680 ผลิตไฟฟ้าด้วยแรงลอยตัว - รู้ค่าพลังงาน

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 6 ก.ย. 2024
  • คนขอนหาด นครศรีธรรมราช กลุ่มชาวบ้านที่อยู่ห่างไกลความเจริญ และความรู้ด้านต่างๆ เพียงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเลี้ยงปากท้อง แต่พวกเขากลับคิดประดิษฐ์นวัตกรรมด้านพลังงานทดแทน โดยใช้แรงลอยตัวผลิตไฟฟ้า
    ติดตามความเคลื่อนไหวของรู้ค่าพลังงานได้ที่
    Facebook I รู้ค่าพลังงาน หรือ / energythailandtv
    ช่อง 3 HD I หลังเที่ยงคืนพฤหัสบดี ก่อนรายการชูรักชูรส
    ออกอากาศ 5 ม.ค.60
    สนับสนุนรายการ
    ติดต่อคุณพิชสุกานต์ โทร.083-619-3085

ความคิดเห็น • 61

  • @user-pf2ew4ok8i
    @user-pf2ew4ok8i 6 ปีที่แล้ว +14

    พลังงานที่ทำให้ขวดลอยขึ้นเท่ากับพลังงานที่ดังขวดลง สรุปคือพลังงานเท่ากับศูนย์ แต่ก็เป็นกำลังใจให้ครับ พลังงานฟรีนั้นมีอยู่จริง แต่เทคโนโลยีปัจจุบันอาจจะยังไปไม่ถึง

  • @peedtech.9115
    @peedtech.9115 2 ปีที่แล้ว +7

    แล้วจะเอาพลังงานที่ไหนไปดึงให้ขวดจม มันจะหมุนต่อเนื่องไได้ไง ใช้ลมหรือแสงแดดมาผลิตไฟฟ้าดีกว่าครับ

    • @Panna-420
      @Panna-420 5 หลายเดือนก่อน

      หาวิธีเอาขวดเข้าข้างล่างแทน

    • @user-li8et4nj4y
      @user-li8et4nj4y 3 หลายเดือนก่อน

      @@Panna-420น้ำก็จะกดไม่ยอมให้มันเข้า

  • @user-yt3vx1cm2c
    @user-yt3vx1cm2c 2 ปีที่แล้ว +1

    ลูกหมุนระบายอากาศ ที่ติดตั้งอยู่บนหลังคาบ้านทั่วไป หมุนกันเป็นปีปีแล้ว ก็ยังหมุนอย่างนั้นแหละ น่าจะเอาพลังงานหมุน จากลูกหมุน นำมาพัฒนาผลิตพลังงานไฟฟ้าได้เหมือนกันนะครับ.น่าจะลองแล.ครับ.

  • @user-yt3vx1cm2c
    @user-yt3vx1cm2c ปีที่แล้ว +1

    So good,Thanks.

  • @user-mm5xk8st6o
    @user-mm5xk8st6o 3 ปีที่แล้ว +3

    คิดได้แค่นี้ออกทีวีได้ด้วยจิงอะ

  • @Energywd
    @Energywd  7 ปีที่แล้ว

    มีปัญหาข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้ในรายการ สามารถส่งข้อความมาได้ที่ Facebook รู้ค่าพลังงานนะคะ
    facebook.com/EnergyThailandTV/

  • @udomsakmeesawat7257
    @udomsakmeesawat7257 7 ปีที่แล้ว +5

    ผมลองทำมาหลายปีแล้วครับ อัดลมเข้าไป ยิ่งมีความลึก ก็ต้องใช้กำลังส่งลมมากเพราน้ำจะมีแรงดันเพิ่มขึ้น ถึงจะต่อถังสูงเข้าไปเท่าไร คิดว่าจะผลิตไฟฟ้าได้มากขึ้นตามระยะทางแต่ในทางกลับกันก็ต้องใช้พลังงานปั้มลมเพิ่มขึ้นอีก

    • @user-kn9xm6vi7j
      @user-kn9xm6vi7j 7 ปีที่แล้ว

      Udomsak Meesawat การใช้พลังงานผลักดันให้เกิดการเคลื่อนที่ของอากาศ ให้เกิดการเคลื่อนที่ตามความยาวของท่อส่งอากาศ เมื่อเปรียบเทียบกับ การผลักดันน้ำ พลังงานที่ใช้เท่ากัน แต่ได้ปริมาณหรือปริมาตรที่ต่างกัน อาจทำให้เกิดการได้เปรียบในเชิงปริมาณ และปริมาตร ซึ่งจะนำไปสู่การได้เปรียบพลังงาน แต่ก็ไม่ได้เปรียบในส่วนของมวลและความหนาแน่น ถ้าหากจะคิดค้นวิธีการทำงานให้เกิดระบบต่อเนื่อง ในช่วงเริ่มต้นของการสตาร์ทระบบการทำงาน จะใช้พลังงานที่ปั๊มลมค่อนข้างมาก..เมื่อปั้มลมสามารถที่จะดันอากาศทะลุเข้าสู่พื้นที่ภายในของน้ำที่ระดับความลึกของน้ำได้..อัตราการไหล ที่ปลายท่อมีความเร่งคงที่ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันพลังงานที่ใช้ที่ปั๊มลมเริ่มใช้พลังงานลดน้อยลง ความเร็วรอบเพิ่มขึ้นอากาศไหลเคลื่อนที่ได้รวดเร็วถ้าจะเปรียบเทียบกับการไหลระหว่าง น้ำ และ อากาศ ความสามารถที่จะไหลผ่านได้รวดเร็วกว่าก็คือ อากาศ และจะได้ปริมาตรที่เกิดการแทนที่ในของเหลวปริมาตรที่แทนที่ของเหลวนั้นหมายถึงพลังงานที่ได้..ควรทำการทดลอง หาความเหมาะสมที่ลงตัว จากอุปกรณ์ที่ทำงานร่วมกัน เช่นปั๊มลมขนาดความเร็วรอบของปั๊ม.. แรงที่ใช้กระทำ..ขนาดท่อส่ง ลงไปที่..ระดับความลึกของน้ำ.. ขนาดของปลายท่อ..ที่ปล่อยอากาศเข้าสู่ของเหลว ที่ระดับความลึกของน้ำ ค่าความดันภายในท่อส่งอากาศ ปริมาตร และความเร็ว ที่ได้ของอากาศที่ดันเข้าสู่ระดับความลึกของน้ำ ครับ อุปมาเช่นเดียวกับการสร้างเครื่องยนต์ในครั้งแรก อุปกรณ์สำคัญของเครื่องยนต์ทั้งหมด ทำงานสอดคล้องกันและลงตัว เครื่องยนต์จึงสามารถ ทำงานได้อย่างต่อเนื่อง โดยที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างลูกสูบหัวฉีดปริมาณของน้ำมันที่ฉีดหัวเทียนที่จ่ายไฟ จังหวะรอบ แรงอัดแรงดัน มู่เล่ย์ถ่วง ทุกอย่างถูกปรับเปลี่ยนจนลงตัวเกิดความเหมาะสมของระบบในเวลาต่อมาครับ ปัจจุบันในต่างประเทศได้ทำการคิดค้นระบบให้เกิดความต่อเนื่อง ได้ในระดับหนึ่งแต่ดูเหมือนทุกที่ทุกแห่งที่ทำการคิดค้นในเรื่องนี้ ต่างก็มาหยุดอยู่ตรงที่ ยังไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ให้ได้พลังงาน สวนต่าง ที่มีค่าสูงขึ้นกว่าเดิม วิธีการที่ทำให้เกิดการเพิ่มค่าของความดันและส่งผลต่อค่าของแรงลอยตัว ดูเหมือนว่ายังไม่ถูกค้นพบ มาตรฐานที่ออกมาในแต่ละที่จึงมีความใกล้เคียงกันในระบบที่ได้ทำกันอยู่แล้วนั้น.. เพียงแต่สร้างสภาวะใหม่เพิ่มเติมเข้าไป ให้กับระบบที่ได้สร้างอยู่แล้วก็จะเพิ่มประสิทธิภาพให้สูงขึ้นมากกว่าเดิมครับ

    • @justinhm7633
      @justinhm7633 7 ปีที่แล้ว +1

      Udomsak Meesawat ทำมาหลายปีเหรอ5555 ขี้โม้ชิบหาย

    • @Mazakthai
      @Mazakthai ปีที่แล้ว

      ต้องใช้คุณสมบัติการสลับที่.

  • @suksuk9543
    @suksuk9543 5 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมยอดคคับ

  • @manachaitantan5658
    @manachaitantan5658 7 ปีที่แล้ว +1

    ผมขอนอกเรื่องนิดครับ
    น้องเจอผู้หลักผู้ใหญผู้ที่อวุโสกว่า ควรให้ความเคารพ ยกมือใหว้แสดงความเคารพสักนิด บางคนอาจมองข้าวจุดนี้ไป
    ผมไม่ว่าครับ แค่หวังว่าเด็กๆเปิดมาดู จะได้จดจำ มันเป็นสิ่งดีงามระหว่างผู้ใหญกับผู้น้อยครับ เห็นต่างเชิญผ่านครับ

  • @npoontuj
    @npoontuj 7 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้เจาะลึกถึงข้อมูลด้วยครับ ข้อมูลเพียงผิวเผินทำให้เกิดเป็นคำถามตามมา

  • @user-dm1ou6lt5t
    @user-dm1ou6lt5t 5 ปีที่แล้ว

    เคยคิดแต่ใช้ทั้งแรงลอยตัวดันน้ำขึ้นและแรงดันน้ำลงเพราะแรงดึงดูดของโลก รวมกัน

  • @user-cg5fb2vx7f
    @user-cg5fb2vx7f 7 ปีที่แล้ว +1

    ทำให้มากให้ใหญ่คงช่วยได้มาก

  • @freemy3301
    @freemy3301 7 ปีที่แล้ว

    ขอชื่นชมครับท่าน

    • @user-kn9xm6vi7j
      @user-kn9xm6vi7j 7 ปีที่แล้ว

      Free My ขอบคุณที่ให้กำลังใจครับ

  • @user-wt7pq2jd1j
    @user-wt7pq2jd1j หลายเดือนก่อน

    นึกว่าคิดใหม่ได้😅😅แนวคิดแรงลอยตัวเขาทำนานแล้วโดยอาศัยคลื่นของน้ำทะเล

  • @user-cx1mh2gl7o
    @user-cx1mh2gl7o 21 วันที่ผ่านมา

    จะนำมาโชว์ ในงานภูม่าน ฟ้าๆๆ

  • @user-gl7is3uv7y
    @user-gl7is3uv7y 7 หลายเดือนก่อน

    ขอดูวิทีการทำครับ

  • @suchadamonthatong2295
    @suchadamonthatong2295 7 ปีที่แล้ว

    ""......ขอบคุณผู้ดำเนินรายการ และ Y มากค่ะ.."” (..

  • @pornaja7065
    @pornaja7065 6 ปีที่แล้ว

    กฏการอนุรักษ์พลังงาน เข้า = ออก

  • @Mazakthai
    @Mazakthai ปีที่แล้ว

    มันเป็นส่วนหนึ่งของการผลิตไฟฟ้าฟรีได้
    แต่ที่ทำในนี้คือพลังงานจลพลังงานศักย์
    ถ้าเข้าใจเวคเตอ. ดูดีๆครับ. มันได้

  • @user-ji8mx5jd4q
    @user-ji8mx5jd4q ปีที่แล้ว

    รับสอนใหมครับสนใจ

  • @TV-lm3pv
    @TV-lm3pv 6 ปีที่แล้ว +2

    ทำแล้วได้อะไรช่วยบอกฉันที

  • @varuneethapmanee8734
    @varuneethapmanee8734 ปีที่แล้ว

    ทำแบบไหน

  • @mirotvor-eo6sp
    @mirotvor-eo6sp 5 ปีที่แล้ว +1

    Доброго дня хто может перевести в двух словах спасибо.

  • @user-li8et4nj4y
    @user-li8et4nj4y 3 หลายเดือนก่อน

    แรงกดให้จม= แรงลอยตัว

  • @intimate1312
    @intimate1312 6 ปีที่แล้ว

    เอาไปประยุกต์ใช้กับกังหันน้ำได้

  • @chidjaiman8553
    @chidjaiman8553 7 ปีที่แล้ว +5

    จะทำอย่างไรให้มันหมุนต่อเนื่องไม่หยุด ดูตัวอย่างครับ
    th-cam.com/video/287OTl7cKXM/w-d-xo.html
    th-cam.com/video/SQgUaaDs6x8/w-d-xo.html
    th-cam.com/video/8Zenn0VD2Bo/w-d-xo.html
    th-cam.com/video/A4dbkeYnpCI/w-d-xo.html
    th-cam.com/video/JHDZYjr_-a0/w-d-xo.html
    th-cam.com/video/jvYyQ_LluiA/w-d-xo.html
    และอันนี้ ไม่แน่ใจว่าของไทยรึเปล่า
    th-cam.com/video/_2kCBGlrbUM/w-d-xo.html

  • @Gang5555full
    @Gang5555full 7 ปีที่แล้ว +6

    ไอ้พีธีกรภาคสนามไม่เคยยกมื้อไหว้เลยดูมาหลายคลิบแล้ว..ไม่ได้เรื่องเลย

  • @somsaklimpapansilp4971
    @somsaklimpapansilp4971 7 ปีที่แล้ว

    8

  • @NarinSoft
    @NarinSoft 7 ปีที่แล้ว

    ผมขาย ideal ครับ
    เคยคิด แล้ว แรงลอยตัว แต่ของผมยาก

    • @user-kn9xm6vi7j
      @user-kn9xm6vi7j 7 ปีที่แล้ว

      Narin Pornwatcharakul ความหนาแน่นที่ต่างกันมากในของไหล 2 ชนิดทำให้เกิดความได้เปรียบในการไหลของก๊าซ จึงเกิดการได้เปรัยบปริมาตร นำไปสู่การได้เปรียบพลังงานครับ

    • @NarinSoft
      @NarinSoft 7 ปีที่แล้ว

      ของเหลว 2 ชนิด อาจทำให้แหล่งน้ำ ทั่วไปเสียได้
      เหมือนน้ำมัน ลงแม่น้ำ

    • @NarinSoft
      @NarinSoft 7 ปีที่แล้ว

      ผมทำแบบ เครื่องยนต์ ลูกสูบ มีท่อแรงลอยตัว 2 ท่อ มีท่อสำหรับน้ำหนักถ่วย ดึงลง 1 อัน มีแมคานิส์ หมุนให้เป็น วัทะจักร

  • @user-hd7hq4lf4y
    @user-hd7hq4lf4y 5 ปีที่แล้ว

    Есть народ, понимающий сей язык чуднОй? По ходу это просто какой-то разводняк...

  • @arunsound2545
    @arunsound2545 6 ปีที่แล้ว

    สรุป ไช้งานได้จริงไหม?

  • @user-ru8jq5pm4r
    @user-ru8jq5pm4r 2 ปีที่แล้ว

    ยังดูไม่เข้าใจครับ.

  • @NarinSoft
    @NarinSoft 7 ปีที่แล้ว

    ให้ดู ideal ก่อนแล้วค่อยจ่ายเงิน

    • @NarinSoft
      @NarinSoft 7 ปีที่แล้ว

      ดูของผมไหม ง่าย
      Line 0834818733 หรือ Line ideal

  • @user-mi5qi9tj8j
    @user-mi5qi9tj8j 6 ปีที่แล้ว +2

    Нихуя не понял, но очень интересно

  • @NarinSoft
    @NarinSoft 7 ปีที่แล้ว

    กูมี กลัวย กว่านั้น

    • @NarinSoft
      @NarinSoft 7 ปีที่แล้ว

      Line ติดต่อมา 0834818733
      ไม่คิดเงินก็ได้ เห็นว่าคุณสนใจ จะพัตนา สิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้น

  • @PATTANIC
    @PATTANIC 7 ปีที่แล้ว +1

    เอาจริงดิผมว่าคนโพสต์หายไปเเล้วครับ

  • @annopwaika2685
    @annopwaika2685 5 ปีที่แล้ว

    สร้างพลังงานลอยตัวเพิ่มแรงดันจากก๊าซhidrogenเป็นแรงในการลอยตัวจะทำให้เกิดแรงสูงสุดได้

  • @user-gq5hp1uh6j
    @user-gq5hp1uh6j 7 ปีที่แล้ว +1

    จะทำอย่างไรให้มันหมุนต่อเนื่องไม่หยุด

  • @konpunkommuengsaket3467
    @konpunkommuengsaket3467 6 ปีที่แล้ว +2

    คนไทยเก่งแต่ขาดการสนับสนุนจากภาครัฐบาล

    • @sontk4908
      @sontk4908 6 ปีที่แล้ว

      Konpunkom Muengsaket หมดสิทธิ์ครับ เพราะกลัวไม่ได้ขายไฟฟ้า กำไลกับภาษีเก็บจากลูกค้าล้วนๆ