ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
สุดยอดเลยครับอาจารย์ของจริง
ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณครับอาจาร
ปริมาณเหล็กเสริมมากที่สุดที่จะใส่ได้ในหน้าตัดคานพิจารณายังไงครับ
วิธี WSD ไม่ได้กำหนดไว้ครับ ถ้า M > Mc ก็ออกแบบเป็น doubly ถ้า As' > As ใช้เป็น Steel Beam As'=As
วิธี WSD ไม่มีใน ACI แล้วต้องหา TextBook ปีเก่าๆมาอ้างอิง แจ่หายากมาก
การคิดปริมาณเหล็กสูงสุดในหน้าตัด singly ใช้แนวคิดการออกแบบวิธี SDM
@@CivilEngineeringsStudio steel beam วิธีออกแบบเดียวกับdoubly ไหมครับ หรือใส่เหล็กได้แค่เหล็กบนเท่ากับเหล็กล่าง
@@ball_nl8211 อธิบายแบบข้อความยาก steel beam จะไม่คิดคอนกรีต ใช้วิธิคิดแบบ Strength of Material , M = As fs (d-d')___ การออกแบบ เป็นวิชาชีพควบคุม ต้องทำด้วย วิศวกร ที่มีใบอนุญาต , การอธิยายใดๆ ใน Youtub ผมไม่ขอรับผิดชอบ ทั้งสิ้น อธิบายเพือการศึกษาเท่านั้น
โมเมนต์ ไม่จำเป็นต้องหารค่า ฟี เหรอครับ ก่อนจะนำไปหาปริมาณเหล็ก
คนละวิธีครับ WSD วิธีหน่วยแรงใช้งาน ไม่มี ค่า 𝜙 ในสูตรเลยครับ หาเอกสารมาตรวจสอบสูตร อย่าจำสองวิธีสลับกัน ค่า𝜙มีในวิธี SDM วิธีกำลัง
@@CivilEngineeringsStudio แล้วถ้าเป็นวิธี ของ SDM ทำเหมือนกันต่างกันแค่ตรง โมเมนต์ หารค่า ฟี ไหมครับ
@@หริรักษ์อ่อนพุทธา ความแตกต่างวิธี WSD/SMD อธิบายยาวเลยครับ พิมพ์ไม่ได้ ปกติผมจะอธิบายผ่านสไลด์ภาพ คร่าวๆ ____ 1) วิธี WSD คิด W=D+L เรียก Service Load หน่วยแรงของหน้าตัดจำกัดที่ค่าหน่วยแรงที่ยอมให้ fc=0.375fc'(พรบ) fs=0.5fy (Allowable Stress) หน่วยแรงอย่าให้เกินตามหลักการออกแบบ ต้องดูในวิชา Strength of Materials จะมีการอธิบายไว้ในสักบทนึง____ 2) วิธี SDM ออกแบบที่กำลังประลัย คิดที่พัง Wu = 1.7D+2.0L(พรบ)จะได้เป็น Mu เอาไปเทียบกับกำลังดัดประลัยของหน้าตัด ก้พังอีกแหล่ะ (Mu) มี u ห้อยเมื่อไหร่ ก็ ultimate คือพัง แต่การคิดที่พังเป็นการสมมุติ Mu ของหน้าตัด = ϕMn (n มาจาก Norminal แปลว่าตามตัวเลข) แต่อย่างไรก็ตามเราใช้งานที่ Service = D+L ออกแบบที่คิดว่าพัง แต่เผื่อค่าส่วนปลอดภัยในตัวคูณของน้ำหนักบรรทุก กับค่า ϕ ___ อันนี้สั้นแล้วครับ
Ec = 15120 รูท f'c
ตอนนี้ถ้าใช้ตาม วสท 011007-19(และ ACI318) ต้องปรับเป็น 15100√(fc')
สุดยอดเลยครับอาจารย์ของจริง
ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณครับอาจาร
ปริมาณเหล็กเสริมมากที่สุดที่จะใส่ได้ในหน้าตัดคานพิจารณายังไงครับ
วิธี WSD ไม่ได้กำหนดไว้ครับ
ถ้า M > Mc ก็ออกแบบเป็น doubly
ถ้า As' > As ใช้เป็น Steel Beam As'=As
วิธี WSD ไม่มีใน ACI แล้ว
ต้องหา TextBook ปีเก่าๆมาอ้างอิง แจ่หายากมาก
การคิดปริมาณเหล็กสูงสุดในหน้าตัด singly ใช้แนวคิดการออกแบบวิธี SDM
@@CivilEngineeringsStudio steel beam วิธีออกแบบเดียวกับdoubly ไหมครับ หรือใส่เหล็กได้แค่เหล็กบนเท่ากับเหล็กล่าง
@@ball_nl8211 อธิบายแบบข้อความยาก steel beam จะไม่คิดคอนกรีต ใช้วิธิคิดแบบ Strength of Material , M = As fs (d-d')
___ การออกแบบ เป็นวิชาชีพควบคุม ต้องทำด้วย วิศวกร ที่มีใบอนุญาต , การอธิยายใดๆ ใน Youtub ผมไม่ขอรับผิดชอบ ทั้งสิ้น อธิบายเพือการศึกษาเท่านั้น
โมเมนต์ ไม่จำเป็นต้องหารค่า ฟี เหรอครับ ก่อนจะนำไปหาปริมาณเหล็ก
คนละวิธีครับ WSD วิธีหน่วยแรงใช้งาน ไม่มี ค่า 𝜙 ในสูตรเลยครับ หาเอกสารมาตรวจสอบสูตร อย่าจำสองวิธีสลับกัน ค่า𝜙มีในวิธี SDM วิธีกำลัง
@@CivilEngineeringsStudio แล้วถ้าเป็นวิธี ของ SDM ทำเหมือนกันต่างกันแค่ตรง โมเมนต์ หารค่า ฟี ไหมครับ
@@หริรักษ์อ่อนพุทธา ความแตกต่างวิธี WSD/SMD อธิบายยาวเลยครับ พิมพ์ไม่ได้ ปกติผมจะอธิบายผ่านสไลด์ภาพ คร่าวๆ
____ 1) วิธี WSD คิด W=D+L เรียก Service Load หน่วยแรงของหน้าตัดจำกัดที่ค่าหน่วยแรงที่ยอมให้ fc=0.375fc'(พรบ) fs=0.5fy (Allowable Stress) หน่วยแรงอย่าให้เกินตามหลักการออกแบบ ต้องดูในวิชา Strength of Materials จะมีการอธิบายไว้ในสักบทนึง
____ 2) วิธี SDM ออกแบบที่กำลังประลัย คิดที่พัง Wu = 1.7D+2.0L(พรบ)จะได้เป็น Mu เอาไปเทียบกับกำลังดัดประลัยของหน้าตัด ก้พังอีกแหล่ะ (Mu) มี u ห้อยเมื่อไหร่ ก็ ultimate คือพัง แต่การคิดที่พังเป็นการสมมุติ Mu ของหน้าตัด = ϕMn (n มาจาก Norminal แปลว่าตามตัวเลข) แต่อย่างไรก็ตามเราใช้งานที่ Service = D+L ออกแบบที่คิดว่าพัง แต่เผื่อค่าส่วนปลอดภัยในตัวคูณของน้ำหนักบรรทุก กับค่า ϕ
___ อันนี้สั้นแล้วครับ
Ec = 15120 รูท f'c
ตอนนี้ถ้าใช้ตาม วสท 011007-19(และ ACI318) ต้องปรับเป็น 15100√(fc')