พอดี ครู จะกลับสมการก่อน แทนค่า จ้ะ😅 จะเห็นว่า ครู ยกสมการ มาหารค่าแรงดันไฟฟ้า ทั้งหมดจ้ะ😊 ×10^(-8) จะอยู่ข้างล่าง จ้ะ ครู ไม่ได้ ยกไปข้างบนนะจ้ะ😊 N = E / ( 4.44 f B A × 10^(-8)) แต่ ถ้า ครู ยกไปอยู่ข้างบน จะได้ N = E × 10^8 / ( 4.44 f B A ) จ้ะ😊 ขอบใจนะจ้ะ ที่ช่วยครู ดูเพิ่อหาข้อ ผิดพบลด นะจ๊ะ😊😊
ขอบคุณมากๆครับ
กดเครื่องผิดมั้ยครับจะเหลือความยาว0.025*2
มันคือ0.25หรือ0.025ครับ
เราเรียนกับคุณครูเเต๊วครูชี้เเจงในห้องเรียนเเล้วว่าตอนเขียนพาวเวอร์พอยครูเค้าเขียนผิดเเละพูดผิดที่ค่า0.025นิ้ว
เเต่ตอนกดเครื่องคิดเลขคุณครูกดค่า0.25ซึ่งเป้นค่าที่ถูกต้องตามสูตร
เเละคุณครูได้สรุปให้ฟังเเล้วว่าค่าที่เผื่อคือข้างละ0.25นิ้วค่ะ
@@nuengreuhaisriphu3776 ขอบคุณครับผมก็คำนวณ0.25ไปละครับ
ขอบคุณครับ อาจารย์
ได้ความรู้เพิ่มเติม เยอะเลย
ผมกำลังหาข้อมูล การออกแบบหม้อแปลง และ การพันขดลวดหม้อแปลงขนาดเล็ก
เลยได้มาเจอคลิปของอาจารย์
ขอทัก ที่ข้อ 7 และกระทบต่อข้ออื่นๆ ด้วยครับ
th-cam.com/video/Iq5IJhR90rA/w-d-xo.html
ค่าเผื่อระยะพันลวด 0.025 หรือ 0.25 ครับ
ถ้า 0.025 จะเป็น
2.625 - (0.025 x 2) = 2.625 - 0.05 = 2.575 ... #1
ดังนั้น
จำนวนรอบ 1 ชั้น ก็จะเปลี่ยนเป็น 2.575 / 0.036 = 71.52 = 72 รอบ ... #2
😊ต้องขอขอบคุณมากๆ นะคะ😊
ต้องขอ อภัย อย่างมากเลยค่ะ🥺
สำหรับ ข้อผิดพลาด ตรงส่วนนี้
การเผื่อ ต้องใช้ 0.25 ค่ะ😅
แต่ ตอนที่ เขียน ครู ดันเขียน แบะ พูด 0.025
แต่ตอน กดเครื่อง ครู กด 0.25 ค่ะ😅
ซึ่ง ตอนนั้น เจอปัญหาข้อผิดพลาดแล้ว แต่ ครู จะแจ้ง เฉพาะ เด็กๆ ที่เรียนด้วย ไม่ได้ แจ้งในช่อง ค่ะ🥺
😊ต้องขอขอบคุณอีกครั้ง และ ขออภัย อีกครั้ง ค่ะ🥺
เด๋ว จะรีบ ดำเนินการ เขียน ข้อบกพร่อง เพิ่ม ในช่องคำอธิบาย นะคะ😊😊
@@learnchillbykrutaaw3639 0.25นิ้ว เว้นหัวท้ายก็เท่ากับ 0.5นิ้ว ซึ่งจะเท่า 12.7มม. เลยนะครับ ไม่เยอะไปหรือครับ
@@chirots🤗ขอบคุณนะคะ🤗
เนื่องด้วย bobbin ไม่ว่า เราจะซื้อแบบที่มีขาย รึจะทำขึ้นเอง ส่วนด้านบนและด้านล่าง จะมีความหนาค่ะ🤗
พอหลังจากพันขดลวดครบทั้ง 2ชุดแล้ว ก็ต้องนำแกนเหล็กมาประกอบใส่เป็นขั้นตอนสุดท้าย อีกคะ🤗
ดังนั้น ในการออกแบบคำนวณ จึงต้องเผื่อ ส่วนบนและล่าง ข้างละ 0.25 นิ้ว (0.25 x 2 54 = 0.635 cm.) ก็เป็นค่าประมาณ นะคะ🤗
How to calculate transformer EE teacher ?
หนังสือ อาจารย์ ณรงค์ ชอบตะวัน ที่อาจารย์นำมาสอนเล่มสีอะไรครับ ค้นในเน็ตเจอ2เล่มครับ
ใช้ได้ทั้ง 2 เล่ม เลยค่ะ
เพราะเนื้อหาส่วนนี้ อยู่ในส่วนของภาคผนวก
เล่มสีฟ้า จะเป็นรุ่นเก่า ส่วนอีกเล่มจะพิมพ์แบบสี และคำอธิบาย และกาจัดแผนการเรียนรู้ จะเป็นการเรียบเรียงเนื้อหาเพิ่มเติมกว่าเล่มสีฟ้า เพื่อให้ตรงกับหลักสูตรปี 2562 ค่ะ
ขอบคุณครับ
หาซื้อหนังสือมี่อาจารย์ใช้สอนได้ที่ไหนครับ
ของสำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ (ศสอ) ค่ะ
อาจารย์ครับ เราคำนวณรอบพันขดลวดทองแดง ในฟิวคอยล์ กับอามาเจอร์ ในสว่านไฟฟ้า ได้อย่างไรครับ
🙄พอดี ครู ไม่ได้สอน วิชาเครื่องกำเนิดไฟฟ้า นะคะ แต่ เบื้องต้น เรา สามารถ ตัดขดลวด และ ทำการนับจำนวนรอบ และทำฟอร์มคอยล์ รึ อาจจะหาซื้อฟอร์มคอยยล์สำเร็จ มาใช้เป็นแบบพันได้ เหมือน ตอนเรียนวิชามอเตอร์ไฟฟ้า ค่ะ 🙄
หนังสือมีจัดจำหน่ายไหมครับ
😊มีจำหน่าย นะคะ น่าจะประมาณ 125 บาท ของ ท่านอาจารย์ ณรงค์ ชอนตะวัน ค่ะ😊
ถ้าลวด ขนาด 3.85 มิล จะลวดมาขนานกันจะใช้ลวดเบอร์อะไร ลวดเบอร์ใหญ่พันยาก
ขอสอบถามเพิ่มนะคะ ว่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้จริงเท่าไรคะ
ถ้างัย ดูตารางเทียบขนาดกระแสไฟฟ้ากับขนาดเบอร์ลวด ได้ค่ะ เช่น
ถ้าจะนำมาขนาน 2 เส้น ก็นำมาหาร 2 ได้ค่ากระแสไฟฟ้าแล้ว นำไปเทียบกับตาราง เพื่อหาขนาดเบอร์ขดลวด ค่ะ
ถ้าอยากได้ L = 300 H แกนเหล็ก l 0.5 ม. A 0.2 Ur 1600 ต้องพันรวดกี่รอบคับ สอนหน่อยครับจารย์555
400 เซอร์คูล่ามิล ใช่ตารางเปรียบเทียบขวดลวดรึเปล่าครับ ผมงงนิดหน่อยครับ 400 เซอร์คูล่ามิล ไม่รู้คืออะไรหน้าจะเป็นตารางเปรียบเทียบเบอร์ขวดลวดรึเปล่าครับ
พอดี ครู ใช้หนังสือของ ท่านอาจารย์ ณรงค์ ชอนตะวัน นะจ๊ะ😊
เมื่อ เราหาาค่ากระแสไฟฟ้า ที่ไหลในขดลวดแต่ละชุดได้แล้ว เราจะต้องนำค่า กระแสไฟฟ้า ที่ได้ ไป คูณ 400 เพื่อทำให้เป็นหน่วย เซอร์คูล่ามิล และนำไปเปิดตาราง เพื่อหาขาดเบอร์ขดลวด จ้ะ😊
ตามมาตรฐานในตัวอย่าง ขนาดพื้นที่ 400 เซอร์คูล่ามิล จะทนกระแสไฟฟ้า ได้ 1 แอมแปร์ จ้ะ😊
เหมือนสอน อนุบาล1 เลยครับ
😅 ช่วงนั้น เด็กๆ เจอช่วงโควิด-19 ถึง 1 ปี ก่อนที่ จะมาเรียน ครูผู้สอน เลยต้องทำเนื้อหา ตรงนี้ เพื่ออำนวยความสะดวก ให้ เด็กๆ ที่เรียนแบบออนไลน์ ค่ะ เลยอาจจะ อธิบายแบบเด็กน้อย แบบช้าๆ ไปหน่อย ต้องขออภัย มา ณ ที่นี้ ด้วยนะคะ 😅
อาจารย์ ตัวเลข 1.5 มาได้ไง ครับ
ความหนาของแกนเหล็ก จ้ะ😊
ในตัวอย่าง เขากำหนดให้นำแกนเหล็กมาอัดซ้อนให้มีความหนา 1.5 นิ้ว จ้ะ😊
ซึ่งความหนาของแกนเหล็ก เรา สามารถ กำหนดเองได้จ้ะ😊
แต่ ถ้าหนาน้อยเกินไป จะทำให้ พื้นที่ในการพันขดลวดเล็ก อาจจะมีผลทำให้ ไปสามารถ พันขดลวด ได้ครบตามจำรวนรอบ ที่เรา คำนวณไว้ ได้จ้ะ😊
จึงทำให้เรา ใสามารถหาค่า พื้นที่จะใช้พันขดลวด จ้ะ😊
สูตรอาจารย์ผิดครับ หาจำนวนขวดลวดปฐมภูมิ
( N1) ครับ อย่างเช่น 220x10^8x4.44x50x85000x2.625 =1.089 ผิดครับจะได้ 444.14 ได้ไงครับผิดเต็มเลยครับ
ต้องใช้เครื่องหมาย ( หาร / ) ไม่ใช่คูณครับ
คำตอบคือ 22x10^8/4.44/50/85000/2.625 = 444.14 แบบนี้ถูกครับ
พอดี ครู จะกลับสมการก่อน แทนค่า จ้ะ😅
จะเห็นว่า ครู ยกสมการ มาหารค่าแรงดันไฟฟ้า ทั้งหมดจ้ะ😊
×10^(-8) จะอยู่ข้างล่าง จ้ะ
ครู ไม่ได้ ยกไปข้างบนนะจ้ะ😊
N = E / ( 4.44 f B A × 10^(-8))
แต่ ถ้า ครู ยกไปอยู่ข้างบน จะได้
N = E × 10^8 / ( 4.44 f B A )
จ้ะ😊
ขอบใจนะจ้ะ ที่ช่วยครู ดูเพิ่อหาข้อ ผิดพบลด นะจ๊ะ😊😊
อาจารย์คิดถูกแล้วครับ ย้ายค่าและตัวแปรจากขวามือ ไป หารฝั่งซ้ายมือ แล้ว กลับข้างกัน
ส่วนคำตอบ คือ 444.40 รอบ (ไม่ใช่ 444.14) ซึ่งอาจารย์ น่าจะปัดเศษ เหลือ 444 รอบ
* คำนวณแบบนี้
N1 = E1 / {4.44 x f x A x Bm x 10^(-8) }
แทนค่า
#1 85,000 x 10^ (-8) = 0.00085
#2 หาค่าตัวหารก่อน = 4.44 x 50 Hz x 2.625 sq" x 0.00085 = 0.495
N1 = 220 / 0.495
N1 = 444.40 รอบ ปัดเศษ = 440 รอบ
คุณครูครับตานางที่4ผมดูในคลิบตัวเลขเลือนมากไม่ชัดว่าเป็นเลขอะไรคุณครูช่วยทำให้ชัดๆนะครับผมสนใจมากๆวิชานี้ครับขอบพระคุณครับครู❤
ครูแต๋ว ให้เพื่อนครู ทำคลิปตารางที่4 และตารางที่5 ลงในช่องแล้วนะคะ🤗
👉กดเข้าลิงค์ th-cam.com/video/fT34-2Eh498/w-d-xo.htmlsi=5ZMQXTtmTSHfiCna ค่ะ👈