +2

    ภาษาคือคำพูด​ อักษร​คือการจำรูป​ การประกอบร่างของตัวอักษร​ควรง่ายและมีรูปแบบทางเรขา​ อักษรจีนไม่มีตัวสะกดจึง เป็นอุปสรรคต่อการพูด

  • @alexlo7708
    @alexlo7708 2 ปีที่แล้ว +7

    เอ่อ... ตั้งแต่ยุคพิมพ์ดีด จีนก็ต้องคิดหาวิธี สร้างพิมพ์ดีด ที่พิมพ์ภาษาจีนได้แล้วครับ ไม่ต้องรอยุคคอมพิวเตอร์ อิๆ ส่วนเวียดนาม ถูกฝรั่งเศส เจ้าอาณานิคม บังคับให้เปลี่ยนเป็นตัวหนังสือฝรั่ง ไม่เกี่ยวกับมิชันนารี่แต่อย่างใด
    เพราะการใช้ตัวหนังสือฝรั่งแทนคำอ่านออกเสียงภาษาท้องถิ่นทั้งหลาย เป็นหลักสูตรที่พวกมิชชั่นนารี่ ใช้สอนกันเอง เพื่อภารกิจในการเผยแพร่ศาสนาต่อชนท้องถิ่น เหมือนการเรียนพูดภาษาท้องถิ่น โดยไม่ต้องเรียนวิธีเขียนของท้องถิ่น

  • @JbrJazzy
    @JbrJazzy ปีที่แล้ว +1

    ขออนุญาตแก้ไขข้อมูลนิดนึงครับ 15:44
    ภาษาเอสเปรันโต เป็นภาษาประดิษฐ์ก็จริง แต่ไม่ได้เป็นการเอาภาษาสเปนมาเป็นต้นแบบ (เพียงภาษาเดียว) ครับ ให้ถูกคือเอาภาษายุโรปทั้งหมด มาเป็นต้นแบบเสียมากกว่า
    จริงๆ ซาเมนฮอฟ ผู้สร้างภาษาเอาเปรียบโตดีไม่ดีพูดสเปนไม่ได้ด้วยซ้ำครับ555

  • @p.r.3317
    @p.r.3317 2 ปีที่แล้ว

    11.24 笔画 bǐ huà ออกเสียงคล้ายๆ ปี่"ฮว่า" ไม่ใช่"โฮ่ว"

  • @singhandjaisamut7008
    @singhandjaisamut7008 2 ปีที่แล้ว +11

    เข้าใจแล้วทำไมจอมพล ป พยายามลดจำนวนตัวอักษรไทย

  • @huasaepung5792
    @huasaepung5792 2 ปีที่แล้ว +4

    真的谢谢你 这些节目 多多来吧。👍👏🇹🇭💕🇨🇳

    • @soontaya2543
      @soontaya2543 2 ปีที่แล้ว

      Mei guan qi

    • @kanediantai5116
      @kanediantai5116 2 ปีที่แล้ว

      这些知识你也不知道吧

    • @huasaepung5792
      @huasaepung5792 2 ปีที่แล้ว

      @@kanediantai5116 是礼貌的话 你不知道吧!

    • @kanediantai5116
      @kanediantai5116 2 ปีที่แล้ว

      @@huasaepung5792 真不知道

  • @khunjoe-wd8cu
    @khunjoe-wd8cu 2 ปีที่แล้ว +3

    เนื้อหาของวรรณกรรมแผงลอยริมถนนแบบนี้ดีที่จะคุยโม้ในที่ส่วนตัว แต่ดูเหมือนไม่เหมาะสมที่จะนำออก ในขณะนั้นสตาลินเรียกร้องให้จีนหยุดใช้อักษรจีนและใช้อักษรละตินแทน ผิดเยอะ

  • @user-ik6gr5ue4o
    @user-ik6gr5ue4o ปีที่แล้ว

    😘ผมชอบลูดปัดธัรปู🧮หลักสูตรชีวิต
    มิต้องไปถามพระมิแปลกที่มี 1ྱྭ☆ཽཾུ1💞
    ♡ྀ🍎

  • @user-kw8oh7tm7k
    @user-kw8oh7tm7k 2 ปีที่แล้ว

    ❤️

  • @chuckbass3934
    @chuckbass3934 11 หลายเดือนก่อน

    ส่วนตัวคิดว่าเป็นความคิดที่ถูกต้อง อักษรจีนดั้งเดิมสามารถสื่อความหมายได้ดีกว่าก็จริง แต่จะทำให้การอ่านออกเขียนได้ของประเทศที่มีประชากรเกือบล้านคนในตอนนั้นสำเร็จในระยะเวลาที่ช้าไปมาก อย่าลืมว่าในจำนวนนี้เกินหนึ่งในสามไม่ใช่พวกที่ได้รับการศึกษาอย่างเต็มรูปแบบ การนำอักษรจีนประยุกต์มาใช้นับว่าได้ผลดีมากดังเห็นจากผลลัพธ์ในปัจจุบัน สำหรับทำไมต้องปลดป้ายร้านค้าที่เขียนตัวเต็มส่วนหนึ่งอาจจะเป็นจากหลักการนิยม แต่ถ้าพิจารณาดูดีๆก็ถูกต้อง สมมุติสังคมส่วนใหญ่ใช้ตัวย่อในการติดต่อโดยเฉพาะเอกสารต่างๆแล้วเกิดมีคนต้องการใช้อักษรเต็ม ถ้ามีการอนุโลมในที่สุดจะเกิดความปั่นปวนขึ้นมาได้ เพราะฉะนั้นตัดไฟแต่ต้นลมดีแล้ว

  • @phonsack1
    @phonsack1 2 ปีที่แล้ว +1

    จำนวนขีดเรียกว่า 笔画( hua เสียง 4) ไม่ใช่ 厚(hou) ❌ ครับ

  • @user-do3wr1kx1d
    @user-do3wr1kx1d 2 ปีที่แล้ว +2

    บางทีง่ายขึ้นแต่ก็ยังรู้สึกแปลกๆน่ะ

  • @user-xf1gm2se8x
    @user-xf1gm2se8x ปีที่แล้ว +1

    ภาษาไทยง่ายสุดนะแต่คนยังขี้เกียจเรียน

  • @yuyushun216
    @yuyushun216 2 ปีที่แล้ว +2

    汉字 很 難 學 難 记 呢 。

  • @anakee9912
    @anakee9912 ปีที่แล้ว +1

    ทุกครั้งที่เรียนฝึกเขียนขีดต่อคำไห้ดูเป็นอักษรจีนตัวนึง แต่กลับได้ขีดได้อักษรงู อักษรจีนตัวไหนมีมีเหลี่ยม ผมนี่ขีดตีโค้งตลอด พอเสจเอามาเทียบต้นฉบับดูตกใจตัวเองเขียนยังไห้อะทำไมมันดูเหมือนงูเลื้อยต่อๆกันหลายตัว😅

  • @namnami443
    @namnami443 2 ปีที่แล้ว

    จู้อินฝูห้าว นะ ครับ

  • @user-ur8cr5rt3w
    @user-ur8cr5rt3w 2 ปีที่แล้ว +1

    ถุ้ยใครบอก, เผาหมดทุกอย่าง

  • @ekkaritchaturongkasumrit8
    @ekkaritchaturongkasumrit8 2 ปีที่แล้ว

    ก่อนอื่นขอขอบพระคุณสำหรับข้อมูลดี ๆ บางเรื่องที่ผมไม่เคยรู้มาก่อน ฟังแล้วชอบครับ ขออนุญาติแสดงความคิดเห็นครับ เนื่องจากได้ยินผู้บรรยายออกเสียงเรื่องขีดตัวอักษรว่า "ปี่โฮ้ว" ความจริงต้องออกเสียงว่า
    "ปี่ฮว่า"หรือเปล่าครับ 笔画 bǐ huà

  • @SJTuan
    @SJTuan ปีที่แล้ว

    เหตุผลนี้ใช้ได้กับความเจริญของโลกไหม เพราะคิดว่าถ้ามนุษย์โลกแต่ละประเทศหันมาใช้ภาษาเดียว เช่น อังกฤษ เราก็ไม่จำเป็นต้องเสียเวลาเรียนภาษาอื่น โฟกัสแค่ภาษาเดียว และความรู้ต่างๆส่วนมากก็มาในรูปแบบภาษาอังกฤษ

  • @moonmite6516
    @moonmite6516 2 ปีที่แล้ว +1

    8×3 Minutes History

  • @minibos1
    @minibos1 2 ปีที่แล้ว +5

    普通话不难 但是繁体字很难。

  • @user-hk6hq9rd9k
    @user-hk6hq9rd9k ปีที่แล้ว +1

    จะรู้ภาษาจีนต้องจำอักษรจีนได้อย่างน้อย50000ตัวอักษร

  • @jmain2701
    @jmain2701 ปีที่แล้ว

    เอาความรู้สึกเวลาพิมพ์จริงๆเลยนะ รู้สึกว่าการพิมพ์แบบจู้อินไปเลย พิมพ์น้อยกว่า แถมใส่เสียงต่อท้าย ถ้าหาคำไม่เจอได้ ต่างจากพินอิน ที่บางทีต้องมานั่งจำ ว่า i-an หรือ i-en ซึ่งถ้าพิมพ์คำที่ต้องการมันจะไม่ขึ้น เข้าใจว่าคนไทยแบบเราๆ เริ่มจากพินอินจะทำให้ออกเสียงได้เร็วกว่า ไม่ต้องไปเสียเวลาจำจู้อิน แต่จริงๆแล้ว เมื่อเรียนไปเรื่อยๆ เหล่าซือ จะให้จำเป็นคำๆแล้ว พินอินกำกับไม่มีแล้ว บางทีพิมพ์แบบพินอินจะสับสนมากกว่า
    แล้วก็เรื่องสระผสมอีก จู้อิน ผสมสูงสุดแค่ 2 ตัว ㄧㄟ ㄨㄣ ซึ่งรู้สึกว่าเวลาพิมพ์แบบจู้อิน จะง่าย และเร็วกว่า