ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
การให้คำปรึกษาเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนๆหนึ่งได้มีกำลังใจในการใช้ชีวิต เพราะการปรึกษามีความสำคัญอย่างมาก เป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ซึ่งผู้ที่ให้คำปรึกษาจะถูกเป็นคนที่ไว้ใจมาก และสามารถให้คำปรึกษาได้ดี เพื่อให้ผู้รับการปรึกษานั้นเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมที่จะตัดสินใจและพร้อมรับมือแก้ปัญหาด้วยตัวเอง.
การให้คำปรึกษาถือเป็นสิ่งสำคัญเพราะถือว่าเป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ผู้ให้คำปรึกษาถือว่าเป็นคนที่ถูกไว้ใจที่จะได้รับหน้าที่นี้ ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีความใส่ใจ ต้องมีความเข้าใจและสังเกตความต้องการของผู้ที่ปรึกษา ต้องรู้จักฟังไม่ไปมีอารมณ์ร่วม ต้องรู้จักตีความไม่อคติ ต้องสร้างความไว้วางใจให้เข้าถึงง่าย มีความจริงใจ มีความยืดหยุ่น เข้าใจความหลากหลายต้องคุมสถานการณ์ได้ มีกระบวนการเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาและสุดท้ายที่ขาดไม่ได้คือการไม่เปิดเผยเรื่องราวของผู้รับคำปรึกษาซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญของผู้ให้คำปรึกษา
การให้คำปรึกษามีความสำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ในยุคที่มนุษย์มีความเครียดง่าย และการให้คำปรึกษาก็จะเป็นการช่วยเหลืออีกรูปแบบหนึ่ง จะใช้การสื่อสาร ความรู้ และเน้นความเข้าใจในบุคคลที่เรากำลังให้คำปรึกษา เพราะคนที่มาขอคำปรึกษาส่วนใหญ่ จะมีปัญหาเป็นของตัวเองที่จัดการไม่ได้ เราจึงไม่ควรใช้ถ้อยคำวาจา ในเชิงซ้ำเติม เพราะจะทำให้เขายิ่งเครียดเพิ่มมากขึ้น และการให้คำปรึกษาดีๆ ก็สามารถช่วยให้คนๆ นึง มีชีวิตที่ดีขึ้นได้อีกด้วย
การให้คำปรึกษาเป็นส่วนที่ทำให้คนๆนึงได้มีกำลังใจในการใช้ชีวิต การให้คำปรึกษามีทั้งทางการและไม่ทางการ ผู้ให้คำปรึกษาควรมีความใส่ใจ ต้องรู้จักตีความไม่อคติ มีความจริงใจ ยืดหยุ่นและสามารถให้ทางเลือกแก้ไขแก่ผู้ขอรับคำปรึกษาให้เขาได้ตัดสินใจด้วยตนเอง
การให้คำปรึกษาจำเป็น เพราะบางอย่างเราเก็บเอาไว้ หลอกตัวเองว่าไม่เป็นไร สิ่งนี้จะมาช่วยระบายออกไปการให้คำปรึกษา-แบบทางการ เช่น ปรึกษาเพื่อนที่เคยผ่านมาก่อน (เพื่อนเป็นผู้เชียวชาญ)-แบบไม่เป็นทางการ ขั้นตอนการให้คำปรึกษา1.สร้างสัมพันธ์ภาพ -ประตูแห่งการให้คำปรึกษา -ทำความรู้จักกัน สร้างสัมพันธ์กันก่อน2.พูดคุยล้วงลึก -หาสาเหตุว่าเครียดเรื่องอะไร บางทีไม่ใช่เรื่องที่คนมาปรึกษาคิด -ถ้าล้วงลึกไม่ได้ จะหาปมจริงๆไม่ได้ (ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีประสบการณ์)3.ไม่ตัดสินเอง -เสนอให้เห็น ว่าเลือกอันไหนผลเป็นยัฃไง แล้วให้ไปเลือกเองหลักการ จรรยาบรรณในการให้คำปรึกษา1.ถ้าผู้ขอรับปรึกษาเริ่มร้องไห้ แปลว่าเป็นผม ต้องค่อยๆพูด ซอฟๆ ไม่ซ้ำเติม -ถ้าไหวให้ไปต่อ ไม่ไหวให้หยุด2.ไม่ควรมีอารมณ์ร่วมกับผู้มาขอคำปรึกษา นิ่งๆ คุมให้ได้รูปแบบคำถาม1.ปลายเปิด มีคำตอบหลากหลาย เช่น เครียดแล้วนึกถึงใคร2.ปลายปิด มีคำตอบตายตัว เช่น เครียดใช่ไหมคะ3.คำถามชี้นำ จะชี้นำให้ตอบในกรอบ เช่น เครียดหนักๆต้องทานยาช่วยใช่ไหมคะ***จรรยาบรรณที่สำคัญ ต้องเก็บรักษาความลับให้ได้
การให้คำปรักษาทางจิตวิทยา มีทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การให้คำปรึกษา1.การสร้างสัมพันธ์ภาพ ถ้าความสัมพันธ์ดีก็จำทำให้เราไว้ใจได้2.การคุยลึกลงไปเพื่อให้ว่าแท้จริงแล้ว มีปัญหาอะไร ผู้ให้คำปรึกษาต้องไปตัดสินใจเอง ควรเสนอให้เห็นและเสนอทางเลือก แล้วให้ผู้ปรึกษาตัดสินใจเองผู้ให้ความปรึกษาไม่ควรมีอารมณ์ร่วม
การให้คำปรึกษา เป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ที่อาศัยความสัมพันธ์และการสื่อสารระหว่างผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับการ ปรึกษา เพื่อให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความเข้าใจตนเอง เข้าใจปัญหา ได้ความรู้และทางเลือกในการแก้ปัญหานั้นอย่างเพียงพอมีสภาพอารมณ์และจิตใจ ที่พร้อมจะคิดและตัดสินใจด้วยตัวเอง
การให้การปรึกษาเป้นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนได้มีกำลังใจขึ้นมาในชีวิตเพราะได้รับการปรึกษากับสิ่งที่ไม่สบายใจ การให้คำปรึกษาสามารถแบ่งออกได้เป็น -แบบทางการ เช่น การปรึกษาเพื่อน-แบบไม่เป็นทางการ เช่น การพูดคุยแบบลึกซึ้งว่าปัญหาที่แท้จริงคืออะไร เสนอทางเลือกให้ผู้ขอรับคำปรึกษา ไม่ตัดสินใจปัญหานั้นเอง การสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีเพื่อผู้ขอรับคำปรึกษาให้ไว้ใจเรา
การให้คำปรึกษา มีลักษณะที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ เช่นปรึกษาเพื่อน โดยกระบวนการให้คำปรึกษา ขั้นตอนที่ 1.การสร้างสัมพันธภาพ เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาไว้เน้ือเชื่อใจ เกิดความไว้วางใจ และสามารถบอกเล่าปัญหาที่แท้จริงได้ ขั้นตอนที่ 2.การคุยลึกลงไป เพื่อรับรู้ถึงรายละเอียดข้อมูลที่เป็นปัญหา สาเหตุ โดยผู้ให้คำปรึกษาไม่ควรใช้ความเห็นส่วนตัวในการตัดสิน แต่ควรชี้ให้เห็น เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาตัดสินใจเอง และในการพูดคุย ผู้ให้คำปรึกษาควรดูปฏิกิริยาตอบสนองของผู้รับคำปรึกษาว่ามีท่าทีอย่างไร และจะต้องไม่เอาอารมณ์ร่วมลงไปกับเหตุการณ์นั้น สำหรับประเภทของการสร้างคำถาม 1.คำถามปลายปิด ที่มีคำตอบตายตัว 2.คำถามปลายเปิด ที่มีคำตอบหลากหลายรูปแบบ และ3.คำถามชี้นำเพื่อให้ได้คำตอบที่อยู่ในกรอบของคำถาม และสิ่งสำคัญของการให้คำปรึกษา คือ การเก็บรักษาความลับของผู้มารับคำปรึกษา 65191002 ครับ
การให้คำปรึกษาการบวนการให้คำปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ1.สร้างสัมพันธ์ภาพเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ2.การคุยลึกเพื่อให้รู้ถึงปัญหาที่แท้จริงผู้ให้คำปรึกษาที่ดี1.ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องเก็บความลับของผู้มารับคำปรึกษา2.เมื่อผู้ให้คำปรึกษาเริ่มเก็นว่าผู้รับคำปรึกษาร้องไห้อย่างหนักควรหยุดแล้วค่อยกลับมาเริ่มใหม่3.ผู้ให้คำปรึกษาจะไม่เป็นผู้ตัดสินใจแต่จะคอยชี้แนวทางและเสนอทางเลือกสำหรับการสร้างคำถาม1.คำถามปลายปิดคือมีคำตอบอยู่แล้ว2.คำถามปลายเปิดคือมีคำตอบหลากหลาย3.คำถามชี้นำคือชี้นำคำตอบ
การให้คำปรึกษาเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนๆหนึ่งได้มีกำลังใจในการใช้ชีวิต เพราะการปรึกษามีความสำคัญอย่างมาก เป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ซึ่งผู้ที่ให้คำปรึกษาจะถูกเป็นคนที่ไว้ใจมาก และสามารถให้คำปรึกษาได้ดี เพื่อให้ผู้รับการปรึกษานั้นเข้าใจในปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมที่จะตัดสินใจและพร้อมรับมือแก้ปัญหาด้วยตัวเอง.
การให้คำปรึกษาถือเป็นสิ่งสำคัญเพราะถือว่าเป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ผู้ให้คำปรึกษาถือว่าเป็นคนที่ถูกไว้ใจที่จะได้รับหน้าที่นี้ ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีความใส่ใจ ต้องมีความเข้าใจและสังเกตความต้องการของผู้ที่ปรึกษา ต้องรู้จักฟังไม่ไปมีอารมณ์ร่วม ต้องรู้จักตีความไม่อคติ ต้องสร้างความไว้วางใจให้เข้าถึงง่าย มีความจริงใจ มีความยืดหยุ่น เข้าใจความหลากหลายต้องคุมสถานการณ์ได้ มีกระบวนการเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาและสุดท้ายที่ขาดไม่ได้คือการไม่เปิดเผยเรื่องราวของผู้รับคำปรึกษาซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญของผู้ให้คำปรึกษา
การให้คำปรึกษามีความสำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ในยุคที่มนุษย์มีความเครียดง่าย และการให้คำปรึกษาก็จะเป็นการช่วยเหลืออีกรูปแบบหนึ่ง จะใช้การสื่อสาร ความรู้ และเน้นความเข้าใจในบุคคลที่เรากำลังให้คำปรึกษา เพราะคนที่มาขอคำปรึกษาส่วนใหญ่ จะมีปัญหาเป็นของตัวเองที่จัดการไม่ได้ เราจึงไม่ควรใช้ถ้อยคำวาจา ในเชิงซ้ำเติม เพราะจะทำให้เขายิ่งเครียดเพิ่มมากขึ้น
และการให้คำปรึกษาดีๆ ก็สามารถช่วยให้คนๆ นึง มีชีวิตที่ดีขึ้นได้อีกด้วย
การให้คำปรึกษาเป็นส่วนที่ทำให้คนๆนึงได้มีกำลังใจในการใช้ชีวิต การให้คำปรึกษามีทั้งทางการและไม่ทางการ ผู้ให้คำปรึกษาควรมีความใส่ใจ ต้องรู้จักตีความไม่อคติ มีความจริงใจ ยืดหยุ่นและสามารถให้ทางเลือกแก้ไขแก่ผู้ขอรับคำปรึกษาให้เขาได้ตัดสินใจด้วยตนเอง
การให้คำปรึกษาจำเป็น เพราะบางอย่างเราเก็บเอาไว้ หลอกตัวเองว่าไม่เป็นไร สิ่งนี้จะมาช่วยระบายออกไป
การให้คำปรึกษา
-แบบทางการ เช่น ปรึกษาเพื่อนที่เคยผ่านมาก่อน (เพื่อนเป็นผู้เชียวชาญ)
-แบบไม่เป็นทางการ
ขั้นตอนการให้คำปรึกษา
1.สร้างสัมพันธ์ภาพ
-ประตูแห่งการให้คำปรึกษา
-ทำความรู้จักกัน สร้างสัมพันธ์กันก่อน
2.พูดคุยล้วงลึก
-หาสาเหตุว่าเครียดเรื่องอะไร บางทีไม่ใช่เรื่องที่คนมาปรึกษาคิด
-ถ้าล้วงลึกไม่ได้ จะหาปมจริงๆไม่ได้ (ผู้ให้คำปรึกษาต้องมีประสบการณ์)
3.ไม่ตัดสินเอง
-เสนอให้เห็น ว่าเลือกอันไหนผลเป็นยัฃไง แล้วให้ไปเลือกเอง
หลักการ จรรยาบรรณในการให้คำปรึกษา
1.ถ้าผู้ขอรับปรึกษาเริ่มร้องไห้ แปลว่าเป็นผม ต้องค่อยๆพูด ซอฟๆ ไม่ซ้ำเติม
-ถ้าไหวให้ไปต่อ ไม่ไหวให้หยุด
2.ไม่ควรมีอารมณ์ร่วมกับผู้มาขอคำปรึกษา นิ่งๆ คุมให้ได้
รูปแบบคำถาม
1.ปลายเปิด มีคำตอบหลากหลาย เช่น เครียดแล้วนึกถึงใคร
2.ปลายปิด มีคำตอบตายตัว เช่น เครียดใช่ไหมคะ
3.คำถามชี้นำ จะชี้นำให้ตอบในกรอบ เช่น เครียดหนักๆต้องทานยาช่วยใช่ไหมคะ
***จรรยาบรรณที่สำคัญ ต้องเก็บรักษาความลับให้ได้
การให้คำปรักษาทางจิตวิทยา มีทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
การให้คำปรึกษา
1.การสร้างสัมพันธ์ภาพ ถ้าความสัมพันธ์ดีก็จำทำให้เราไว้ใจได้
2.การคุยลึกลงไปเพื่อให้ว่าแท้จริงแล้ว มีปัญหาอะไร ผู้ให้คำปรึกษาต้องไปตัดสินใจเอง ควรเสนอให้เห็นและเสนอทางเลือก แล้วให้ผู้ปรึกษาตัดสินใจเอง
ผู้ให้ความปรึกษาไม่ควรมีอารมณ์ร่วม
การให้คำปรึกษา เป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ที่อาศัยความสัมพันธ์และการสื่อสารระหว่างผู้ให้คำปรึกษาและผู้รับการ ปรึกษา เพื่อให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความเข้าใจตนเอง เข้าใจปัญหา ได้ความรู้และทางเลือกในการแก้ปัญหานั้นอย่างเพียงพอมีสภาพอารมณ์และจิตใจ ที่พร้อมจะคิดและตัดสินใจด้วยตัวเอง
การให้การปรึกษาเป้นส่วนหนึ่งที่ทำให้คนได้มีกำลังใจขึ้นมาในชีวิตเพราะได้รับการปรึกษากับสิ่งที่ไม่สบายใจ การให้คำปรึกษาสามารถแบ่งออกได้เป็น
-แบบทางการ เช่น การปรึกษาเพื่อน
-แบบไม่เป็นทางการ เช่น การพูดคุยแบบลึกซึ้งว่าปัญหาที่แท้จริงคืออะไร เสนอทางเลือกให้ผู้ขอรับคำปรึกษา ไม่ตัดสินใจปัญหานั้นเอง การสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีเพื่อผู้ขอรับคำปรึกษาให้ไว้ใจเรา
การให้คำปรึกษา มีลักษณะที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ เช่นปรึกษาเพื่อน โดยกระบวนการให้คำปรึกษา ขั้นตอนที่ 1.การสร้างสัมพันธภาพ เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาไว้เน้ือเชื่อใจ เกิดความไว้วางใจ และสามารถบอกเล่าปัญหาที่แท้จริงได้ ขั้นตอนที่ 2.การคุยลึกลงไป เพื่อรับรู้ถึงรายละเอียดข้อมูลที่เป็นปัญหา สาเหตุ โดยผู้ให้คำปรึกษาไม่ควรใช้ความเห็นส่วนตัวในการตัดสิน แต่ควรชี้ให้เห็น เพื่อให้ผู้รับคำปรึกษาตัดสินใจเอง และในการพูดคุย ผู้ให้คำปรึกษาควรดูปฏิกิริยาตอบสนองของผู้รับคำปรึกษาว่ามีท่าทีอย่างไร และจะต้องไม่เอาอารมณ์ร่วมลงไปกับเหตุการณ์นั้น สำหรับประเภทของการสร้างคำถาม 1.คำถามปลายปิด ที่มีคำตอบตายตัว 2.คำถามปลายเปิด ที่มีคำตอบหลากหลายรูปแบบ และ3.คำถามชี้นำเพื่อให้ได้คำตอบที่อยู่ในกรอบของคำถาม และสิ่งสำคัญของการให้คำปรึกษา คือ การเก็บรักษาความลับของผู้มารับคำปรึกษา
65191002 ครับ
การให้คำปรึกษา
การบวนการให้คำปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ
1.สร้างสัมพันธ์ภาพเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
2.การคุยลึกเพื่อให้รู้ถึงปัญหาที่แท้จริง
ผู้ให้คำปรึกษาที่ดี
1.ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องเก็บความลับของผู้มารับคำปรึกษา
2.เมื่อผู้ให้คำปรึกษาเริ่มเก็นว่าผู้รับคำปรึกษาร้องไห้อย่างหนักควรหยุดแล้วค่อยกลับมาเริ่มใหม่
3.ผู้ให้คำปรึกษาจะไม่เป็นผู้ตัดสินใจแต่จะคอยชี้แนวทางและเสนอทางเลือก
สำหรับการสร้างคำถาม
1.คำถามปลายปิดคือมีคำตอบอยู่แล้ว
2.คำถามปลายเปิดคือมีคำตอบหลากหลาย
3.คำถามชี้นำคือชี้นำคำตอบ