ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
มันทากาวที่ขอบห้อง Carbon Fiber กับวงแหวนแต่ไม่มีตัวรั้งระหว่างวงแหวน 2 วงเพื่อเพิ่มควาทแข็งแรง แบบนี้นึกถึงกระบอกสูบเลยขนาดลม ขนาดแรงดันไม่สูงมาก ยังจำเป็นต้องมีน๊อตยาวๆรั้งสองข้างอัดตัวเข้าหาทั้งสองด้านของกระบอกสูบ และขนาดของกระบอกเส้นผ่าศูนย์กลางที่โตขึ้นมากๆ การให้ตัวก็มากกว่า และออกแบบมาเป็นลักษณะ Laminate ระหว่าง กระบอก Titanium กับ Carbon fiber ด้วยแล้วค่าการขยาบตัวและการหดตัวของสองสิ่งนี้ไม่เท่ากันแน่นอน และยิ่งอุณหภูมิในห้อง และนอกเรือที่แตกต่างด้วยมีโอกาสที่จะแยกชั้นและทำให้ความแข็งแรงลดลงไปได้อย่างมากเมื่อใช้งานมากครังขึ้น
ช่องนี้เขาวิเคราะห์แบบจัดเต็มเกี่ยวกับไททันทุกคลิปเลย ดูแล้วคุ้มค่ามากก
ไม่กินหมูแล้วดูฉลาดใช่ป่ะ?
ขอบคุณมากครับ
@@torthefirst6999 เกี่ยวไรกับหมู ? 🙄
@@torthefirst6999มึงจะสื่ออ่ะไรครับ?
อธิบายได้ชัดเจนเข้าใจง่าย ขอบคุณที่ทำคลิปให้ความรู้เดีๆแบบนี้
เห็นด้วยครับ แตกกลางลำ เพราะลงไปหลายรอบแล้วนับเป็นจำนวนไม่รู้กี่ชั่วโมงที่อยู่ในแรงดันสูงและอุณภูมิต่ำ ผมเห้นว่าคาร์บอนไฟเบอร์โดนแรงอัดจนเสียสภาพ ในการลงครั้งแรกๆอาจจะทนได้ แต่พอลงครั้งหลังๆสภาพตัวไฟเบอร์มันลดประสิทธิภาพทนแรงดันลง ทนแรงดันได้น้อยลงจากที่ตัวมันสูญเสียคุณสมบัติทางกายภาพ จึงแตกกลางลำ และผมเห็นด้วยว่าไม่ใช้การระเบิดแบบมีอุณภูมิสูง เป็นการแตกรั่วแบบฉับพลันแรงดันอัดตัวจากน้ำอัดอากาศยานระเบิดแตกออกเป็นเสี่ยง อากาศถูกอัดตัวจนละลายเข้าไปอยู่ในน้ำทั้งหมดไม่ได้มีฟองลอยขึ้นมาแต่อย่างใด และต้องมีชิ้นส่วนร่างกายมนุษย์เหลืออยู่แน่แต่อาจจะเป็นอาหารของสัตว์น้ำไปเยอะแล้ว
สร้างเรือด้วยความมักง่ายและเอาประหยัดเข้าว่าโดยไม่ได้คำนวณค่า stress ทุกจุดของเรือออกแบบเหมือนคนไม่เคยเรียนฟิสิกส์หรือวิศวกรรมวัสดุ แถมจุดที่ทากาวก็ถือเป็นจุดที่มี "ความเครียดของวัสดุ" สูงมาก แต่ดันไปทำให้มันเปราะบางก็สมควรแล้วที่ยานมันจะเจอเหตุการณ์ implosion ใต้น้ำ
แปลกกว่านั้นคือมีคนยอมจ่ายแพงๆเพื่อไปเสี่ยงตายด้วย 😢😢😢😢rip
แปลกกว่านั้นมืงลงไปได้ไง8ครั้งแล้วมาพลาดครั้งที่9
@@เซ็งเซ็ง-ฐ9ซมีโอกาสสูงครับ นึกภาพว่าปกติของเรือดำน้ำเขาจะใช้เหล็กเป็นส่วนประกอบ ขนาดมันเลยค่อนไปทางใหญ่ เพราะแต่ละลำหนา6นิ้วขึ้นไป แต่เรือไทมันจะโชว์เหนือโชว์ล้ำแต่ขาดการวิจัยที่ละเอียดรอบคอบ พูดง่ายๆ ทุนมันมีไม่สู้พวกงานวิจัยของแต่ละชาติอยู่แล้ว ดันเอาคาร์บอนมาใช้ผสมไทเทเนี่ยม มันแข็งกว่าเหล็กก้อจริง แจ่มันไม่สามารถยืดหยุ่นตัวมันเองได้ อย่างที่คุณว่าถึงจุดนึง มันก้อเหมือนหินที่แคร๊ก แข็งแต่แตกได้😊
ไม่จบวิศวะยังตะหงิดใจเลยนะจุดทากาวเนี่ย แบบ ห๊ะใช้กาวเชื่อมหรอ
สุดจริง เรือดำน้ำ DIY home-made ชัดๆ ไม่บึ้มก็แปลกแล้ว
เรื่อดำน้ำที่ได้มาตรฐานลงไปที่ความลึกขนาดนั้นได้จริงๆมีแค่10ลำในโลกครับ ซึ่งไม่ใช่ไททัน
@@NickyHanon สร้างมาดีอย่าง Alvin ดำลงลึก 4000-5000 ครั้งผ่าน 40กว่าปีก็ยังไม่เสียหายปลอดภัยใช้งานจนถึงปัจจุบันอยู่เลย
ประเด็นคือมันลงไปหลายครั้งแล้วด้วยนะ ไอ้ไททันนี่ รวมๆ 10+ ครั้งได้ รวมการทดสอบด้วย
เจ้าของเรือหิวเงินครับ คำนึงผลประโยชน์มากกว่าความปลอดภัย
เขาบอก diy ส่วนใหญ่คือสายดีด
มีข้อบกพร่องแน่ แต่มันไม่น่าจะผลิตแบบก๊องแก๊งอย่างที่คุณว่า ก็มีเหตุมีผลเป็นที่น่าสนใจ ดูเรื่องการเมืองมันทั้งเบื่อทั้งแย่ ดูช่องนี้เปลี่ยนบรรยากาศ
ดูคลิปตอนสร้างไททัน มีโครงสร้างโลหะบริเวณห้องโดยสาร บริเวณห้องผู้โดยสารทรงกระบอกทำจาก carbon fiber เรียงหลายชั้น ภายนอกสีขาวทำจาก fiber glass หรือเปล่าไม่แน่ใจ หัวท้าย เป็นโดมไทเทเนียม มีช่อง view spot อยู่ด้านหน้า ทำจากอาคิริก หนา โดมหัวท้ายยึดด้วยวงแวน และน๊อต ตัววงแวนคงจะยึดด้วยกาว เหมือนพี่บังบอกในคลิป ถ้าเป็นแบบนี้ ผมว่าจุดอ่อนของเรือเยอะเกินไป ขอแสดงความเสียใจกับผู้เสียชีวิตด้วยนะครับ
เห็นภาพตามเลยครับ ขอบคุณมากครับ วิเคราะห์ชัดเจน ได้ความรู้ดีมากๆ
ข้อมูลละเอียดมากครับ อธิบายให้ฟังเข้าใจง่าย
นึกถึงมือถือกันน้ำดี ๆ ที่อาจจะกันได้ 100% จุ่มน้ำตอนใหม่แกะกล่อง ใส่ถ่ายใต้น้ำได้8-10 ครั้ง คิดว่ากันได้ดีไม่เห็นเป็นไรเลย แต่เอาลงในรอบ11 ด้วยความชะล่าใจ สุดท้ายกลับบ้านเก่า ความชื้นเข้าศูนย์ไม่รับเคลม ความประมาทของผู้ใช้งานโดยแท้
ออกแบบเรือดำน้ำติดกาว epoxy เพื่อให้ทนแรงอัดขนาดหอไอเฟลกดทับ แล้วแรงอัดขนาดนั้นจะมีอะไรเหลือหรอ ใช้อะไรคิดให้เอาคนเข้าไปอยู่ด้านในได้
คนฉลาดแบบท่าน คิดว่าต้องทำยังไงอ่ะ
@@sorryforeverything8350จะบอกให้ง่ายๆว่าคนฉลาดน้อยแบบท่านไม่ควรเขียนตอบใครไงหละ
ชอบที่คนไม่รู้เรื่องอะไรเรือดำน้ำ มาอธิบาย ให้ คนเข้าใจได้ครับ
ชอบฟังพี่ค่ะ ละเอียดดีเข้าใจง่ายด้วยค่ะ
สวัสดีครับ อธิบายได้ชัดเจนดีครับ เสียงพูด/ภาพคมชัดครับ ฟังแล้วคาดว่าจะเป็นเช่นนั้นครับ ประกอบกับแรงดันอากาศภายในที่ต้องคงที่ถึงทำให้มนุษย์อยู่ข้างในได้ ออกซิเจนก็สำคัญครับ
พิธีกร อธิบาย ด้วยความรู้ความสามารถ ล้วนๆ เก่งมากสุดๆ
หน้าพี่เหมือนศิลปินมาก คลิปสุดยอดมากกระจ่างเลย
ชัดเจนมากเลยครับ ขอบคุณมากๆเลยครัยสำหรับความรู้นี้
มาดูคลิปนี้ กระจ่างขึ้นมามากเลย ไม่มีความปลอดภัยเอาสะเลย
ผมชอบแบบจำลองแกนทิชชู่ กับหัวขวดน้ำอัดลม เข้าใจง่ายมาก
ขอขอบคุณ
ขอบคุณครับ
ชอบมากค่ะ การวิเคราะห์แบบนี้ เพราะดูจากการกู้ซาก ก็พบว่า ชิ้นมันยังดูใหญ่ๆอยู่เลย คือเชื่อได้ว่า เป็นซากของเรือไททันจริงๆ
เปรียบง่ายสุดก็อย่างที่บังบอก เหมือนเราขับรถเหยียบใจกลางขวดน้ำ ยุบจากตรงกลางทำให้ฝาหน้าและหลังกระเด็นออกเพราะแรงดัน แต่ก็ตายในเสี้ยววินาทีเหมือนเดิม ถ้ายานมันสั้นกว่านี้ ให้รูปร่างมันใกล้เคียงกับทรงกลมมากที่สุดก็จะทนแรงได้มากกว่านี้แน่นอน กระป๋องเบียร์สั้นๆบีบยากกว่ากระป๋องเบียร์ยาวๆ ก็คือเป็นความอวดอุตริของเจ้าของบริษัท วัสดุก็ไม่แข็งเกร็ง ถ้ามันลงไปแล้วกาวทนไม่ไหวโดนกดจนเสียรูปนิดเดียวก็บึ้ม อยากเอาคนเยอะๆไปดำน้ำ ไม่ทำตามสิ่งที่ควรทำ ก็สงสารน้องอายุ19นะ บ้านรวยซะเปล่าแต่อายุไม่ยืน มีเงินก็ซื้อชีวิตไว้ไม่ได้ ผมไม่ได้เรียนวัสดุศาสตร์มายังรู้ว่าไม่ควรใช้ carbon fiber เพราะสุดท้ายส่วนที่รับแรงจริงๆก็คือกาว epoxy ที่เป็นตัวเชื่อมประสาน พอกาวมันลงไปที่เย็นๆอย่างใต้น้ำมันอาจทำให้คุณสมบัติของตัวเองเปลี่ยนไป หรืออีกอย่างหนึ่งคือมันเป็นวัสดุคนละอย่างกับไทเทเนี่ยม แน่นอนดัชนีการหดตัวเมื่อเจอความเย็นและแรงดันไม่เท่ากันอยู่แล้ว epoxy+carbon fiber เจอเย็นแล้วหดจนแตกก็ยานบึ้มเหมือนกัน ว่าแต่อยากรู้เหมือนกันว่าเขาทำไมเอา carbon fiber มาหุ้ม คิดอะไรแปลกๆ อยากจะทำยานหลายๆลำเพื่อลดต้นทุนซะละมั้ง
ก็คงอยากลดต้นทุนส่วน1 และก็อยากมีชื่อเสียงเป็นคนแรกของโลกด้วยล่ะมั้งว่าเป็นผู้สร้างยานดำน้ำด้วยวัสดุดังกล่าวคนแรก เพราะเคยถูกบันทึกชื่อในกินเนสบุ๊ค/กินเนสเวิลด์หรือกินเนสอะไรสักอย่างนี่แหละ555 เหมือนว่าถูกบันทึกมา2-3รายการแล้วมั้งเขาก็คงอยากถูกบันทึกเรื่อยๆล่ะมั้งดูทรง
มันมีสัตว์ยักษ์ใต้ทะเล แน่ๆครับที่เรายังไม่ค้นพบพวกมัน กันมาเจอไฟพอดี มันเลยทำร้ายเรือ เป็นไปได้ไหม
แล้วร่างกายมนุษย์เป็นของเหลว คงแบบ น้ำกระฉุดเป็นสีแดง
@@MamiPoggo เป็นไปได้ครับถ้าเราดูหนังเยอะๆ
ไททาเนียมมันทำหน้าที่ของมันสุดๆแล้วมันทำดีแล้วแบกเรือลงมาได้ 12 ครั้ง
ตัวห้องทรงกระบอกน่าจะถูกบีบอัดอย่างที่ว่า เพราะโครงร่างไม่แข็งแรงพอ(นิ่มแต่เหนียว)ที่จะรับแรงดันใต้น้ำลึก 3.8 km ได้(ถึงวันหมดอายุพอดี) ทำให้อากาศที่ถูกบีบอัดภายในต้องหาทางออกในจุดที่อ่อนแอที่สุด คือ อะคริลิคใสด้านหน้า สภาพโดมหน้าหลังและวงแหวนซึ่งมีความแข็งแรงกว่าจึงยังคงสภาพเดิมอยู่ได้
คาวบอยไฟเบอร์แข็งแต่ไม่เหนี่ยวครับ
เจ้าของ สร้างแบบลดต้นทุน ก่อนดำลงไปมีการเซ็น สัญญา ห้ามเอาผิด บริษัท ซึ่งหมายความว่ามันไม่รับผิดชอบนั้นเองเพราะว่ามันผลิตไม่ดี วิศวกรที่ออกแบบเรือ เขายังมาพูดเลยว่าเรือดำน้ำมันไม่ได้คุณภาพ ก็เลยโดนไล่ออกไปแต่ปี 20xxกว่าๆๆ เปิดเผยความลับว่าเรือดำน้ำไม่ได้มาตรฐาน
คาร์บอนมันน่าจะถึงขีดความทน เพราะมันลงไปเป็น10ๆรอบ ตอนลงไปข้างล่าง โดนแรงบีบ ซ้ำแล้วๆ
ถ้าเป็๋นแบบที่บอก สยองมากนะครับ ศพคงน่าจะติดในดงหนามคาบอนไฟเบอร์ด้านในที่ระเบิดเข้ามา
แล้วสภาพการเสียชีวิตของผู้โดยสารละคะ (ขอสู่สุคติค่ะ)
แสดงว่าตัวที่เป็นแกนทิชชู่ที่ยังหาไม่เจอ ต้องมีศพถูบซากนี้บีบร่างอยู่ ใช่ใหมครับป๋า
ถ้าใช้ไทเททั้งลำยึดด้วยน๊อตเลส น่าจะไม่บึ้ม อันนี้น่าจะไร่เบามากเกินไป เลยเสี่ยงเกินไป ถ้าดีจริง เครื่องบินคงเอาคาบ้อนไฟเบอร์ทำทั้งลำแล้ว ลงครั้งแรกครั้งสองครั้งรอดมาได้ แต่พอครั้งต่อไปคงมีรอย crack สะสมเพิ่มขึ้นเลื่อย ๆ แล้วพอลงไปอีกรอบต่อๆไปเลยบึ้มเลยงานนี้ เข้าใจครับ ผมก็ชอบแนวแบบนี้เช่นกันครับ
วิเคราะห์ละเอียดดีมากครับ
เห็นด้วย แต่ยังสงสัยว่า จุดเริ่มของการพังลงจองโครงสร้างคาร์บอนไฟเบอร์ มันเกิดขึ้นพร้อมๆกันหลายๆส่วนเลย หรือว่ามาจากจุดเปราะบางที่สุดจุดเดียวก่อน จากนั้นค่อยแผ่ไปส่วนอื่นๆอย่างรวดเร็ว ทำให้แรงอัดจริงอาจจะเกิดขึ้นที่ด้านใดด้านหนึ่งของส่วนแกนกลางก่อน แล้วอัดสู่ภายในด้านอื่นๆและส่วนหัวท้าย ระหว่างนั้นความดันภายในที่สูงขึ้นทำให้เกิดการระเบิดจากก๊าซร้อนขยายตัวอีกครั้ง จนหัวท้ายระเบิดกระเด็นไปส่วนผดส.ก็ถูกทั้งโครงสร้างและอากาศภายในอัดแหลกในชั่วเสี้ยววินาที และกระจายไปตามแรงระเบิดในชั่วเสี้ยววินาทีเหมือนกับตัวยาน
คือ มันเป็นไปได้หมดทุกทางละครับ เราสรุปแบบฟันธงไม่ได้หรอกครับ มันต้องรอซากยานจากทุกส่วนก้อนมันถึงจะบอกอะไรได้แบบชัดเจนมากขึ้น
ต้องไปนั่งร้านน้ำชา จะนะ วิเคราะห์ต่อแล้วครับ
ว่ากันตรงๆถ้ามันแย่จริงๆแบบที่ออกข่าวมานี่เรือนี่ก็ทนทนกว่าที่มันจะทำได้ตามหน้ากระดาษไปไกลมากเลยนะ เห็นว่าใช้งานไปกว่า10ครั้งเลย
ใช่ครับ ถือว่าทนกว่าที่คิด แต่ของมันมีอายุการใช้งานไงครับ และออกแบบมาไม่เคยมีการทดสอบแบบจริงจัง เสร็จแล้วมาใช้งานเลย
ขอบุคถณที่ให้วมรู้ เข้าใจได้ง่าย แต่ทรงไม่นาเป็นวิศวะ
เห็นแบบนี้แกจบ วิศวะ เพื่อน อู๋ spin9 นะ
พี่ทำต่อนะครับ ซีรีย์นี้ได้ความรู้ด้วย
สีเขียวๆ มันคือน้ำยากันซึมครับ
ตายไปพร้อมความมั่นใจของตนเอง ว่าเรือ ดีจริง
แถมพาคนอื่นไปตาย ใครทักท้วงทัดทานว่ามันไม่ผ่านมันไม่ได้มาตรฐานก็ดูขวางตาไปซะหมด
ดีเเล้วครับ ที่เจ้าของตายไป ขืนยังมีชีวิตอยู่ โดนหน่วยงานรัฐ เล่นหนักเเน่ ถึงเเม่จะ มีการทำสัญญาห้ามฟ้องบริษัท เเต่หน่วยงานรัฐ ก็มีสิทธิ์จัดการดำเนินคดี เรื่องอื่นๆอยู่ดี
เอาตรงๆคนที่ลงไปด้วยก็มั่นใจนั้นแหละระดับ ceo มาขับเอง ceo ก็มั้นใจเกินเหตุ
เห็นภาพเลยอธิบายดีครับ
น็อตฝาหน้า ผมว่า เขาคงไม่ฝากชีวิตไว้กับน๊อตเบอร์10หรือ12หรอกครับขันนิดๆหน่อยๆก็ขาดแล้ว ดูๆไปอาจเป็นน็อตเบอร์19-24ด้วยซ้ำ เผลอๆอาจเป็นเบอร์30นู้นเลย แต่น็อตที่ฝาก็น้อยไปอย่างว่านั่นแหละครับ
ครับ ไม่น่าจะใช่เบอร์ 12 จากที่พยายามเทียบสเกลแบบตั้งใจ น่าจะประมาณเบอร์ 17 หรือ 19 ครับ แต่เห็นคลิปอันนึงตอนเขาประกอบปิดฝา ดูจากประแจแล้วตัวเล็กมาก ไม่น่าจะใหญ่ถึงเบอร์ 21
@@zolkorn น่าจะประมาณนั้นครับ แต่คงไม่ใช่10-12แน่ๆ
No,
เอาโลหะ มาติดกาวกับคาร์บอนไฟเบอร์นี่นะ
อธิบายดีมากๆเลยค่ะ
ZoLKoRn = TH-camr Computer ❌ZoLKoRn = Scientist ✅สุดยอดครับ ข้อมูลย่อยง่ายมากๆ
จริงๆ เเล้วบังเเกจบ engineer มานั้นเเหละ
เข้าใจง่าย ใช้ภาษาเรียบง่ายเหมือนเพื่อนบ้านคุยกัน ชอบๆ
ช๊อคยังไงการใส่ กาวEpoxy มีใช้ทุกวงการ โครงการก่อสร้างถ้าระยะทาบต่อเหล็กไม่ได้ก็ใช้วิธีเจาะเสียบแล้วใช้ กาวEpoxy ยึด
ทากาว คิดได้ไงวัสดุ 3 ชนิด ขยาย/หดตัวไม่เท่ากันอยู่แล้ว พังอย่างเดียว
ทำไมไม่คิดจะงมเรือสุโขทัย?จะซื้อใหม่รึ?
เห็นรูปทรงกระบอกก็รู้แล้ว ไม่น่ารับแรงดันลึกขนาดนั้นไหว ลงลึกขนาดนั้นควรใช้ทรงกลม ขนาดจุได้แค่ 1 คนพอ แรงดันมาทุกทิศทาง ทรงกลมรับแรงแบบนั้นได้ดีที่สุด
คิดได้ไงเอากาวทา ยังกับของเด็กเล่น
จากคำอธิบาย ก็น่าจะ เป็นความประมาท ของทีมวิศวกร ที่ลืมประเมินว่า มันเดินทางลงไปหลายรอบ เป็นไปได้ ที่ส่วนโดม ลำตัว ที่จะหลุดจากวงแหวน จากข้อต่อ จากแรงบีบมหาศาล จากที่ใช้งานหลายรอบ เพราะว่า ถ้า จะ ปลดระวาง สร้างใหม่ ต้นทุนการผลิต มหาศาล ก็มีข่าวว่า มี วิศวกร ที่โดนปลด ก่อนหน้าที่จะปฎิบัติภาระกิจ ลงไป ใต้น้ำ แย้งว่า มันไม่ปลอดภัย เนื่องจากเคยลงไปหลายรอบแล้ว
อธิบายดีมากครับ ถ้ามีข้อมูลเพิ่มข่าวนี้ทำอีกนะครับ
สุดยอดความรู้ค๊ะ👋👋👋
ช่วงเวลาที่เขาคาดการณ์ว่าระเบิดมันยังไม่ถึงระดับที่ไททานิคนอนอยู่นี่ครับ แรงดันมันก็ต้องไม่ใช่ระดับไททานิคนอนอยู่ เพราะลงไปไม่นานมันก็ขาดการติดต่อแล้ว ให้คำแนะนำผมด้วยถ้าผมเข้าใจผิดตรงไหนอ่ะ
ถ้าทิ้ง rolex ตัวกันน้ำลึกลงไป อะไรจะเกิดขึ้น
หายครับ หาไม่เจอ 😂
แบบนี้ผู้โดยสารจะเสียชีวิตยังไงครับ โดนดีดออกไปในทะเลตามแรงลม หรือว่าโดนกดทับจนแหลกในยาน
ในคัมภีร์อัลกุรอ่าน ได้กล่าวว่า : " คำสั่งเดียวของพระองค์เมื่อพระองค์ทรงประสงค์คือตรัสกับสิ่งนั้นว่า " จงเป็น และสิ่งนั้นก็คือ เป็นเลย (82) มหาบริสุทธิ์ในพระหัตถ์ของพระองค์คืออาณาจักรแห่งสรรพสิ่งและพระองค์กลับคืนสู่พระองค์ หนึ่ง " ( 83).
บังเอิญจริงๆ กับการดำครั้งที่ 13
บอกตรงๆผมเรียนวิศวกรรมต่อเรือ ยานลำนี้ออกแบบได้งงมากๆไม่เข้าใจเขาคิดอะไรอยู่ที่เอาชีวิตตัวเองไปฝากกับยานเลโก
ต่อเรืออะไร
คาร์บอนไฟเบอร์ กระบวนการผลิตไม่ได้หลอมขึ้นรูปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติความแข็งแรงได้เหมือนโลหะ เข้าใจว่าน้ำหนักเบา แข็งแรงพอสมควร แต่เมื่อใช้งานผิดประเภทมันมีโอกาสล้าสะสมในเนื้อวัสดุได้
ไม่มีกล้องติดรึได้หัวมา น่าจะมีกล้องอัดเสียงภาพไว้
ทำไมไม่ใช้โลหะทั้งลำเสี่ยงตายแท้ฯ
จากการวิเคราะห์แล้ว ผมว่าซากมันสามารถซ่อมกลับมาใช้งานได้ใหม่โดยใช้ มาม่ากับกาวร้อน
5555
วิเคราห์ได้ดีมาก สมเหตุและผลครับ
วิเคราะเห็นว่าเป็นไปได้มากเขาไม่เปิดไห้เห็นส่วนกลางนั้นหรอกมันจะเสียคำว่านักวิชาการหรือดอกเตอร์นี้คือความมักง่ายนี้แหละอุปกรต่างๆเขาถึงมีการรับประกันกี่ชั่วโมงกี่ปีและ(ตลอดอายุการไช้งานแต่ก่อนมีเดียวนี้ไม่มีแล้ว)หัวกะทิตายนำ้ตื้น😢
วิเคราะห์เหนภาพดีมากครับ❤
อธิบายเข้าใจได้มากขึ้น ขอบคุณค่ะ
น็อตรอบโดมเขาใช้น็อตเบอร์21ครับบบบ
รับทราบครับ
มองเห็นภาพเลย ค่ะ ดีกว่าจารอ๊อดเยอะ อธิบายคีย์บอร์ดระเบิดซะเสียวิชาที่เรียนมา😂😂😂😂
ภายในควรมีเสาคาน เสริมรับเเรงกด ทรงกลม จะดีกว่า ทรงนี้
อธิบาย ดีมากๆ ค่ะ👍😊🇸🇪
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ🙏
กระจกมองรับแรงดันได้1600ตัวเรือรับแรงดันได้4000ซึ่งวิศวกรไปบอกเจ้าของว่ามันลงไม่ได้สรุปโดนไล่ออก
เป็นการคาดเดาที่มีเหตุผลมีความเป็นไปได้สูง 👍👍😁
วงแหวนควรจะมีเยอะกว่านี้ ตรงกลางลำไม่มีเลย การประกบฝาโดมก็ประกบแบบเรียบชนเรียบ ริงควรจะมีขอบรับฝาโดมกันฝาเคลื่อนหนีศูนย์เมื่อเจอแรงดัน
ความประมาทในการออกแบบชัดๆ
หัวกับท้าย แยกออกจากตรงกลาง ตรงกลางโดนบีบ ขิตแน่นอน ส่วนตรงกลาง เป็นคารบอนล้วน ถ้าจะให้แข็งแรงตอนสานเป็นแบบไขว้หลายชั้น เล่นสานแบบตามรอบเหมือนม้วนผม ก็เกมแล้ว
รอชมข้อมูล เพิ่มเติมนะครับ
ออกแบบเป็นแคปซูลถังก๊าซ ดีแล้ว แต่ดันไม่ใช่เป็นไทเทเนียมทั้งหมด อย่างงานดีฟชาเลนเจอ ของ คาเมรอน ในส่วนห้องโดยสาร เป็นวัสดุไทเทเนียมชิ้นเดียว ทรงกลม แม้จะเกิดความเสียหายในส่วนอื่น คาเมรอน ก็ยังคง มีชีวิตอยู่ในยานได้อีกระยะ เผื่อส่งสัญญาณความช่วยเหลือ แม้ช่วยชีวิตไม่ได้อย่างน้อยก็ยังได้ตัวคนไปประกอบพิธีส่วนไททัน จุดแข็งคือการออกแบบ แต่จุดอ่อนคือการเลือกใช้วัสดุต่างกันมาประกบกันเป็นห้องโดยสาร
แปลกไหมไททันจม4000เมตรกู้ได้อย่างรวดเร็วแต่เรือสุโขทัยจมมากี่เดือนมีการออกข่าวว่าจะกู้แล้วเงียบกริ๊บความเสียหายจากเงินและคนอีกมากมายแต่เรื่องเงียบกริบจากกองทัพเรือไทยหลอกหรือหยอกประชาชน?
ประเทศเขามีเรือดำน้ำลงไปงมหาได้แต่ไทยไม่มีเรือดำน้ำ
แล้วมันมาโกหกคนทั้งชาติทำไมว่าจะงมเรือสุโขทัยขึ้นมาตั้งท่าสร้างข่าวสุดท้ายเงียบทั้งคนทั้งเรือไม่มีใครรับผิดชอบ
@@Azathoth-bj4tn ยังอยากจะได้เรือดำน้ำถ้าเรือดำน้ำขัดข่องคงเงือบทั้งลำ
ขนาดต่างกันเยอะนะครับ เปรียบดังยกรถคันนึงกับยกรถไฟทั้งขบวน
คิดได้ไงเรือดำน้ำที่ต้องเจอแรงอัดมหาศาลจากใต้สมุทรที่ระดับความลึกกว่า 4 กิโลเมตรกลับมีโครงสร้างที่ติดกาวซะงั้นประมาทเกินไปคิดจะพิชิตธรรมชาติที่โหดเหี้ยมด้วยความคิดวิศวกรระดับมัธยม
บังวิเคราะห์โคตรเพลินเลย
งั้นผมก็เดาบ้างว่า คนห้าคน น่าจะรับรู้ได้บ้างในเสี้ยววินาทีนั้นแน่ๆ ผมคิดว่าศพน่าจะไม่ได้เป็นผุยผง แต่เป็นชิ้นๆ แต่ไหลไปตามใต้กระแสน้ำลึก
สัตว์ใต้น้ำลึกคาบเอาไปกินหมดแล้วป่านนี้
@@PuttamahamuneesriyodphalokKrunบ่งบอกถึงสติปัญญาของคนไทยคิดได้แค่นี้ไม่ต้องมีไรคาบไปแดกหรอก แค่โดนระดับน้ำขนาดนั้นก็ไม่เหลือแล้ว
@@UmaphonAschenbrennerถ้าเป็นแบบที่คุณว่าคงไม่มีสัตว์น้ำอยู่ได้หรอก
อันตรายมาก แรงดันขนาดนั้น😮
คุณบรรยายดี แต่เคอร์เซอร์คุณเล็กไปหน่อย จนบางจังหวะ ตามไม่ทัน ขอให้พัฒนาต่อไปครับ
ไว้จะแก้ไขครับ ขอบคุณมากครับ
ถ้าสภาพแบบนี้ ผู้เคราะห์ร้ายไม่เสียชีวิตกระทันหันเเน่นอน น่าจะพอมีเวลาให้ทรมานอยู่
ผมก็คิดงั้นนะ น่าจะได้เห็นเรือค่อยๆยุบก่อนภาพตัด
@@shiithanadet994 แล้วทุกคนก็ตกใจร้อง...เฮ้ย! โอ!มายก๊อด!
เก่งจังเลยครับ อ.จารย์
โอเค เรือพัง แต่หาศพไม่เจอ ทำไมไม่มีใครคิดว่า มีการล้มบนฟูก
ดูไปดูมาเหมือนแท็งเก็บน้ำฝนยึดน็อตแบบนี้เลย แท็งสี่เหลี่ยมสมัยก่อน
13 ใช่มั้ย ผมฟังไมาผิดใช่ไหม
เป็นไปได้มั้ยครับว่าสัตว์ทะเลน้ำลึกพวก octopus ขนาดใหญ่กว่าเรือไททันมาโจมตี
ตำแหน่ง ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ มีผล ด้วยครับ ฝากหาข้อมูล วัน เวลา ณ วันนั้น ด้วยครับ😮 แต่ออกแบบชุ้งจริงๆ
น่าจะมีคลิปหรือสารคดีกู้ซากtitanน่าสนใจ กู้ขึ้นมาได้ไงลึกเกือบ4กิโลเมตร
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
รอบ3 นิครับไม่ใช่13 หรือนับรวมรอบทดสอบด้วย
ลงไปสำเร็จถึงเรือ Titanic ถ้าแบบเป็นทางการที่มีบันทึกคือ 10 ครั้ง แต่ทั้งหมดจริงๆประมาณ 12 ครั้ง
เท่าที่ได้ฟังมา เค้าลงไป แค่3รอบ ปีก่อน ปีที่แล้ว และปีนี้ เกิดเรื่อง ถ้ามาก กว่านั้น อาจเปนลำอื่นรวมๆ กันป่าว 😮
ส่วนโดมกระจกหลุดหายไปเลย ลองนึกถึงหลอดยาสีฟันที่โดนรถเหยียบที่ตรงกลาง ฝาที่ถูกดันจากข้างในคงจะพุ่งออกมาพร้อมยาสีฟัน
แปกมาก ตอนอยู่น้ำตื้นไม่มีอะไร ไคจะไปคิดว่ายิ่งลึกยิ่งบีบ น้ำก็แค่ของเหลว
บังรีวิวI7 5820KกับI7เจน13ด้วยการ์ดจอRX6700XTไห้ดุทีเพราะว่าเปลี่ยนRX580-RX5700XT-RX6700XTด้วยI7 5820Kละเพรมมันก็เท่าเดิมเหมือนไม่ได้เปลี่ยนการ์ดจอเลยเชลมากๆเลยอยากรู้ต่างกันจริงที่โม้ไว้ไหมเพราะรองตั้งแต่เจน4-10ไม่ค่อยเห็นผล
สร้างมา ด้วยวัสดุ ที่สวนทาง กับ การใช้งานจริง ของจริง มันโหด ของจำลอง ใช้แค่ความคิด ว่าน่าจะได้ น่าจะทำได้ แต่ ของจริง มัน ไม่ใช่ ของที่ จำลอง หรือ ทำ เสมือน เหตุ ก้อ คือ อย่า ดูหมิ่น ธรรมชาติ เพราะ ธรรมชาติ คือ ของจริง
ข้อมูลดีงาม อธิบายเข้าใจง่ายดีครับแต่มีส่วนที่อยากเติม ผมอยากแนะนำให้ดูที่ 9อาร์ม ได้พูดไว้ครับ พวกกาว พวกน็อต มันไม่ได้ใช้ของง่อยๆนะ (แต่ก็นั่นแหละ ไม่ได้ดีอยู่ดี)พอรวมกับข้อมูลที่ช่องนี้มี ผมรู้สึกว่ามันสมบูรณ์ขึ้นเห็นจากซาก ก็พอจะเดาๆเหตุที่เกิดได้หน่อยๆแล้วว่ามันโดนบีบแบบไหนหลังจากฟังมาสองสามช่อง ก็เริ่มรู้ที่มาที่ไปและความเป็นไปได้เพิ่มมากขึ้นรอสรุปจาก ข่าวหลักอีกที พวก CG อธิบาย11.50 เกลียดเสียงเอฟเฟค 5555
เข้าใจครับ เรื่องน้อต กาว แต่หลักๆเขาคิดไว้สำหรับรับแรงกดเป็นหลักไงครับ แต่ประเด็นจริงๆคือ พอมีรอยต่อและรอยต่อดันต่อด้วยกาว มันเลยกลายเป็นจุดอ่อนไงครับ
@@zolkorn ใช่ๆ คือสุดท้ายแม่งก็โคตรแย่อยู่ดีทำแบบไม่เห็นชีวิตคนมีคุณค่าเลย
การออกแบบตัวห้องโดยสารด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ ให้อยู่ใต้มหาสมุทร น่าจะคิดถึงหลักแรงกด โครงสร้างรับแรงแบบ compression ring ควรมีโครงสร้างที่มีกระดูกเรือคล้ายเรือดำน้ำ แต่ดันใช้วัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ซึ่งเด่นเรื่องรับแรงดึง ตรงนี้น่าจะเป็น weak pointที่ 1 ส่วนที่ 2 น่าจะมาจากรอยต่อ เมื่อมีการวิบัติตัวห้องโดยสาร จุดเชื่อมเอาไม่อยู่ ก็พังครับ
ถ้ามหาเศรษฐีเห็นคลิปติดกาวก่อนคงโชคดีกว่านี้...😰
มันทากาวที่ขอบห้อง Carbon Fiber กับวงแหวนแต่ไม่มีตัวรั้งระหว่างวงแหวน 2 วงเพื่อเพิ่มควาทแข็งแรง แบบนี้นึกถึงกระบอกสูบเลยขนาดลม ขนาดแรงดันไม่สูงมาก ยังจำเป็นต้องมีน๊อตยาวๆรั้งสองข้างอัดตัวเข้าหาทั้งสองด้านของกระบอกสูบ และขนาดของกระบอกเส้นผ่าศูนย์กลางที่โตขึ้นมากๆ การให้ตัวก็มากกว่า และออกแบบมาเป็นลักษณะ Laminate ระหว่าง กระบอก Titanium กับ Carbon fiber ด้วยแล้วค่าการขยาบตัวและการหดตัวของสองสิ่งนี้ไม่เท่ากันแน่นอน และยิ่งอุณหภูมิในห้อง และนอกเรือที่แตกต่างด้วยมีโอกาสที่จะแยกชั้นและทำให้ความแข็งแรงลดลงไปได้อย่างมากเมื่อใช้งานมากครังขึ้น
ช่องนี้เขาวิเคราะห์แบบจัดเต็มเกี่ยวกับไททันทุกคลิปเลย ดูแล้วคุ้มค่ามากก
ไม่กินหมูแล้วดูฉลาดใช่ป่ะ?
ขอบคุณมากครับ
@@torthefirst6999 เกี่ยวไรกับหมู ? 🙄
@@torthefirst6999มึงจะสื่ออ่ะไรครับ?
อธิบายได้ชัดเจนเข้าใจง่าย ขอบคุณที่ทำคลิปให้ความรู้เดีๆแบบนี้
เห็นด้วยครับ แตกกลางลำ เพราะลงไปหลายรอบแล้วนับเป็นจำนวนไม่รู้กี่ชั่วโมงที่อยู่ในแรงดันสูงและอุณภูมิต่ำ ผมเห้นว่าคาร์บอนไฟเบอร์โดนแรงอัดจนเสียสภาพ ในการลงครั้งแรกๆอาจจะทนได้ แต่พอลงครั้งหลังๆสภาพตัวไฟเบอร์มันลดประสิทธิภาพทนแรงดันลง ทนแรงดันได้น้อยลงจากที่ตัวมันสูญเสียคุณสมบัติทางกายภาพ จึงแตกกลางลำ และผมเห็นด้วยว่าไม่ใช้การระเบิดแบบมีอุณภูมิสูง เป็นการแตกรั่วแบบฉับพลันแรงดันอัดตัวจากน้ำอัดอากาศยานระเบิดแตกออกเป็นเสี่ยง อากาศถูกอัดตัวจนละลายเข้าไปอยู่ในน้ำทั้งหมดไม่ได้มีฟองลอยขึ้นมาแต่อย่างใด และต้องมีชิ้นส่วนร่างกายมนุษย์เหลืออยู่แน่แต่อาจจะเป็นอาหารของสัตว์น้ำไปเยอะแล้ว
สร้างเรือด้วยความมักง่ายและเอาประหยัดเข้าว่าโดยไม่ได้คำนวณค่า stress ทุกจุดของเรือ
ออกแบบเหมือนคนไม่เคยเรียนฟิสิกส์หรือวิศวกรรมวัสดุ แถมจุดที่ทากาวก็ถือเป็นจุดที่มี "ความเครียดของวัสดุ" สูงมาก แต่ดันไปทำให้มันเปราะบาง
ก็สมควรแล้วที่ยานมันจะเจอเหตุการณ์ implosion ใต้น้ำ
แปลกกว่านั้นคือมีคนยอมจ่ายแพงๆเพื่อไปเสี่ยงตายด้วย 😢😢😢😢rip
แปลกกว่านั้นมืงลงไปได้ไง8ครั้งแล้วมาพลาดครั้งที่9
@@เซ็งเซ็ง-ฐ9ซมีโอกาสสูงครับ นึกภาพว่าปกติของเรือดำน้ำเขาจะใช้เหล็กเป็นส่วนประกอบ ขนาดมันเลยค่อนไปทางใหญ่ เพราะแต่ละลำหนา6นิ้วขึ้นไป แต่เรือไทมันจะโชว์เหนือโชว์ล้ำแต่ขาดการวิจัยที่ละเอียดรอบคอบ พูดง่ายๆ ทุนมันมีไม่สู้พวกงานวิจัยของแต่ละชาติอยู่แล้ว ดันเอาคาร์บอนมาใช้ผสมไทเทเนี่ยม มันแข็งกว่าเหล็กก้อจริง แจ่มันไม่สามารถยืดหยุ่นตัวมันเองได้ อย่างที่คุณว่าถึงจุดนึง มันก้อเหมือนหินที่แคร๊ก แข็งแต่แตกได้😊
ไม่จบวิศวะยังตะหงิดใจเลยนะจุดทากาวเนี่ย แบบ ห๊ะใช้กาวเชื่อมหรอ
สุดจริง เรือดำน้ำ DIY home-made ชัดๆ ไม่บึ้มก็แปลกแล้ว
เรื่อดำน้ำที่ได้มาตรฐานลงไปที่ความลึกขนาดนั้นได้จริงๆมีแค่10ลำในโลกครับ ซึ่งไม่ใช่ไททัน
@@NickyHanon สร้างมาดีอย่าง Alvin ดำลงลึก 4000-5000 ครั้งผ่าน 40กว่าปีก็ยังไม่เสียหายปลอดภัยใช้งานจนถึงปัจจุบันอยู่เลย
ประเด็นคือมันลงไปหลายครั้งแล้วด้วยนะ ไอ้ไททันนี่ รวมๆ 10+ ครั้งได้ รวมการทดสอบด้วย
เจ้าของเรือหิวเงินครับ คำนึงผลประโยชน์มากกว่าความปลอดภัย
เขาบอก diy ส่วนใหญ่คือสายดีด
มีข้อบกพร่องแน่ แต่มันไม่น่าจะผลิตแบบก๊องแก๊งอย่างที่คุณว่า ก็มีเหตุมีผลเป็นที่น่าสนใจ ดูเรื่องการเมืองมันทั้งเบื่อทั้งแย่ ดูช่องนี้เปลี่ยนบรรยากาศ
ดูคลิปตอนสร้างไททัน มีโครงสร้างโลหะบริเวณห้องโดยสาร บริเวณห้องผู้โดยสารทรงกระบอกทำจาก carbon fiber เรียงหลายชั้น ภายนอกสีขาวทำจาก fiber glass หรือเปล่าไม่แน่ใจ หัวท้าย เป็นโดมไทเทเนียม มีช่อง view spot อยู่ด้านหน้า ทำจากอาคิริก หนา โดมหัวท้ายยึดด้วยวงแวน และน๊อต ตัววงแวนคงจะยึดด้วยกาว เหมือนพี่บังบอกในคลิป ถ้าเป็นแบบนี้ ผมว่าจุดอ่อนของเรือเยอะเกินไป ขอแสดงความเสียใจกับผู้เสียชีวิตด้วยนะครับ
เห็นภาพตามเลยครับ ขอบคุณมากครับ วิเคราะห์ชัดเจน ได้
ความรู้ดีมากๆ
ข้อมูลละเอียดมากครับ อธิบายให้ฟังเข้าใจง่าย
นึกถึงมือถือกันน้ำดี ๆ ที่อาจจะกันได้ 100% จุ่มน้ำตอนใหม่แกะกล่อง ใส่ถ่ายใต้น้ำได้8-10 ครั้ง คิดว่ากันได้ดีไม่เห็นเป็นไรเลย แต่เอาลงในรอบ11 ด้วยความชะล่าใจ สุดท้ายกลับบ้านเก่า ความชื้นเข้าศูนย์ไม่รับเคลม ความประมาทของผู้ใช้งานโดยแท้
ออกแบบเรือดำน้ำติดกาว epoxy เพื่อให้ทนแรงอัดขนาดหอไอเฟลกดทับ แล้วแรงอัดขนาดนั้นจะมีอะไรเหลือหรอ ใช้อะไรคิดให้เอาคนเข้าไปอยู่ด้านในได้
คนฉลาดแบบท่าน คิดว่าต้องทำยังไงอ่ะ
@@sorryforeverything8350จะบอกให้ง่ายๆว่าคนฉลาดน้อยแบบท่านไม่ควรเขียนตอบใครไงหละ
ชอบที่คนไม่รู้เรื่องอะไรเรือดำน้ำ มาอธิบาย ให้ คนเข้าใจได้ครับ
ชอบฟังพี่ค่ะ ละเอียดดีเข้าใจง่ายด้วยค่ะ
สวัสดีครับ อธิบายได้ชัดเจนดีครับ เสียงพูด/ภาพคมชัดครับ ฟังแล้วคาดว่าจะเป็นเช่นนั้นครับ ประกอบกับแรงดันอากาศภายในที่ต้องคงที่ถึงทำให้มนุษย์อยู่ข้างในได้ ออกซิเจนก็สำคัญครับ
พิธีกร อธิบาย ด้วยความรู้ความสามารถ ล้วนๆ เก่งมากสุดๆ
ขอบคุณมากครับ
หน้าพี่เหมือนศิลปินมาก คลิปสุดยอดมากกระจ่างเลย
ชัดเจนมากเลยครับ ขอบคุณมากๆเลยครัยสำหรับความรู้นี้
มาดูคลิปนี้ กระจ่างขึ้นมามากเลย
ไม่มีความปลอดภัยเอาสะเลย
ผมชอบแบบจำลองแกนทิชชู่ กับหัวขวดน้ำอัดลม เข้าใจง่ายมาก
ขอขอบคุณ
ขอบคุณครับ
ชอบมากค่ะ การวิเคราะห์แบบนี้ เพราะดูจากการกู้ซาก ก็พบว่า ชิ้นมันยังดูใหญ่ๆอยู่เลย คือเชื่อได้ว่า เป็นซากของเรือไททันจริงๆ
เปรียบง่ายสุดก็อย่างที่บังบอก เหมือนเราขับรถเหยียบใจกลางขวดน้ำ ยุบจากตรงกลางทำให้ฝาหน้าและหลังกระเด็นออกเพราะแรงดัน แต่ก็ตายในเสี้ยววินาทีเหมือนเดิม ถ้ายานมันสั้นกว่านี้ ให้รูปร่างมันใกล้เคียงกับทรงกลมมากที่สุดก็จะทนแรงได้มากกว่านี้แน่นอน กระป๋องเบียร์สั้นๆบีบยากกว่ากระป๋องเบียร์ยาวๆ ก็คือเป็นความอวดอุตริของเจ้าของบริษัท วัสดุก็ไม่แข็งเกร็ง ถ้ามันลงไปแล้วกาวทนไม่ไหวโดนกดจนเสียรูปนิดเดียวก็บึ้ม อยากเอาคนเยอะๆไปดำน้ำ ไม่ทำตามสิ่งที่ควรทำ ก็สงสารน้องอายุ19นะ บ้านรวยซะเปล่าแต่อายุไม่ยืน มีเงินก็ซื้อชีวิตไว้ไม่ได้ ผมไม่ได้เรียนวัสดุศาสตร์มายังรู้ว่าไม่ควรใช้ carbon fiber เพราะสุดท้ายส่วนที่รับแรงจริงๆก็คือกาว epoxy ที่เป็นตัวเชื่อมประสาน พอกาวมันลงไปที่เย็นๆอย่างใต้น้ำมันอาจทำให้คุณสมบัติของตัวเองเปลี่ยนไป หรืออีกอย่างหนึ่งคือมันเป็นวัสดุคนละอย่างกับไทเทเนี่ยม แน่นอนดัชนีการหดตัวเมื่อเจอความเย็นและแรงดันไม่เท่ากันอยู่แล้ว epoxy+carbon fiber เจอเย็นแล้วหดจนแตกก็ยานบึ้มเหมือนกัน ว่าแต่อยากรู้เหมือนกันว่าเขาทำไมเอา carbon fiber มาหุ้ม คิดอะไรแปลกๆ อยากจะทำยานหลายๆลำเพื่อลดต้นทุนซะละมั้ง
ก็คงอยากลดต้นทุนส่วน1 และก็อยากมีชื่อเสียงเป็นคนแรกของโลกด้วยล่ะมั้งว่าเป็นผู้สร้างยานดำน้ำด้วยวัสดุดังกล่าวคนแรก เพราะเคยถูกบันทึกชื่อในกินเนสบุ๊ค/กินเนสเวิลด์หรือกินเนสอะไรสักอย่างนี่แหละ555 เหมือนว่าถูกบันทึกมา2-3รายการแล้วมั้งเขาก็คงอยากถูกบันทึกเรื่อยๆล่ะมั้งดูทรง
มันมีสัตว์ยักษ์ใต้ทะเล แน่ๆครับที่เรายังไม่ค้นพบพวกมัน กันมาเจอไฟพอดี มันเลยทำร้ายเรือ เป็นไปได้ไหม
แล้วร่างกายมนุษย์เป็นของเหลว คงแบบ น้ำกระฉุดเป็นสีแดง
@@MamiPoggo เป็นไปได้ครับถ้าเราดูหนังเยอะๆ
ไททาเนียมมันทำหน้าที่ของมันสุดๆแล้วมันทำดีแล้วแบกเรือลงมาได้ 12 ครั้ง
ตัวห้องทรงกระบอกน่าจะถูกบีบอัดอย่างที่ว่า เพราะโครงร่างไม่แข็งแรงพอ(นิ่มแต่เหนียว)ที่จะรับแรงดันใต้น้ำลึก 3.8 km ได้(ถึงวันหมดอายุพอดี) ทำให้อากาศที่ถูกบีบอัดภายในต้องหาทางออกในจุดที่อ่อนแอที่สุด คือ อะคริลิคใสด้านหน้า สภาพโดมหน้าหลังและวงแหวนซึ่งมีความแข็งแรงกว่าจึงยังคงสภาพเดิมอยู่ได้
คาวบอยไฟเบอร์แข็งแต่ไม่เหนี่ยวครับ
เจ้าของ สร้างแบบลดต้นทุน ก่อนดำลงไปมีการเซ็น สัญญา ห้ามเอาผิด บริษัท ซึ่งหมายความว่ามันไม่รับผิดชอบนั้นเองเพราะว่ามันผลิตไม่ดี วิศวกรที่ออกแบบเรือ เขายังมาพูดเลยว่าเรือดำน้ำมันไม่ได้คุณภาพ ก็เลยโดนไล่ออกไปแต่ปี 20xxกว่าๆๆ เปิดเผยความลับว่าเรือดำน้ำไม่ได้มาตรฐาน
คาร์บอนมันน่าจะถึงขีดความทน เพราะมันลงไปเป็น10ๆรอบ ตอนลงไปข้างล่าง โดนแรงบีบ ซ้ำแล้วๆ
ถ้าเป็๋นแบบที่บอก สยองมากนะครับ ศพคงน่าจะติดในดงหนามคาบอนไฟเบอร์ด้านในที่ระเบิดเข้ามา
แล้วสภาพการเสียชีวิตของผู้โดยสารละคะ (ขอสู่สุคติค่ะ)
แสดงว่าตัวที่เป็นแกนทิชชู่ที่ยังหาไม่เจอ ต้องมีศพถูบซากนี้บีบร่างอยู่ ใช่ใหมครับป๋า
ถ้าใช้ไทเททั้งลำยึดด้วยน๊อตเลส น่าจะไม่บึ้ม อันนี้น่าจะไร่เบามากเกินไป เลยเสี่ยงเกินไป ถ้าดีจริง เครื่องบินคงเอาคาบ้อนไฟเบอร์ทำทั้งลำแล้ว ลงครั้งแรกครั้งสองครั้งรอดมาได้ แต่พอครั้งต่อไปคงมีรอย crack สะสมเพิ่มขึ้นเลื่อย ๆ แล้วพอลงไปอีกรอบต่อๆไปเลยบึ้มเลยงานนี้ เข้าใจครับ ผมก็ชอบแนวแบบนี้เช่นกันครับ
วิเคราะห์ละเอียดดีมากครับ
เห็นด้วย แต่ยังสงสัยว่า จุดเริ่มของการพังลงจองโครงสร้างคาร์บอนไฟเบอร์ มันเกิดขึ้นพร้อมๆกันหลายๆส่วนเลย หรือว่ามาจากจุดเปราะบางที่สุดจุดเดียวก่อน จากนั้นค่อยแผ่ไปส่วนอื่นๆอย่างรวดเร็ว ทำให้แรงอัดจริงอาจจะเกิดขึ้นที่ด้านใดด้านหนึ่งของส่วนแกนกลางก่อน แล้วอัดสู่ภายในด้านอื่นๆและส่วนหัวท้าย ระหว่างนั้นความดันภายในที่สูงขึ้นทำให้เกิดการระเบิดจากก๊าซร้อนขยายตัวอีกครั้ง จนหัวท้ายระเบิดกระเด็นไป
ส่วนผดส.ก็ถูกทั้งโครงสร้างและอากาศภายในอัดแหลกในชั่วเสี้ยววินาที และกระจายไปตามแรงระเบิดในชั่วเสี้ยววินาทีเหมือนกับตัวยาน
คือ มันเป็นไปได้หมดทุกทางละครับ เราสรุปแบบฟันธงไม่ได้หรอกครับ มันต้องรอซากยานจากทุกส่วนก้อนมันถึงจะบอกอะไรได้แบบชัดเจนมากขึ้น
ต้องไปนั่งร้านน้ำชา จะนะ วิเคราะห์ต่อแล้วครับ
ว่ากันตรงๆถ้ามันแย่จริงๆแบบที่ออกข่าวมานี่เรือนี่ก็ทนทนกว่าที่มันจะทำได้ตามหน้ากระดาษไปไกลมากเลยนะ เห็นว่าใช้งานไปกว่า10ครั้งเลย
ใช่ครับ ถือว่าทนกว่าที่คิด แต่ของมันมีอายุการใช้งานไงครับ และออกแบบมาไม่เคยมีการทดสอบแบบจริงจัง เสร็จแล้วมาใช้งานเลย
ขอบุคถณที่ให้วมรู้ เข้าใจได้ง่าย แต่ทรงไม่นาเป็นวิศวะ
เห็นแบบนี้แกจบ วิศวะ เพื่อน อู๋ spin9 นะ
พี่ทำต่อนะครับ ซีรีย์นี้ได้ความรู้ด้วย
สีเขียวๆ มันคือน้ำยากันซึมครับ
ตายไปพร้อมความมั่นใจของตนเอง ว่าเรือ ดีจริง
แถมพาคนอื่นไปตาย ใครทักท้วงทัดทานว่ามันไม่ผ่านมันไม่ได้มาตรฐานก็ดูขวางตาไปซะหมด
ดีเเล้วครับ ที่เจ้าของตายไป ขืนยังมีชีวิตอยู่ โดนหน่วยงานรัฐ เล่นหนักเเน่ ถึงเเม่จะ มีการทำสัญญาห้ามฟ้องบริษัท เเต่หน่วยงานรัฐ ก็มีสิทธิ์จัดการดำเนินคดี เรื่องอื่นๆอยู่ดี
เอาตรงๆคนที่ลงไปด้วยก็มั่นใจนั้นแหละระดับ ceo มาขับเอง ceo ก็มั้นใจเกินเหตุ
เห็นภาพเลยอธิบายดีครับ
น็อตฝาหน้า ผมว่า เขาคงไม่ฝากชีวิตไว้กับน๊อตเบอร์10หรือ12หรอกครับขันนิดๆหน่อยๆก็ขาดแล้ว ดูๆไปอาจเป็นน็อตเบอร์19-24ด้วยซ้ำ เผลอๆอาจเป็นเบอร์30นู้นเลย แต่น็อตที่ฝาก็น้อยไปอย่างว่านั่นแหละครับ
ครับ ไม่น่าจะใช่เบอร์ 12 จากที่พยายามเทียบสเกลแบบตั้งใจ น่าจะประมาณเบอร์ 17 หรือ 19 ครับ แต่เห็นคลิปอันนึงตอนเขาประกอบปิดฝา ดูจากประแจแล้วตัวเล็กมาก ไม่น่าจะใหญ่ถึงเบอร์ 21
@@zolkorn น่าจะประมาณนั้นครับ แต่คงไม่ใช่10-12แน่ๆ
มันมีสัตว์ยักษ์ใต้ทะเล แน่ๆครับที่เรายังไม่ค้นพบพวกมัน กันมาเจอไฟพอดี มันเลยทำร้ายเรือ เป็นไปได้ไหม
No,
เอาโลหะ มาติดกาวกับคาร์บอนไฟเบอร์นี่นะ
อธิบายดีมากๆเลยค่ะ
ZoLKoRn = TH-camr Computer ❌
ZoLKoRn = Scientist ✅
สุดยอดครับ ข้อมูลย่อยง่ายมากๆ
จริงๆ เเล้วบังเเกจบ engineer มานั้นเเหละ
เข้าใจง่าย ใช้ภาษาเรียบง่ายเหมือนเพื่อนบ้านคุยกัน ชอบๆ
ช๊อคยังไงการใส่ กาวEpoxy มีใช้ทุกวงการ โครงการก่อสร้างถ้าระยะทาบต่อเหล็กไม่ได้ก็ใช้วิธีเจาะเสียบแล้วใช้ กาวEpoxy ยึด
ทากาว คิดได้ไง
วัสดุ 3 ชนิด ขยาย/หดตัวไม่เท่ากันอยู่แล้ว พังอย่างเดียว
ทำไมไม่คิดจะงมเรือสุโขทัย?จะซื้อใหม่รึ?
เห็นรูปทรงกระบอกก็รู้แล้ว ไม่น่ารับแรงดันลึกขนาดนั้นไหว ลงลึกขนาดนั้นควรใช้ทรงกลม ขนาดจุได้แค่ 1 คนพอ แรงดันมาทุกทิศทาง ทรงกลมรับแรงแบบนั้นได้ดีที่สุด
คิดได้ไงเอากาวทา ยังกับของเด็กเล่น
จากคำอธิบาย ก็น่าจะ เป็นความประมาท ของทีมวิศวกร ที่ลืมประเมินว่า มันเดินทางลงไปหลายรอบ เป็นไปได้ ที่ส่วนโดม ลำตัว ที่จะหลุดจากวงแหวน จากข้อต่อ จากแรงบีบมหาศาล จากที่ใช้งานหลายรอบ เพราะว่า ถ้า จะ ปลดระวาง สร้างใหม่ ต้นทุนการผลิต มหาศาล ก็มีข่าวว่า มี วิศวกร ที่โดนปลด ก่อนหน้าที่จะปฎิบัติภาระกิจ ลงไป ใต้น้ำ แย้งว่า มันไม่ปลอดภัย เนื่องจากเคยลงไปหลายรอบแล้ว
อธิบายดีมากครับ ถ้ามีข้อมูลเพิ่มข่าวนี้ทำอีกนะครับ
สุดยอดความรู้ค๊ะ👋👋👋
ช่วงเวลาที่เขาคาดการณ์ว่าระเบิดมันยังไม่ถึงระดับที่ไททานิคนอนอยู่นี่ครับ แรงดันมันก็ต้องไม่ใช่ระดับไททานิคนอนอยู่ เพราะลงไปไม่นานมันก็ขาดการติดต่อแล้ว ให้คำแนะนำผมด้วยถ้าผมเข้าใจผิดตรงไหนอ่ะ
ถ้าทิ้ง rolex ตัวกันน้ำลึกลงไป อะไรจะเกิดขึ้น
หายครับ หาไม่เจอ 😂
แบบนี้ผู้โดยสารจะเสียชีวิตยังไงครับ โดนดีดออกไปในทะเลตามแรงลม หรือว่าโดนกดทับจนแหลกในยาน
ในคัมภีร์อัลกุรอ่าน ได้กล่าวว่า : " คำสั่งเดียวของพระองค์เมื่อพระองค์ทรงประสงค์คือตรัสกับสิ่งนั้นว่า " จงเป็น และสิ่งนั้นก็คือ เป็นเลย (82) มหาบริสุทธิ์ในพระหัตถ์ของพระองค์คืออาณาจักรแห่งสรรพสิ่งและพระองค์กลับคืนสู่พระองค์ หนึ่ง " ( 83).
บังเอิญจริงๆ กับการดำครั้งที่ 13
บอกตรงๆผมเรียนวิศวกรรมต่อเรือ ยานลำนี้ออกแบบได้งงมากๆไม่เข้าใจเขาคิดอะไรอยู่ที่เอาชีวิตตัวเองไปฝากกับยานเลโก
ต่อเรืออะไร
คาร์บอนไฟเบอร์ กระบวนการผลิตไม่ได้หลอมขึ้นรูปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติความแข็งแรงได้เหมือนโลหะ เข้าใจว่าน้ำหนักเบา แข็งแรงพอสมควร แต่เมื่อใช้งานผิดประเภทมันมีโอกาสล้าสะสมในเนื้อวัสดุได้
ไม่มีกล้องติดรึได้หัวมา น่าจะมีกล้องอัดเสียงภาพไว้
ทำไมไม่ใช้โลหะทั้งลำเสี่ยงตายแท้ฯ
จากการวิเคราะห์แล้ว ผมว่าซากมันสามารถซ่อมกลับมาใช้งานได้ใหม่โดยใช้ มาม่ากับกาวร้อน
5555
วิเคราห์ได้ดีมาก สมเหตุและผลครับ
วิเคราะเห็นว่าเป็นไปได้มากเขาไม่เปิดไห้เห็นส่วนกลางนั้นหรอกมันจะเสียคำว่านักวิชาการหรือดอกเตอร์นี้คือความมักง่ายนี้แหละอุปกรต่างๆเขาถึงมีการรับประกันกี่ชั่วโมงกี่ปีและ(ตลอดอายุการไช้งานแต่ก่อนมีเดียวนี้ไม่มีแล้ว)หัวกะทิตายนำ้ตื้น😢
วิเคราะห์เหนภาพดีมากครับ❤
อธิบายเข้าใจได้มากขึ้น ขอบคุณค่ะ
น็อตรอบโดมเขาใช้น็อตเบอร์21ครับบบบ
รับทราบครับ
มองเห็นภาพเลย ค่ะ ดีกว่าจารอ๊อดเยอะ อธิบายคีย์บอร์ดระเบิดซะเสียวิชาที่เรียนมา😂😂😂😂
ภายในควรมีเสาคาน เสริมรับเเรงกด ทรงกลม จะดีกว่า ทรงนี้
อธิบาย ดีมากๆ ค่ะ👍😊🇸🇪
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ🙏
กระจกมองรับแรงดันได้1600ตัวเรือรับแรงดันได้4000ซึ่งวิศวกรไปบอกเจ้าของว่ามันลงไม่ได้สรุปโดนไล่ออก
เป็นการคาดเดาที่มีเหตุผลมีความเป็นไปได้สูง 👍👍😁
วงแหวนควรจะมีเยอะกว่านี้ ตรงกลางลำไม่มีเลย การประกบฝาโดมก็ประกบแบบเรียบชนเรียบ ริงควรจะมีขอบรับฝาโดมกันฝาเคลื่อนหนีศูนย์เมื่อเจอแรงดัน
ความประมาทในการออกแบบชัดๆ
หัวกับท้าย แยกออกจากตรงกลาง ตรงกลางโดนบีบ ขิตแน่นอน ส่วนตรงกลาง เป็นคารบอนล้วน ถ้าจะให้แข็งแรงตอนสานเป็นแบบไขว้หลายชั้น เล่นสานแบบตามรอบเหมือนม้วนผม ก็เกมแล้ว
รอชมข้อมูล เพิ่มเติมนะครับ
ออกแบบเป็นแคปซูลถังก๊าซ ดีแล้ว แต่ดันไม่ใช่เป็นไทเทเนียมทั้งหมด
อย่างงานดีฟชาเลนเจอ ของ คาเมรอน ในส่วนห้องโดยสาร เป็นวัสดุไทเทเนียมชิ้นเดียว ทรงกลม แม้จะเกิดความเสียหายในส่วนอื่น คาเมรอน ก็ยังคง มีชีวิตอยู่ในยานได้อีกระยะ เผื่อส่งสัญญาณความช่วยเหลือ แม้ช่วยชีวิตไม่ได้อย่างน้อยก็ยังได้ตัวคนไปประกอบพิธี
ส่วนไททัน จุดแข็งคือการออกแบบ แต่จุดอ่อนคือการเลือกใช้วัสดุต่างกันมาประกบกันเป็นห้องโดยสาร
แปลกไหมไททันจม4000เมตรกู้ได้อย่างรวดเร็วแต่เรือสุโขทัยจมมากี่เดือนมีการออกข่าวว่าจะกู้แล้วเงียบกริ๊บความเสียหายจากเงินและคนอีกมากมายแต่เรื่องเงียบกริบจากกองทัพเรือไทยหลอกหรือหยอกประชาชน?
ประเทศเขามีเรือดำน้ำลงไปงม
หาได้แต่ไทยไม่มีเรือดำน้ำ
แล้วมันมาโกหกคนทั้งชาติทำไมว่าจะงมเรือสุโขทัยขึ้นมาตั้งท่าสร้างข่าวสุดท้ายเงียบทั้งคนทั้งเรือไม่มีใครรับผิดชอบ
@@Azathoth-bj4tn ยังอยากจะได้เรือดำน้ำถ้าเรือดำน้ำขัดข่องคงเงือบทั้งลำ
ขนาดต่างกันเยอะนะครับ เปรียบดังยกรถคันนึงกับยกรถไฟทั้งขบวน
คิดได้ไงเรือดำน้ำที่ต้องเจอแรงอัดมหาศาลจากใต้สมุทรที่ระดับความลึกกว่า 4 กิโลเมตรกลับมีโครงสร้างที่ติดกาวซะงั้นประมาทเกินไปคิดจะพิชิตธรรมชาติที่โหดเหี้ยมด้วยความคิดวิศวกรระดับมัธยม
บังวิเคราะห์โคตรเพลินเลย
งั้นผมก็เดาบ้างว่า คนห้าคน น่าจะรับรู้ได้บ้างในเสี้ยววินาทีนั้นแน่ๆ ผมคิดว่าศพน่าจะไม่ได้เป็นผุยผง แต่เป็นชิ้นๆ แต่ไหลไปตามใต้กระแสน้ำลึก
สัตว์ใต้น้ำลึกคาบเอาไปกินหมดแล้วป่านนี้
@@PuttamahamuneesriyodphalokKrunบ่งบอกถึงสติปัญญาของคนไทยคิดได้แค่นี้ไม่ต้องมีไรคาบไปแดกหรอก แค่โดนระดับน้ำขนาดนั้นก็ไม่เหลือแล้ว
@@UmaphonAschenbrennerถ้าเป็นแบบที่คุณว่าคงไม่มีสัตว์น้ำอยู่ได้หรอก
อันตรายมาก แรงดันขนาดนั้น😮
คุณบรรยายดี แต่เคอร์เซอร์คุณเล็กไปหน่อย จนบางจังหวะ ตามไม่ทัน ขอให้พัฒนาต่อไปครับ
ไว้จะแก้ไขครับ ขอบคุณมากครับ
ถ้าสภาพแบบนี้ ผู้เคราะห์ร้ายไม่เสียชีวิตกระทันหันเเน่นอน น่าจะพอมีเวลาให้ทรมานอยู่
ผมก็คิดงั้นนะ น่าจะได้เห็นเรือค่อยๆยุบก่อนภาพตัด
@@shiithanadet994
แล้วทุกคนก็ตกใจร้อง...เฮ้ย! โอ!มายก๊อด!
เก่งจังเลยครับ อ.จารย์
โอเค เรือพัง แต่หาศพไม่เจอ ทำไมไม่มีใครคิดว่า มีการล้มบนฟูก
ดูไปดูมาเหมือนแท็งเก็บน้ำฝนยึดน็อตแบบนี้เลย แท็งสี่เหลี่ยมสมัยก่อน
13 ใช่มั้ย ผมฟังไมาผิดใช่ไหม
เป็นไปได้มั้ยครับว่าสัตว์ทะเลน้ำลึกพวก octopus ขนาดใหญ่กว่าเรือไททันมาโจมตี
No,
ตำแหน่ง ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ มีผล ด้วยครับ ฝากหาข้อมูล วัน เวลา ณ วันนั้น ด้วยครับ😮 แต่ออกแบบชุ้งจริงๆ
น่าจะมีคลิปหรือสารคดีกู้ซากtitanน่าสนใจ กู้ขึ้นมาได้ไงลึกเกือบ4กิโลเมตร
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
รอบ3 นิครับไม่ใช่13 หรือนับรวมรอบทดสอบด้วย
ลงไปสำเร็จถึงเรือ Titanic ถ้าแบบเป็นทางการที่มีบันทึกคือ 10 ครั้ง แต่ทั้งหมดจริงๆประมาณ 12 ครั้ง
เท่าที่ได้ฟังมา เค้าลงไป แค่3รอบ ปีก่อน ปีที่แล้ว และปีนี้ เกิดเรื่อง ถ้ามาก กว่านั้น อาจเปนลำอื่น
รวมๆ กันป่าว 😮
ส่วนโดมกระจกหลุดหายไปเลย ลองนึกถึงหลอดยาสีฟันที่โดนรถเหยียบที่ตรงกลาง ฝาที่ถูกดันจากข้างในคงจะพุ่งออกมาพร้อมยาสีฟัน
แปกมาก ตอนอยู่น้ำตื้นไม่มีอะไร ไคจะไปคิดว่ายิ่งลึกยิ่งบีบ น้ำก็แค่ของเหลว
บังรีวิวI7 5820KกับI7เจน13ด้วยการ์ดจอRX6700XTไห้ดุทีเพราะว่าเปลี่ยนRX580-RX5700XT-RX6700XTด้วยI7 5820Kละเพรมมันก็เท่าเดิมเหมือนไม่ได้เปลี่ยนการ์ดจอเลยเชลมากๆเลยอยากรู้ต่างกันจริงที่โม้ไว้ไหมเพราะรองตั้งแต่เจน4-10ไม่ค่อยเห็นผล
สร้างมา ด้วยวัสดุ ที่สวนทาง กับ การใช้งานจริง ของจริง มันโหด ของจำลอง ใช้แค่ความคิด ว่าน่าจะได้ น่าจะทำได้ แต่ ของจริง มัน ไม่ใช่ ของที่ จำลอง หรือ ทำ เสมือน
เหตุ ก้อ คือ อย่า ดูหมิ่น ธรรมชาติ เพราะ ธรรมชาติ คือ ของจริง
ข้อมูลดีงาม อธิบายเข้าใจง่ายดีครับ
แต่มีส่วนที่อยากเติม ผมอยากแนะนำให้ดูที่ 9อาร์ม ได้พูดไว้ครับ พวกกาว พวกน็อต มันไม่ได้ใช้ของง่อยๆนะ (แต่ก็นั่นแหละ ไม่ได้ดีอยู่ดี)
พอรวมกับข้อมูลที่ช่องนี้มี ผมรู้สึกว่ามันสมบูรณ์ขึ้น
เห็นจากซาก ก็พอจะเดาๆเหตุที่เกิดได้หน่อยๆแล้วว่ามันโดนบีบแบบไหน
หลังจากฟังมาสองสามช่อง ก็เริ่มรู้ที่มาที่ไปและความเป็นไปได้เพิ่มมากขึ้น
รอสรุปจาก ข่าวหลักอีกที พวก CG อธิบาย
11.50 เกลียดเสียงเอฟเฟค 5555
เข้าใจครับ เรื่องน้อต กาว แต่หลักๆเขาคิดไว้สำหรับรับแรงกดเป็นหลักไงครับ แต่ประเด็นจริงๆคือ พอมีรอยต่อและรอยต่อดันต่อด้วยกาว มันเลยกลายเป็นจุดอ่อนไงครับ
@@zolkorn ใช่ๆ คือสุดท้ายแม่งก็โคตรแย่อยู่ดี
ทำแบบไม่เห็นชีวิตคนมีคุณค่าเลย
การออกแบบตัวห้องโดยสารด้วยคาร์บอนไฟเบอร์ ให้อยู่ใต้มหาสมุทร น่าจะคิดถึงหลักแรงกด โครงสร้างรับแรงแบบ compression ring ควรมีโครงสร้างที่มีกระดูกเรือคล้ายเรือดำน้ำ แต่ดันใช้วัสดุคาร์บอนไฟเบอร์ซึ่งเด่นเรื่องรับแรงดึง ตรงนี้น่าจะเป็น weak pointที่ 1 ส่วนที่ 2 น่าจะมาจากรอยต่อ เมื่อมีการวิบัติตัวห้องโดยสาร จุดเชื่อมเอาไม่อยู่ ก็พังครับ
ถ้ามหาเศรษฐีเห็นคลิปติดกาวก่อนคงโชคดีกว่านี้...😰