มวลกับน้ำหนักแตกต่างกันอย่างไร?

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 6 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 79

  • @tiramizu8519
    @tiramizu8519 ปีที่แล้ว +28

    งั้นครั้งต่อไปขอ request "แรง VS งาน VS พลังงาน" ได้มั้ยครับ

  • @กิตติพงษ์พงค์ยะ
    @กิตติพงษ์พงค์ยะ ปีที่แล้ว +12

    ได้ประโยชน์มากครับ ผมเป็นครูสอนคณิตศาสตร์มานาน กระจ่างวันนี้แหละครับ...ขอบคุณครับ

  • @chantawutmuadthong2025
    @chantawutmuadthong2025 ปีที่แล้ว +4

    ผมชอบมาก ยิ่งขอบตอนที่อ.บอกว่าขอให้เรียนฟิสิกส์อย่างมีความสุขจนกว่าจะติดในเรื่องต่อไปอีก ...เป็นเช่นนั้นจริงๆ😊😂

  • @pjmaxmix7034
    @pjmaxmix7034 ปีที่แล้ว +39

    เถียงกับแม่ค้าตั้งนาน ขอซื้อหมู 3 นิวตัน ไม่ขาย จะขายเป็นกี่โลอยู่ได้ ใครผิดงานนี้

    • @สัทตกมลชัยญาณพาณิชย์-ฐ9ม
      @สัทตกมลชัยญาณพาณิชย์-ฐ9ม ปีที่แล้ว +8

      พูดแบบนี้ระวังแม่ค้าปาหมูใส่นะครับ😂😂

    • @mrday5579
      @mrday5579 ปีที่แล้ว

      ผมชอบคอมเม้นนี้มากเลยครับ 😂❤

    • @MrArtworkshop
      @MrArtworkshop ปีที่แล้ว +3

      @@สัทตกมลชัยญาณพาณิชย์-ฐ9มหมูติดเขียง หรือ หมูติดมีดครับ 5555

    • @kesarinb
      @kesarinb ปีที่แล้ว

      ที่ตลาดไม่กล้ากระแดะเหมือนในนี้ 😂

    • @กฤษดาเกลอะดู-ธ2ด
      @กฤษดาเกลอะดู-ธ2ด ปีที่แล้ว +1

      5555555

  • @27section
    @27section ปีที่แล้ว +3

    ครั้งนี้เป็นคลิปแบบ HDR ด้วย สุดยอดเลยครับอาจารย์

  • @aliztz
    @aliztz ปีที่แล้ว +2

    ป๋องแป๋ง นายเท่ห์มาก

  • @Blockdit
    @Blockdit ปีที่แล้ว +4

    ขอถามเพิ่มนะครับ
    เราจะรู้มวลของวัตถุได้อย่างไรในสภาวะไร้แรงโน้มถ่วงหรอครับ?

    • @กฤษดาเกลอะดู-ธ2ด
      @กฤษดาเกลอะดู-ธ2ด ปีที่แล้ว

      ดันๆ +1

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o ปีที่แล้ว

      ผมคิดว่าไม่รู้นะ เพราะ 1 กก มันติ๊ต่าง ขึ้นมาว่าน้ำ 1 ลิตรเท่ากับ 1 กก บนพื้นโลก คือ มันเป็นค่าที่คนกำหนดกันขึ้นมาเองเพื่อให้เข้าใจตรงกัน แต่เหมือนเขาจะมีของอย่างนึงที่เอาไว้เทียบ 1 กก มาตรฐานเก็บไว้ไหนนี่แหละ ผมเลยคิดว่า มวลต้องคำนวณจาก น้ำหนักเสมอ ( ผมเดา) หรือถ้ารู้ความหนาแน่นก็เอามาคูณปริมาตร

  • @surakiza
    @surakiza ปีที่แล้ว

    ดีครับน้องๆ เข้าใจได้ละเอียดดี

  • @kolawta
    @kolawta ปีที่แล้ว +2

    ตาชั่ง = เครื่องวัดมวลจากน้ำหนัก จะวัดได้ถูกต้องบนพื้นโลกและในอากาศเท่านั้น ทางที่ดีควรชั่งที่ระดับน้ำทะเลด้วย

  • @MrJoeybug
    @MrJoeybug ปีที่แล้ว

    ขอถามแบบไม่รู้นะครับว่า ถ้าจะบอกว่า มวล คือ เนื้อของสสาร ได้ไหมครับ

  • @jabstunt
    @jabstunt 11 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับอาจารย์ ^^

  • @k9gaming972
    @k9gaming972 ปีที่แล้ว

    ใช่ครับ ผมลองไปชั่งในน้ำแล้ว สรุปว่าอ่านค่าไม่ได้ ตาชั่งพังครับ (หยอกๆ)

  • @thansmc2425
    @thansmc2425 ปีที่แล้ว

    เป็นจริงอย่างทีอาจารย์กล่าวครับ

  • @user-Sanada-Yukimura
    @user-Sanada-Yukimura ปีที่แล้ว +1

    ฟังแล้วรู้สึกว่าในที่สุดก็ฉลาดขึ้นมานิดนึง😊

  • @cikgu_tadika
    @cikgu_tadika 7 หลายเดือนก่อน

    สมมุติว่า คนอ้วนหนัก100กีฬา อีกคนเป็นนักกล้ามหนัก100กีโลเช่นกัน เเสดงว่า คนอ้วนมีมวลเท่ากับนักกล้าม แต่มีปริมาตรน้อยกว่า เพราะมีความหนาแน่นเท่าคนอ้วน

  • @zn1235
    @zn1235 ปีที่แล้ว

    ต้องประท้วงเปลี่ยนน้ำหนักเป็น นิวตัน สิ เพื่อป้องกันสับสน

  • @chokp.9338
    @chokp.9338 ปีที่แล้ว

    ผมสงสัยมานานมากๆๆๆ ครับคือ ตอนข่าวน้ำท่วม ทำไมเขาใช้คำว่า ‘’มวลน้ำ‘’ ทำไมไม่ใช้คำว่า ‘’ปริมาณน้ำ‘’ ครับ

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o ปีที่แล้ว

      ก็เพราะมันคือมวลน้ำครับ ส่วนมวลน้ำจะมีปริมาตรเท่าไหร่ก็ว่าไป

  • @TheThaiStreet
    @TheThaiStreet ปีที่แล้ว +1

    ถามอ.ป๋องแป๋งครับ
    เราผลักตู้เย็นใบเดียวกันบนโลก กับบนสถาณีอวกาศนานาชาติ
    เราจะออกแรงเท่ากันมั้ยครับ
    ผมเห็นพวกคลิปโชว์สภาพไร้น้ำหนัก เหมือนเราจะขยับของใหญ่เล็กได้ด้วยแรงน้อยนิด
    เรียกว่าสภาพปล่อยร่วงไม่มีที่สิ้นสุดของสถาณี ก็ได้ช่วยตัดประเด็นน้ำหนัก(นิวตัน)ออกไปแล้ว
    น่าจะเรียกว่าเหลือแต่เรื่องของมวล ถ้าเราชั่งของทุกชิ้นในสถาณี ก็น่าจะได้ 0 นิวตัน
    แต่จะชั่งหรือวัดมวล ไม่รู้ทำไงเหมือนกันครับ
    ผมสับสนเรื่องมวลกับน้ำหนักมาตั้งแต่มศ.4
    ถามกึ่งเถียงกับอาจารย์จนเขาด่าเลย
    วันนี้มาฟังอ.ป๋องแป๋งแล้ว ก็ยังงงเท่าเดิม
    ไม่สามารถมองหน่วยกิโลกรัมว่าไม่ใช่น้ำหนักไม่ได้

    • @alongkornhonglerssakul4694
      @alongkornhonglerssakul4694 ปีที่แล้ว +1

      ในภาษาทั่วไปน้ำหนักก็คือมวลโลกครับ มวลที่กระทำเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ไม่ว่าจะชั่งที่ใด ๆ บนโลกค่าจะไม่ต่างกันมากนัก ยกตัวอย่างวัดบนผิวโลกความเร่งโน้มถ่วงคือ 9.8 m/s^2 บนยอดเขาหิมาลัยคือ 9.78 m/s^2 เรียกว่าแทบไม่ต่างกัน
      เพราะฉะนั้นมวลที่ตาชั่งวัดได้บนโลก ก็เลยกลายเป็นน้ำหนักบนโลกไปโดยปริยาย
      ต่อไปเรื่องการผลักตู้เย็น บนโลกคือเกิดจากการเคลื่อนที่ในแนวนอน การผลักจะมาคู่กับแรงเสียดทาน ตามกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน Action = Reaction) สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานเกิดจากแรงกดตั้งฉาก (แรงโน้มถ่วง) กับพื้นผิว บนโลกแรงโน้มถ่วงมาก จึงมีแรงเสียดทานมาก จึงต้องออกแรงมากกว่า แต่เมื่อตู้เย็นเคลื่อนแล้วจะเร็วกว่า แต่บนอวกาศเรียกไร้แรงโน้มถ่วง จึงมีแรงเสียดทานน้อยมาก แค่ออกแรงเบา ๆ วัตถุก็เคลื่อนที่ได้แล้ว แต่ความเร็วจะช้ากว่าบนโลกครับ
      ไม่ทราบว่าจะพอเข้าใจไหมครับ พยายามอธิบายที่สุดแล้วครับ 😂

  • @maskedman1467
    @maskedman1467 ปีที่แล้ว

    ขอสอบถามหน่อยครับพี่ป๋องแป๋ง ผมได้ไปดูคลิปเกี่ยวกับ ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ-ทั่วไป ของพี่มา เลยสงสัยนิดหน่อย ว่าถ้าเราเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงได้จริง อาจทำให้ย้อนเวลาได้ ทีนี้การย้อนเวลาที่หมายถึงนั้น มันเป็นรูปแบบของผู้สังเกตการณ์ที่มองเข้ามาเห็นเวลากำลังย้อนกลับ ใช่หรือไม่? และถ้าเป็นอย่างนั้น ผมเลยอยากถามพี่ป๋องแป๋งว่า การย้อนเวลาด้วยการเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงนั้นมันจะส่งผลย้อนกลับ ต่อมวลของสิ่งที่เราเห็นรอบตัวไหมครับ ยกตัวเองอย่าง เช่น ตัวละครของหนังซูเปอร์ฮีโร่ ค่าย DC ตัวนึงที่ชื่อว่าแฟรช การย้อนเวลาด้วยการเคลื่อนที่ของเดอะแฟรชในหนังมันทำให้เวลาย้อนกลับทั้งหมดส่งผลต่อมวลของสิ่งต่างๆรอบตัวด้วย แล้วทฤษฎีที่เชื่อกันอยู่ในปัจจุบันนั้นเป็นแบบในหนังไหมครับ และเป็นไปได้ไหมครับในทางทฤษฎี

  • @lightreveal1663
    @lightreveal1663 ปีที่แล้ว

    ผมเห็นข่าว เรื่องเสนอซื้อเครื่องซินโครตรอน จึงอยากรู้เรื่องนี้ครับ มันเอาไว้ทำอะไรเจ้าเครื่องนี้?

  • @somboonbussarakammanee8291
    @somboonbussarakammanee8291 ปีที่แล้ว

    ขอสอบถามว่า หน่วย kgf กับ kg ต่างกันอย่างไร kgf เป็นแรง หรือเปล่าครับ

    • @alongkornhonglerssakul4694
      @alongkornhonglerssakul4694 ปีที่แล้ว

      ถูกต้องครับ 1 kg = 9.81 N = 1 kgf
      ในความเป็นจริงถ้าเราจะบอกหน่วยน้ำหนักตามหลักวิทยาศาสตร์ก็ต้องบอกของชิ้นนี้หนัก x kgf แต่มันก็จะแปลก ๆ ใช่มั้ยละ 5555

  • @yosakusaku
    @yosakusaku ปีที่แล้ว

    รบกวนพี่ป๋องแป๋งหน่อยครับ , สามารถอธิบายได้ใหมว่า ทำไมแก้วเยติ ที่เราใช้กัน ถึงสามารถเก็บความเย็นของน้ำและน้ำแข็งภายในแก้วได้นานมาก ๆ "ถามด้วยความสงสัยใคร่รู้ครับ"

    • @aumaroonpairoj8464
      @aumaroonpairoj8464 ปีที่แล้ว

      ไม่เห็นจะเก็บได้เลย ไม่ถึง 5 นาที เปิดดู จากน้ำแข็งกะน้ำเดือดที่เก็บไว้ กลายเป็นน้ำอุ่นหมดเลย^^ คำตอบคือ ก็เพราะแก้วเก็บร้อนเย็นพวกนี้จะเป็นแก้ว 2 ชั้นจ้ะ แล้วระหว่างชั้นจะเป็นสูญญากาศทำให้เก็บอุณหภูมิได้ดี แต่ถ้ามีรอยรั่วเมื่อไหร่ ก็จะกลายเป็นเหมือนใส่ไว้ในกระป๋องนมข้นเลย

    • @yosakusaku
      @yosakusaku ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ , แต่ที่ผมใช้มา น้ำแข็งมันแทบจะไม่ละลายเลยนะครับ นั่งทำงานดูดเปปซี่จนหมดน้ำแข็งไม่ยอมละลายจนต้องใส่เปปซี่ไปใหม่ เพราะปกติแล้วเราจะปล่อยให้น้ำแข็งละลายไปผสมกับเปปซี่ทำให้ได้น้ำมากขึ้นแต่ก็ทำให้รสชาติจางลง (เอาว่าน้ำแข็งละลายช้ามาก) ใส่แก้วปกติแปปเดียวน้ำแข็งละลายหมด
      ***ของผมยังไม่เคยใช้กับน้ำร้อน , คุณลองไปใช้กับน้ำแข็งดูครับ กรณีของคุณถ้าน้ำแข็งละลายเร็วเหมือนใส่แก้วทั่วไปแสดงว่าซื้อของปลอมมาแล้วแหละ

  • @FailisFall
    @FailisFall 11 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์ด่าคนร้องไห้เป็น PTSD ได้จริงๆหรอครับ เป็นไปได้ไหมที่ผมจะเรียนรู้พลังนั้น

  • @kokito939
    @kokito939 ปีที่แล้ว

    มีบางคนเก่งฟิสิกส์ที่1ในห้อง กลับเข้าใจว่าน้ำหนักกับมวลคืออันเดียวกัน

  • @duangdueanduangsamran4165
    @duangdueanduangsamran4165 ปีที่แล้ว

    ฉันผู้ต้องรีซ้ำสามรอบ เป็นคนค่อยๆเรียนรู้ ค่อยๆจนถึงช้า😅😅

  • @taji_XD
    @taji_XD ปีที่แล้ว

    โคตรตึงฮับท่านอาจารย์

  • @kruing02
    @kruing02 ปีที่แล้ว +1

    ตอนน้ำท่วม มีพิธีกรชื่อดังบอก"มวลน้ำ"มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร ทุกคนก็พูดตาม ขำขี้แตก

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o ปีที่แล้ว

      น่าจะเป็นภาษาเขามั่งครับ มวลน้ำ กระแสน้ำ ผิวน้ำ ใต้น้ำ ผมเข้าใจว่าประโยคที่เขาใช้จริงๆน่าจะเป็น มวลน้ำมีปริมาตร....ลบ.ม. เขาก็พูดถูกนะ แล้วเวลาพูดว่า มวลชน มวลมิตร นี่ต้องขำไหมล่ะครับ

  • @time2bitone407
    @time2bitone407 ปีที่แล้ว

    ผ่านมา 30ปี พึ่งเข้าใจวันนี้😅

  • @tpt2disableuserofficial280
    @tpt2disableuserofficial280 ปีที่แล้ว

    ถ้าต้องหาต้องการหามวลของหินก้อนหนึ่งบนดวงจันทร์ เเละตอนนั้นผมอยู่บนดวงจันทร์ ผมรู้ทั้งรู้ว่าทั้งสองที่จะโลกก็ดีหรือดวงจันทร์ก็ดี ไม่ว่าที่ไหนในจักวาลก็จะมองว่าเราให้ค่ากับวัตถุนั้นมีมวล(m)เท่ากัน ต่างกันที่ว่าเมื่อผมนำหินก้อนนั้นมาทับตัวผมเองบนดวงจันทร์ ผมรู้สึกว่าหนัก เเต่ก็ดีเเล้วที่ผมไม่ได้นำหินก้อนนั้นมาทับตัวเองที่โลกเพราะจะรู้สึกหนักกว่านี้เเน่นอน เพราะฉะนั้นทั้งสองที่รู้สึกถึงค่า F(น้ำหนัก) ต่างกัน เพราะว่าถ้าอยู่ที่โลกบ้านเกิดผมเขาว่ากันว่า F=mg คือ F จะขึ้นกับ mg โดยเขาให้ g ที่โลกมีค่า 9.8XXXXXX เเต่ที่ดวงจันทร์คงมี g อีกค่าหนึ่ง เเละผมต้องการหาค่า g ของดวงจันทร์ ผมจึงหยิบเครื่องชั่งสปริงออกมาวัดหินก้อนนั้นที่ดวงจันทร์ จึงได้ F ค่าหนึงบนดวงจันทร์ เเละเพื่อทำภารกิจให้สำเร็จก็ไม่ลืมนำหินก้อนนั้นมาชั่งหาค่า F บนโลกด้วย

  • @quansalas6993
    @quansalas6993 ปีที่แล้ว

    ก็ยังไม่เข้าใจอยู่ดีครับ ถ้ามวลเป็น kg และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แล้วทำไมคนชั่งน้ำหนักบนโลกกับดวงจันทร์ถึงไม่เท่ากันครับ ถ้าแรงดึงดูดของโลกกับดวงจันทร์ไม่เท่ากันเลยทำให้ได้ kg ต่างกันงั้นมวลของคนๆนั้นจริงคือเท่าไหร่ครับ

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o ปีที่แล้ว

      Kg ที่แสดงบนตาชั่งไม่เท่ากัน แต่มวลเท่าเดิม kg บนต่ชั่งได้จากการวัดน้ำหนักแล้วค่อยนำมาคำนวณหามวลที่แสดงบนตาชั่ง เมื่อน้ำหนักเปลี่ยน ตัวเลขที่เอามาคำนวณหามวลเลยเปลี่ยน วิธีแก้ก็เปลี่ยนสปริงตาชั่งเป็นรุ่นที่ใช้บนดวงจันทร์ สปริงก็จะอ่อนกว่าสปริงที่ใช้บนโลก

  • @kraipichayasongdech3096
    @kraipichayasongdech3096 ปีที่แล้ว

    มวล คือ จำนวนอิเล็กตรอน ในเนื้อวัสดุ นั้น ๆ ขึ้น อยู่ กับ แรง ดึงดูดของ โลก หรือ ดวงดาว

  • @songwutyotsawimonwat9785
    @songwutyotsawimonwat9785 ปีที่แล้ว

    ผมมีน้ำหนัก 70 Kg (บนโลก) แปลว่าผมมีมวลประมาณ 7 Kg ใช่ไหมครับ ?

    • @Nat-bw6fm
      @Nat-bw6fm ปีที่แล้ว +1

      ถูกครับ แต่น้ำหนัก 70 นิวตัน ครับ

    • @kanantapaponno.4081
      @kanantapaponno.4081 ปีที่แล้ว +1

      น้ำหนักหน่วยนิวตันครับ(N) มวลหน่วย(kg)
      คือ น้ำหนัก=มวลxแรงโน้มถ่วง
      มวล=น้ำหนัก/แรงโน้มถ่วง

  • @สุริยะทรงกุญชรชัย

    มีมวลลบไหม

  • @cikgu_tadika
    @cikgu_tadika 7 หลายเดือนก่อน

    น้ำหนักจะเปลี่ยนตามแรงดึงดูด

  • @rookiekunie
    @rookiekunie ปีที่แล้ว

    กำ อายุจะ 60 แล้ว เพิ่งรู้ว่ามวลมีหน่วยเป็น กก. ส่วนน้ำหนักมีหน่วยเป็น นิวตัน เพราะเป็นแรง 55555+++++

  • @mix78428
    @mix78428 ปีที่แล้ว

    รบกวนสอบถามครับ ทำไมตอนเราชั่งตราชั่ง ไม่ได้เป็น N เลยครับ เพราะ น้ำหนักมวลของตัวเรา * แรงจาก gravity ของโลกที่ดึงดูดตัวเรา (N=mg) m คือ มวลของเรา g คือ แรงโน้มถ่วง (9.81 m/s^2) ค่าที่ได้จากตราชั่งไม่ใช่เป็น N หรอครับ ทำไมถึงเป็น kg

    • @wutthiphongboodnon
      @wutthiphongboodnon ปีที่แล้ว +3

      เกิดจากการแปลงหน่วยครับ เอาจริงสิ่งที่ชั่งได้จากตราชั่งพื้นฐานจริงๆก็เป็นน้ำหนัก(แรง) นั่นแหละครับ แล้วตราชั่งก็จะหารค่า g ออกไปให้เองแล้วแสดงค่าเป็นหน่วย kg ส่วนสาเหตุว่าทำไมไม่แสดงเป็นหน่วย N เลย คงเป็นเพราะในชีวิตประจำวันเรานิยมใช้หน่วย kg จนคุ้นชินครับ ชั่งมวลกาย ชั่งสินค้าขาย และอื่นๆก็ใช้มวลที่มีหน่วย kg เป็นตัวบอก(บางประเทศก็ใช้หน่วยปอนด์) จะมีตราชั่งดิจิตอลบางประเภทที่เลือกหน่วยได้ว่าจะเอาแบบไหน เช่น N kg ปอนด์ ออนซ์ เป็นต้น

    • @mix78428
      @mix78428 ปีที่แล้ว

      @@wutthiphongboodnon ขอบคุณมากครับ

    • @Ex_SOZ1
      @Ex_SOZ1 ปีที่แล้ว

      ​@@wutthiphongboodnonพี่ครับ แล้วค่าดัชนีมวลของร่างกาย กับ มวลร่างกายต่างกันอย่างไรหรอครับ ผมสงสัยมานานแล้วครับ ผมนํ้าหนัก60 กิโลกรัม แต่มวลร่างกายของผมประมาณ 6กิโลกรัม ถูกไหมครับ แล้วทำไมค่าดัชนีมวลร่างกายถึงมากกว่ามวลของร่างกายหรอครับ ผมงงครับ

  • @MikeSuperLui
    @MikeSuperLui ปีที่แล้ว

    มวลเป็นสภาพต้านการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ แต่น้ำหนักเป็นแรงที่กดลงบนตาชั่ง แต่ตอนชั่งน้ำหนักเราก็ไม่ได้เคลื่อนที่ แต่ตาชั่งคำนวนหามวลได้ มันแปลกๆหรือเปล่าครับ

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o ปีที่แล้ว

      สปริงของตาชั่งมันยุบลงอยู่นะครับ

  • @tinnagonsamen1432
    @tinnagonsamen1432 ปีที่แล้ว

    หนังสือทั้งสองเล่มดีมากครับซื้อมาอ่านแล้วแต่ยังไม่จบมีเรื่องที่กำลังเรียนรู้อยู่😅คือถ้าคนชอบคณิตศาสตร์และประวัติศาสตร์ของคณิตศาสตร์อ่านแปปเดียวจบเล่มแน่นอนครับ👍☺️👀☯️🕕☸️🚴‍♂️🦋💫🌈

  • @พจน์บึงชนัง
    @พจน์บึงชนัง ปีที่แล้ว

    อืมม..มวลไม่เปลี่ยนไม่ว่าจะอยู่แบบไหน น้ำหนักเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับภาวะในการวัด(การชั่ง)ณ ขณะนั้น หรือปล่าวหว่า

  • @duangdueanduangsamran4165
    @duangdueanduangsamran4165 ปีที่แล้ว

    มวลคือแรงแนวนอนน้ำหนักคือแรงแนวตั้ง อย่างนี้มั้ย เราโง่อ่ะ

    • @alongkornhonglerssakul4694
      @alongkornhonglerssakul4694 ปีที่แล้ว +1

      ไม่ใช่ครับ มวลคือปริมาณสเกลลาร์ไม่มีขนาดและทิศทาง
      น้ำหนัก คือแรงในแนวตั้งอันเนื่องมาจากความเร่งของแรงโน้มถ่วง
      แรงในแนวนอน คือ การที่เกิดการถ่ายแรงให้กับมวล เช่น ผลัก ดึง ทำให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางนั้น ๆ ครับ
      น้ำหนักและแรงจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทั้งขนาดและทิศทาง

    • @duangdueanduangsamran4165
      @duangdueanduangsamran4165 ปีที่แล้ว

      @@alongkornhonglerssakul4694 ขอบคุณค่า

  • @EuMu
    @EuMu ปีที่แล้ว

    เม้นแรกครับ55

  • @phutthimet2249
    @phutthimet2249 ปีที่แล้ว

    m = DV

  • @dukeduke2450
    @dukeduke2450 ปีที่แล้ว

    แล้ว เรามีอุปกรณ์อะไร ที่วัดมวลได้ โดยที่ไม่มีเรื่องแรงดึงดูด มารบกวนการวัด ?
    ถ้าเราอยู่บนดวงจัน หริอดาวอังคาร แล้วจะวัดมวล ก้อนหิน (วัดน่ะ ไม่ใช่คำนวน !!) จะทำยังไง ?

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o ปีที่แล้ว

      ก็ใช้ตาชั่งเหมือนเดิม แค่หาสปริงตาชั่งที่มันพอดีกับแรงโน้มถ่วงบนดวงจันทร์(กรณีจะใช้ตาชั่งเดิม สปริงน่าจะอ่อนลงเหมือนที่แม่ค้าบางคนเขาโกงตาชั่งนั่นแหละ) หรือ ถ้าจะใช้สปริงอันเดิม ก็ไปเขียนสเกลบนตาชั่งใหม ซึ่งน่าจะถี่กว่าเดิม ตาชั่งทุกอันก็ต้องมีการตั้งค่าก่อนเอามาใช้ทั้งนั้น

  • @reaguesmanga969
    @reaguesmanga969 ปีที่แล้ว

    ชอบมากครับขอแบบละเอียดทุกๆเรื่องเลยอาจารย์ยิ่งคอมพอว