ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ฟ้อนเก่งมากเลยค่ะ
อาคมรับชม😊
และจนมาถึงแม่ครูพลอยศรีก็ปรับปรุงเพื่อให้เหมาะสมแก่เหตุผลดังที่กล่าวมา เราควรมองคุณค่าความงามทั้งสองฉบับนี้ ไม่มีของเก่า ของใหม่ก็ไม่เกิด แต่ถ้ายังคงของเดิมไว้อย่างนั้นโดยไม่ปรับเปลี่ยนตามสภาพสังคม ของดีมีค่าก็อาจสูญหายไป เจตนาของแม่ครูพลอยศรีไม่ได้มีเจตนาเพื่อตัวเอง ท่านเป็นคนพาแม่ครูบัวเรียวออกแสดงจนมีชื่อเสียง ท่านขอต่อท่าฟ้อนอย่างถูกจารีตประเพณีทั้งที่ท่านอายุมากกว่ามากโดยที่ท่านไม่ได้หยิ่งในศักดิ์ศรี ท่านอนุญาตให้วิทยาลัยทำการปรับปรุงได้ตามความเหมาะสม
ผึกฟ้องตามอยู่ค่ะ
ไม่ว่าใครจะเอาไปปรับเปลี่ยนอะไรอย่าไงรก็ตามผมว่าน่าจะให้เครดิตกับของเดิมด้วย แม่ครูพลอยศรีนำไปปรับปรุงก็ไม่ผิดแต่ควรเปลี่ยนแปลงในเรื่องของชื่อชุดการแสดงด้วย เพื่อที่จะไม่ให้มีการสับสนเกิดขึ้นภายหลัง เพราะคนรุ่นหลังที่ไม่รู้ก็จะมาถกเถียงกันว่าฟ้อนสาวไหมเป็นของที่ไหนกันแน่ระหว่าง เชียงรายกับเชียงใหม่
ฟ้อนสาวไหม นั้นเริ่มต้นจริง มาจากแม่ครูบัวเรียว รัตนมณีภรณ์นะครับ ขอบอกไว้ ณ ที่นี้ แม่ครูพลอยศรี ได้มาร่ำเรียนแลกเปลี่ยนวิชาด้านนาฎศิลป์ กับแม่ครูบัวเรียว แล้วนำสาวไหม ไปปรับเปลี่ยนท่า ในแบบของท่านแต่ไม่ได้ปรับเปลี่ยนทั้งหมด ซึ่งจะถือเป็นการประดิษฐ์ท่าโดยแม่ครูพลอยศรีนั้นก็ไม่ถูกต้อง กรุณาไปศึกษาประวัติมาให้ดีๆ ก่อนแล้วค่อยนำมาเผยแพร่ ลูกศิษย์ลูกหาที่เค้ารู้ประวัติเขาจะตำหนิเอาได้นะครับ และเพลงที่ใช้ ส่วนมากจะมีสาวไหมเชียงราย และ เพลงปั่นฝ้าย ซึ่งทางเชียงรายจะบรรเลงโดยวงปี่พาทย์ เป็นส่วนใหญ่
เราควรพูดจาให้เกียรติแม่ครูท่านด้วย พูดซะอย่างกะว่าแม่ครูพลอยศรีมาร่ำเรียนขอวิชาเพียงอย่างเดียว - -" ท่านเป็นคนผลักดันทำให้สาวไหมใเป็นที่แพร่หลายเป็นที่รู้จักทำให้แม่ครูบัวเรียวมีชื่อเสียงเป็นช่วงรอยต่อของสาวไหมที่มีความสำคัญมาก ก็กรุณาไปศึกษาประวัติมาให้ดีๆเช่นกัน มาว่าแบบนี้จะถูกตำหนิเอาได้ ส่วนคลิปนี้ตรงชื่อวิดิโอ ควรจะเปลี่ยนจากคำว่า"ประดิษฐ์"เป็นสาวไหมฉบับปรับปรุงโดยแม่ครูพลอยศรี จะได้ไม่เกิดการเข้าใจผิด ถ้าพูดอะไรมึนๆไปก็ขออภัยด้วยน๊าา ฝีนดีราตรีสวัสดิ์จ้าา ^^
เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ คุณอารักษ์ แสงอินทร์ คุณพูดด้วยข้อมูลที่เป็นจริง และเป็นกลาง
ต่อมาแม่ครูพลอยศรีได้ขออนุญาตทำการปรับปรุงท่าฟ้อนโดยได้นำหลักนาฏศิลป์เข้ามาร่วม ทั้งนี้มีเหตุผลหลายประการ คือ เพื่อให้เหมาะกับการฟ้อนหลายคน(ของครูบัวเรียวเหมาะที่จะฟ้อนคนเดียว)โดยที่จะเห็นเด่นชัดคือ มีการเพิ่มการกระทบตัว สะดุ้งตัว การเอียงศีรษะ การลักคอ มีจังหวะจะโคนยิ่งขึ้นมีแบบแผนยิ่งขึ้น และง่ายขึ้นแก่การถ่ายทอด ต่อมาวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ได้ทำการรื้อฟื้นปรับปรุงหลักสูตรพื้นเมือง วิทยาลัยได้เชิญแม่ครูพลอยศรีมาถ่ายทอดท่าสาวไหมให้ครูฝ่ายละคร
ท่าฟ้อนคล้ายกับของแม่ครูบัวเรียว รัตนมณีภรเลยครับแต่ของแม่ครูพลอยศรีที่ปรับเปลี่ยนไปนิดนึง
อยากให้มองการเปลี่ยนแปลงไปด้วยเหตุและผล เราก็คนไทยเหมือนๆกัน ไม่มีใครอยากทำลายตัวเองหรอก ควรจะเปิดใจมองศิลปะให้หลายมุมมอง ศิลปะดนตรี นาฏศิลป์ ที่เรามาจนถึงทุกวันนี้เองก็พัฒนามาโดยตลอด จะมาบอกไม่ได้หรอกอันไหนผิดอันไหนถูก ละครในเองก็ปรับปรุงมาจากละครนอกของชาวบ้าน นำมาขัดเกลาให้ประณีตอยู่ในราชสำนัก สาวไหมเองก็มีแบบฉบับพื้นเมืองที่งดงามยิ่ง แสดงถึงเอกลักษณ์ตัวตนความเป็นคนเมือง แต่ด้วยปัจจัยหลายอย่างจึงต้องมีการปรับปรุง มีลีลาของนาฏศิลป์ราชสำนักเข้ามาผสมบ้าง ก็เป็นอีกแบบฉบับที่งดงามเป็นที่นิยมเช่นกัน
ในคลิปนี้ท่ารำยังไม่ถูกต้องทั้งหมดนัก แต่ก็ถือว่าดี ^^ สาวไหมนี้แต่เริ่มจริงมาจากครูกุยพ่อของครูบัวเรียวต่อมาได้ถ่ายทอดท่าและปรับท่าทางเพื่อถ่ายทอดให้บุตรสาวคือแม่ครูบัวเรียว ในเวลาต่อมาครูพลอยศรีซึ่งเป็นอดีตช่างฟ้อนในคุ้มเจ้าแก้วนวรัฐได้มาพบการฟ้อนของครูบัวเรียวและได้ยกย่องว่าเป็นการฟ้อนสาวไหมฉบับที่งดงามยิ่งนักจึงได้มุ่งมั่นที่จะผลักดันให้ฟ้อนสาวไหมเป็นที่แพร่หลาย ได้นำแม่ครูบัวเรียวออกแสดงตามที่ต่างๆ โทรทัศน์ช่องต่างๆจนสาวไหมเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย
ฟ้อนงามแต้ๆๆ
ฟ้อนสวยงามมาก
สวยอ่อนหวานหยดย้อยชอบมากเจ้า
😍😍😍
อะครับพี่น้องใจเย็นๆๆครับศิลป์ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงได้ครับจึ้นอยู่ตากการถ่ายทอดแต่บังเอิญนกชื่
ใช้เพลงปราสาทไหว หรือเพลงลาวสมเด็จ 2 ชั้นก็ได้ครับ
เพลงซอปั่นฝ้ายป่าว
ทำไมถึงโหลดไม่ได้
เพิ่งมีโอกาสเข้ามาเห็นฟ้อนสาวไหม เวอร์ชั่นครูแม่พลอยสี สรรพศรี ที่ถูกปรับท่าฟ้อนไปหลายท่าพอสมควร ไม่แน่ใจว่าครูที่นำมาถ่ายทอดให้น้องที่แสดงในคลิปนี้จบจากนาฏศิลป์เชียงใหม่หรือไม่ แต่ต้องบอกว่า บางท่าทางวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่คงปรับประดิษฐ์ไปตามที่ครูแม่พลอยสี ท่านได้ขออนุญาตจากคุณบัวเรียว รัตนมณีภรณ์ (สุภาวสิทธิ์) ไว้แล้ว ซึ่งทางคุณบัวเรียวก็ไม่ได้ขัดข้องแต่ประการใด โดยครูแม่พลอยสีเอง ก็ได้มีการขึ้นครูกับคุณบัวเรียว และแลกเปลี่ยนถ่ายทอดสอนฟ้อนลาวแพนและฟ้อนอื่นๆให้กับทางคุณบัวเรียวอีกด้วย....เราก็ลืมๆไปแล้วว่าสอนฟ้อนอะไรบ้าง เพราะสมัยนั้นยังเด็กอยู่มาก ลองอ่านประวัติฟ้อนสาวไหมประกอบจากวิกิพีเดียนี้นะคะ th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1 ขอบคุณคุณอารักษ์ แสงอินทร์ ที่กรุณาเข้ามาช่วยตอบ ซึ่งขอยืนยันค่ะว่า ครูแม่พลอยสีได้ขออนุญาตทายาทของพ่อครูกุย สุภาวสิทธิ์ แน่นอนแล้ว จะให้เปลี่ยนชื่อฟ้อนเป็นอื่นก็คงไม่ใช่ เพราะทั้งสองแบบ มันก็คือการ "สาวไหม" แต่ทุกวันนี้ ฟ้อนในแบบของคุณบัวเรียว ซึ่งเป็นทายาทโดยตรง จะได้รับการสืบทอดมากกว่านะคะ ส่วนฟ้อนลักษณะใดจะสวยงาม ขึ้นอยู่กับผู้ฟ้อนจริงๆค่ะ เพราะเคยดูฟ้อนสาวไหมของ kruwaw (ลองเข้าไปดูในยูทูปนะคะ) หวานอ่อนช้อยมากจริงๆ และทุกท่าถอดมาจากครูแม่พลอยสี สรรพศรี ต้นฉบับดั้งเดิม (หลังจากที่ขออนุญาตคุณบัวเรียวเรียบร้อยแล้ว)......จากลูกสาวของครูแม่พลอยสี สรรพศรี
งง
งงอะไรเหลือค่ะ
ฟ้อนไม่ค่อยสวยนะ แต่ก้ok
น้องรำสวยมากอ่อนช้อยดีใจ๋ตี่ได้เห็นวัฒนธรรมตังเหนือบ้านเฮาขอบคุณสำหรับคริปนี้เจ้าว😗😗😗
ฟ้อนเก่งมากเลยค่ะ
อาคมรับชม
😊
และจนมาถึงแม่ครูพลอยศรีก็ปรับปรุงเพื่อให้เหมาะสมแก่เหตุผลดังที่กล่าวมา เราควรมองคุณค่าความงามทั้งสองฉบับนี้ ไม่มีของเก่า ของใหม่ก็ไม่เกิด แต่ถ้ายังคงของเดิมไว้อย่างนั้นโดยไม่ปรับเปลี่ยนตามสภาพสังคม ของดีมีค่าก็อาจสูญหายไป เจตนาของแม่ครูพลอยศรีไม่ได้มีเจตนาเพื่อตัวเอง ท่านเป็นคนพาแม่ครูบัวเรียวออกแสดงจนมีชื่อเสียง ท่านขอต่อท่าฟ้อนอย่างถูกจารีตประเพณีทั้งที่ท่านอายุมากกว่ามากโดยที่ท่านไม่ได้หยิ่งในศักดิ์ศรี ท่านอนุญาตให้วิทยาลัยทำการปรับปรุงได้ตามความเหมาะสม
ผึกฟ้องตามอยู่ค่ะ
ไม่ว่าใครจะเอาไปปรับเปลี่ยนอะไรอย่าไงรก็ตามผมว่าน่าจะให้เครดิตกับของเดิมด้วย แม่ครูพลอยศรีนำไปปรับปรุงก็ไม่ผิดแต่ควรเปลี่ยนแปลงในเรื่องของชื่อชุดการแสดงด้วย เพื่อที่จะไม่ให้มีการสับสนเกิดขึ้นภายหลัง เพราะคนรุ่นหลังที่ไม่รู้ก็จะมาถกเถียงกันว่าฟ้อนสาวไหมเป็นของที่ไหนกันแน่ระหว่าง เชียงรายกับเชียงใหม่
ฟ้อนสาวไหม นั้นเริ่มต้นจริง มาจากแม่ครูบัวเรียว รัตนมณีภรณ์นะครับ ขอบอกไว้ ณ ที่นี้ แม่ครูพลอยศรี ได้มาร่ำเรียนแลกเปลี่ยนวิชาด้านนาฎศิลป์ กับแม่ครูบัวเรียว แล้วนำสาวไหม ไปปรับเปลี่ยนท่า ในแบบของท่านแต่ไม่ได้ปรับเปลี่ยนทั้งหมด ซึ่งจะถือเป็นการประดิษฐ์ท่าโดยแม่ครูพลอยศรีนั้นก็ไม่ถูกต้อง กรุณาไปศึกษาประวัติมาให้ดีๆ ก่อนแล้วค่อยนำมาเผยแพร่ ลูกศิษย์ลูกหาที่เค้ารู้ประวัติเขาจะตำหนิเอาได้นะครับ และเพลงที่ใช้ ส่วนมากจะมีสาวไหมเชียงราย และ เพลงปั่นฝ้าย ซึ่งทางเชียงรายจะบรรเลงโดยวงปี่พาทย์ เป็นส่วนใหญ่
เราควรพูดจาให้เกียรติแม่ครูท่านด้วย พูดซะอย่างกะว่าแม่ครูพลอยศรีมาร่ำเรียนขอวิชาเพียงอย่างเดียว - -" ท่านเป็นคนผลักดันทำให้สาวไหมใเป็นที่แพร่หลายเป็นที่รู้จักทำให้แม่ครูบัวเรียวมีชื่อเสียงเป็นช่วงรอยต่อของสาวไหมที่มีความสำคัญมาก ก็กรุณาไปศึกษาประวัติมาให้ดีๆเช่นกัน มาว่าแบบนี้จะถูกตำหนิเอาได้ ส่วนคลิปนี้ตรงชื่อวิดิโอ ควรจะเปลี่ยนจากคำว่า"ประดิษฐ์"เป็นสาวไหมฉบับปรับปรุงโดยแม่ครูพลอยศรี จะได้ไม่เกิดการเข้าใจผิด ถ้าพูดอะไรมึนๆไปก็ขออภัยด้วยน๊าา ฝีนดีราตรีสวัสดิ์จ้าา ^^
เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ คุณอารักษ์ แสงอินทร์ คุณพูดด้วยข้อมูลที่เป็นจริง และเป็นกลาง
ต่อมาแม่ครูพลอยศรีได้ขออนุญาตทำการปรับปรุงท่าฟ้อนโดยได้นำหลักนาฏศิลป์เข้ามาร่วม ทั้งนี้มีเหตุผลหลายประการ คือ เพื่อให้เหมาะกับการฟ้อนหลายคน(ของครูบัวเรียวเหมาะที่จะฟ้อนคนเดียว)โดยที่จะเห็นเด่นชัดคือ มีการเพิ่มการกระทบตัว สะดุ้งตัว การเอียงศีรษะ การลักคอ มีจังหวะจะโคนยิ่งขึ้นมีแบบแผนยิ่งขึ้น และง่ายขึ้นแก่การถ่ายทอด ต่อมาวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ได้ทำการรื้อฟื้นปรับปรุงหลักสูตรพื้นเมือง วิทยาลัยได้เชิญแม่ครูพลอยศรีมาถ่ายทอดท่าสาวไหมให้ครูฝ่ายละคร
ท่าฟ้อนคล้ายกับของแม่ครูบัวเรียว รัตนมณีภรเลยครับแต่ของแม่ครูพลอยศรีที่ปรับเปลี่ยนไปนิดนึง
อยากให้มองการเปลี่ยนแปลงไปด้วยเหตุและผล เราก็คนไทยเหมือนๆกัน ไม่มีใครอยากทำลายตัวเองหรอก ควรจะเปิดใจมองศิลปะให้หลายมุมมอง ศิลปะดนตรี นาฏศิลป์ ที่เรามาจนถึงทุกวันนี้เองก็พัฒนามาโดยตลอด จะมาบอกไม่ได้หรอกอันไหนผิดอันไหนถูก ละครในเองก็ปรับปรุงมาจากละครนอกของชาวบ้าน นำมาขัดเกลาให้ประณีตอยู่ในราชสำนัก สาวไหมเองก็มีแบบฉบับพื้นเมืองที่งดงามยิ่ง แสดงถึงเอกลักษณ์ตัวตนความเป็นคนเมือง แต่ด้วยปัจจัยหลายอย่างจึงต้องมีการปรับปรุง มีลีลาของนาฏศิลป์ราชสำนักเข้ามาผสมบ้าง ก็เป็นอีกแบบฉบับที่งดงามเป็นที่นิยมเช่นกัน
ในคลิปนี้ท่ารำยังไม่ถูกต้องทั้งหมดนัก แต่ก็ถือว่าดี ^^ สาวไหมนี้แต่เริ่มจริงมาจากครูกุยพ่อของครูบัวเรียวต่อมาได้ถ่ายทอดท่าและปรับท่าทางเพื่อถ่ายทอดให้บุตรสาวคือแม่ครูบัวเรียว ในเวลาต่อมาครูพลอยศรีซึ่งเป็นอดีตช่างฟ้อนในคุ้มเจ้าแก้วนวรัฐได้มาพบการฟ้อนของครูบัวเรียวและได้ยกย่องว่าเป็นการฟ้อนสาวไหมฉบับที่งดงามยิ่งนักจึงได้มุ่งมั่นที่จะผลักดันให้ฟ้อนสาวไหมเป็นที่แพร่หลาย ได้นำแม่ครูบัวเรียวออกแสดงตามที่ต่างๆ โทรทัศน์ช่องต่างๆจนสาวไหมเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย
ฟ้อนงามแต้ๆๆ
ฟ้อนสวยงามมาก
สวยอ่อนหวานหยดย้อยชอบมากเจ้า
😍😍😍
อะครับพี่น้องใจเย็นๆๆครับศิลป์ทุกอย่างเปลี่ยนแปลงได้ครับจึ้นอยู่ตากการถ่ายทอดแต่บังเอิญนกชื่
ใช้เพลงปราสาทไหว หรือเพลงลาวสมเด็จ 2 ชั้นก็ได้ครับ
เพลงซอปั่นฝ้ายป่าว
ทำไมถึงโหลดไม่ได้
เพิ่งมีโอกาสเข้ามาเห็นฟ้อนสาวไหม เวอร์ชั่นครูแม่พลอยสี สรรพศรี ที่ถูกปรับท่าฟ้อนไปหลายท่าพอสมควร ไม่แน่ใจว่าครูที่นำมาถ่ายทอดให้น้องที่แสดงในคลิปนี้จบจากนาฏศิลป์เชียงใหม่หรือไม่ แต่ต้องบอกว่า บางท่าทางวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่คงปรับประดิษฐ์ไปตามที่ครูแม่พลอยสี ท่านได้ขออนุญาตจากคุณบัวเรียว รัตนมณีภรณ์ (สุภาวสิทธิ์) ไว้แล้ว ซึ่งทางคุณบัวเรียวก็ไม่ได้ขัดข้องแต่ประการใด โดยครูแม่พลอยสีเอง ก็ได้มีการขึ้นครูกับคุณบัวเรียว และแลกเปลี่ยนถ่ายทอดสอนฟ้อนลาวแพนและฟ้อนอื่นๆให้กับทางคุณบัวเรียวอีกด้วย....เราก็ลืมๆไปแล้วว่าสอนฟ้อนอะไรบ้าง เพราะสมัยนั้นยังเด็กอยู่มาก ลองอ่านประวัติฟ้อนสาวไหมประกอบจากวิกิพีเดียนี้นะคะ th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1
ขอบคุณคุณอารักษ์ แสงอินทร์ ที่กรุณาเข้ามาช่วยตอบ ซึ่งขอยืนยันค่ะว่า ครูแม่พลอยสีได้ขออนุญาตทายาทของพ่อครูกุย สุภาวสิทธิ์ แน่นอนแล้ว จะให้เปลี่ยนชื่อฟ้อนเป็นอื่นก็คงไม่ใช่ เพราะทั้งสองแบบ มันก็คือการ "สาวไหม" แต่ทุกวันนี้ ฟ้อนในแบบของคุณบัวเรียว ซึ่งเป็นทายาทโดยตรง จะได้รับการสืบทอดมากกว่านะคะ ส่วนฟ้อนลักษณะใดจะสวยงาม ขึ้นอยู่กับผู้ฟ้อนจริงๆค่ะ เพราะเคยดูฟ้อนสาวไหมของ kruwaw (ลองเข้าไปดูในยูทูปนะคะ) หวานอ่อนช้อยมากจริงๆ และทุกท่าถอดมาจากครูแม่พลอยสี สรรพศรี ต้นฉบับดั้งเดิม (หลังจากที่ขออนุญาตคุณบัวเรียวเรียบร้อยแล้ว)......จากลูกสาวของครูแม่พลอยสี สรรพศรี
งง
งงอะไรเหลือค่ะ
ฟ้อนไม่ค่อยสวยนะ แต่ก้ok
น้องรำสวยมากอ่อนช้อยดีใจ๋ตี่ได้เห็นวัฒนธรรมตังเหนือบ้านเฮาขอบคุณสำหรับคริปนี้เจ้าว😗😗😗