KU Coco peat : วัสดุเพาะจากขุยมะพร้าวหมัก มก. ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 28 ก.ย. 2024
  • KU Cocopeatนับเป็นอีกหนึ่งการประดิษฐ์ที่น่าสนใจ เพราะมีการนำวัสดุทางการเกษตรมาพัฒนาเพื่อต่อยอดและเพิ่มมูลค่า ด้วยในปัจจุบัน ธุรกิจเพาะกล้าผักและไม้ดอกจำหน่าย กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว เพราะช่วยให้เกษตรกร ประหยัดแรงงาน เวลา ค่าใช้จ่าย และให้ต้นกล้าที่มีคุณภาพสูง ทั้งนี้ ในแต่ละปีคาดว่าจะมีการผลิตกล้าผักและไม้ดอกจำหน่ายไม่ต่ำกว่าปีละ 2,000 ล้านต้น หรือคิดเป็น 45 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ปลูก ดังนั้น ปัจจัยการผลิตที่สำคัญประการหนึ่ง ที่ต้องใช้ในการเพาะต้นกล้าคือ วัสดุเพาะกล้าที่มีคุณภาพ
    “วัสดุเพาะกล้าจากขุยมะพร้าวหมัก ภายหลังผ่านกระบวนการผลิตแล้ว วัสดุที่ได้มีความสม่ำเสมอในด้านของอนุภาคสี สมบัติทางกายภาพและเคมี ต่างจากขุยมะพร้าวทั่วไป ซึ่งไม่มีความสม่ำเสมอดังกล่าว และเมื่อนำไปใช้งานจะมีรูปร่างและลักษณะภายนอกที่ใกล้เคียงกับพีทมอสส์ จึงเป็นผลดีต่อการยอมรับ วิธีการประดิษฐ์นี้ยังช่วยให้ได้วัสดุที่มีเนื้อและคุณสมบัติใกล้เคียงกันทุกครั้ง ซึ่งต่างจากขุยมะพร้าวที่มีเนื้อและคุณสมบัติที่แตกต่างกันในแต่ละฤดูกาล”
    สำหรับผลิตภัณฑ์ KU Coco peatยังไม่มีการผลิตออกจำหน่าย แต่เปิดโอกาสให้ภาคเอกชนที่สนใจได้เข้ามานำเทคโนโลยีการผลิต KU Cocopeat ไปดำเนินการทางการค้าอย่างจริงจัง
    สำหรับผู้สนใจติดต่อ ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ กำแพงแสน โทร. (034) 281-086
    พิธีกร:นางสาวศุภกานต์ วิริยะเสถียร
    ผลิตรายการ: นายณัฐพร พันธุ์ยาง นายวิทวัส ยุทธโกศา

ความคิดเห็น • 60

  • @Nid-Lanam
    @Nid-Lanam 4 ปีที่แล้ว +5

    เสียดายงบประมาณภาษีที่เป็นเงินเดือน และงบสำหรับวิจัยครับ อาจารย์ครับ เทคนิคแบบนี้น่าจะเผยแผร่เป็นสาธารณะให้ชาวบ้านนำไปใช้แบบฟรีครับ

  • @ภาณุเดชน์ฟิชชิ่ง
    @ภาณุเดชน์ฟิชชิ่ง 6 ปีที่แล้ว +5

    ไม่ได้อะไรเลยดูตั้งนาน!

  • @foofong8831
    @foofong8831 3 ปีที่แล้ว +1

    เงินเท่านั้น เสืยเวลาดู

  • @chuensanguan
    @chuensanguan 7 ปีที่แล้ว +18

    ไม่เหมือนอาจารย์ ธีรพงษ์ สว่างปัญญางกูร ปุ๋ยหมักวิศกรรมแม่โจ้ 1 เลยครับ ท่านเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนแบบไม่กั๊ก และท่านได้ รับรางวัล“อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ ปอมท. สาขารับใช้สังคม ประจำปี 2558

    • @panyaattasupanapan4600
      @panyaattasupanapan4600 6 ปีที่แล้ว +1

      ใช่เลยอาจารย์ลุง อาจารย์ ธีรพงษ์ สว่างปัญญางกูร ไม่กั๊กสอนทุกขั้นตอนจนสามารถนมาใช้ได้จริง

    • @siam2498
      @siam2498 5 ปีที่แล้ว +2

      นวก.อจ.บางกลุ่มทำเพื่อการค้าทางวิชาการให้บริษัท ม.บางแห่งในประเทศไทยทำวิจัยร่วมกับเกษตรกรแต่สรุปผลแล้วกลับเผยแพร่ให้เฉพาะคนมีทุนเข้าไปแลกวิชาการ(นายทุนนำไปทำมาขายให้เกษตรกร) ไม่เผยแพร่ทางสื่อให้เกษตรกรรู้ ผมขอมองว่าเป็นกลุ่มที่เนรคุณเกษตรกร แรงไปเปล่า คงรับกันได้นะครับ

  • @audomlapchaemchol6768
    @audomlapchaemchol6768 5 ปีที่แล้ว +2

    เปนธุระกิจไปหมดแล้วดูตั้งนานนึกว่าจะบอกวิธีทำ

  • @chaiwatsrisan571
    @chaiwatsrisan571 5 ปีที่แล้ว +3

    รู้แล้วครับ อาจารย์ขาดความรู้ให้เอกชน นักวิจัยรุ่นน้องอย่ามาออกรายการแบบนี้อีก เพราะทำให้เสียชื่อเสียงของสถาบันฯ

  • @singkumboonthawong5806
    @singkumboonthawong5806 7 ปีที่แล้ว +1

    ความหวังขอเกษตรกรที่จะลืมตาอ้าปากกับเขาบ้าง ขอขอบคุณ

  • @farmkids789
    @farmkids789 5 ปีที่แล้ว +1

    ทำไมไม่เผยแพร่ให้กับเกษตรกร เพื่อที่ต้นทุนของเกษตรกรจะได้ลดลง

  • @peaknk2396
    @peaknk2396 3 ปีที่แล้ว

    เพื่ออะไรมิทราบ ไม่ได้เกิดความรู้อะไรแก่คนดูเลยทำยังไงก็ไม่บอกเสียเวลาดูหว่ะ

  • @สรกฤชวชิรกิติกุล-ย7ฦ

    อย่างน้อย ก็ รู้ว่า เอามาต่อยอด ไปทางใหนได้บ้าง เราก็ต่อง หาวิธีของ เรากันเอง หรือบางที่เราไปถามเขา เผื่อ ว่าจะ มีข้อมูลให้ นะครับ
    แต่ เท่าที่รู้ ทาง ม เกษตร มีเปิดอบรม แต่มีค่าใช้จ่าย ครับ

  • @pk-zx5cm
    @pk-zx5cm 7 ปีที่แล้ว

    เก่งมากครับ

  • @นายอนุสรณ์ฤกษ์บางพลัด-ฐ4ย

    เสียเวลาเขามาดูครับ

  • @อนันต์สัจวิริยกุล

    น่าจะทำเพื่อเกษตรไทยนะครับ เหมือนปุ๋ยแม่โจ้...

  • @kanuengsivichien7830
    @kanuengsivichien7830 7 ปีที่แล้ว +3

    เสียดายเงินภาษีจัง

  • @LMKTinyForest
    @LMKTinyForest 7 ปีที่แล้ว +5

    คาดหวังว่าจะเป็นการนำเสนอในลักษณะที่เกษตรกรก็สามารถนำเอาความรู้ที่อาจารย์ทำวิจัยไปทำใช้ได้เองในสวน แต่นี่ฟังแล้วเหมือนจะมาโฆษณาว่า ผลงานวิจัยนี้จะเป็นสินค้าออกมาวางจำหน่ายโดยบริษัทเอกชนที่มีเงินทุน ขอโทษที่คาดหวังมากเกินไปค่ะ

    • @หมอดินจิ๋วอาสาพาเลี้ยงไส้เดือน
      @หมอดินจิ๋วอาสาพาเลี้ยงไส้เดือน 7 ปีที่แล้ว +2

      ถูกต้องเเสวงหากำไร คำว่าอาจารย์มีความรู้ไห้ลูกสิทย์ ไม่ไช่หวงความรู้เเล้วก็เเสวงหากำไร

    • @bunhanheemlah5313
      @bunhanheemlah5313 6 ปีที่แล้ว +2

      ฟังตั้งนานนึกว่าจะดีต่อสังคม สุดท้ายก็หากำไรจากวิชาการ. แย่มาก สู้อาจารยักเรามั้ยได้ ..ไห้หมดความรู้และอาจารธงชนะคือบุคคนที่หน้ายกย้องมากสุดครับ
      (ระคายเคืองในกระเพราะครับ)

  • @napapornsanitbanleng6255
    @napapornsanitbanleng6255 6 ปีที่แล้ว +3

    รู้สึกผิดหวังแทนเกษตรกร

  • @เมรีจินต์เสรี
    @เมรีจินต์เสรี 8 ปีที่แล้ว +1

    รอซื้อมาสามปีแระ ยังหาตามร้านไม่เจอ

    • @KurdiNews
      @KurdiNews  8 ปีที่แล้ว +1

      สำหรับผู้สนใจติดต่อ ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ กำแพงแสน โทร. (034) 281-086

    • @sarayutongard7451
      @sarayutongard7451 6 ปีที่แล้ว

    • @chaiwatiamtiam1059
      @chaiwatiamtiam1059 4 ปีที่แล้ว

      เราสั่งซื้อของ​ coco peat grow ➕ สั่งในเพจได้เลย​ อย่าไปง้ออาจารย์​ขายฝันเลยครับ​ haha

  • @min202352
    @min202352 7 ปีที่แล้ว

    ผมว่างานวิจัยนี้ดีน่ะ แต่ไม่ค่อยดีก็ที่ท่านขายให้เอกชนไปทำการค้านี่แหละ น่าจะถ่ายทอดไปยังศูนย์การเรียนรู้ของแต่ละจังหวัด แต่ผลงานก็ยังเป็นชื่อท่าน ท่านจะขายก็ย่อมได้แต่อย่าลืมว่างานวิจัยจากมหาลัยเขามีทุนให้อยู่แล้วแทบทุกงานวิจัย งานวิจัยต่อให้ในนามมหาลัยแต่ชื่อเจ้าของหรือลิขสิทธ์จริงๆคือผู้ทำวิจัย

    • @orapatpb
      @orapatpb 6 ปีที่แล้ว

      อยากรู้ต้องลอง ไม่ใช่มองแล้วนินทา เอาภาษีของประชาชนมาวิจัย แล้วขายงาน ให้เอกชน น่าขำเนอะ

  • @Rungroses
    @Rungroses 8 ปีที่แล้ว +4

    ถ้าชาวบ้านต้องการความรู้ ไม่มีเงินคงหมดโอกาส ประเทศไทยให้เงินไปทำวิจัยเพื่อธุรกิจค่ะของเขาค่ะ / เกษตรกรไทยก็อดต่อไปนะคะ/ แล้ว ที่บอกไม่ต้องลงทุนมากอยากให้น้องๆ ถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกรไปถึงไหนหรือคะ รออยู่ค่ะ อยากทราบค่ะ แต่จบซะแล้ว

  • @nengmms5969
    @nengmms5969 8 ปีที่แล้ว +3

    ขายงานวิจัยให้นายทุน เพื่อ ??? เงินงัย ถ้าสอนให้เกษตรกร ก็ไม่ได้เงินงัย แล้วมาบอกเพื่อเกษตรกร ก็อ่ะนะ เค้าอุส่าวิจัยมา มันก็ต้องได้ค่าเหนื่อยกันบ้าง ก็อย่างว่า เมืองไทยเมืองเกษตร นายทุนก็หากินได้เรื่อยๆ

    • @min202352
      @min202352 7 ปีที่แล้ว +1

      งานวิจัยในมหาลัยรัฐ เขามีเงินทุนวิจัยให้อยู่แล้วครับสำหรับงานวิจัยของอาจารย์ แม้แต่งานวิจัยของเด็กป.ตรีเขายังสนับสนุนเงินวิจัยเลย(บางงานของนศป.ตรี)

    • @orapatpb
      @orapatpb 6 ปีที่แล้ว

      neng mms เห็น ด้วยค่ะ เสียดายสมองจริงๆ ทำเพื่อเงิน

  • @nawin121
    @nawin121 7 ปีที่แล้ว +6

    น�ำขุยมะพร้าวขนาดใหญ่และขนาดเล็กมาท�ำการ
    แยกหมักดังนี้ ใช้ขุยมะพร้าว 1 ลิตรผสมกับปุ๋ยสูตร
    46-0-0 14 กรัมแล้วรดด้วยน�้ำจุลินทรีย์ (พด.1) 350
    ลูกบาศก์เซ็นติเมตรต่อขุยมะพร้าว 1 ลิตร (น�้ำจุลินทร์
    ได้จากผงจุลินทรีย์ (พด.1) 100 กรัมต่อน�้ำ 20 ลิตร)
    แล้วท�ำการผสมให้เข้ากันจากนั้นท�ำการบรรจุลงถุง
    ตาข่ายขนาด 32 mesh แล้วน�ำไปวางลงในถัง ภายใน
    ร่มปิดด้วยสาแลน ท�ำการหมักเป็นเวลา 2 เดือน จาก
    นั้นล้างขุยมะพร้าวด้วยน�้ำสะอาดเพื่อลดความเค็มหรือ
    ค่าการน�ำไฟฟ้า (Electrical conductivity: EC) จนมี
    ค่าไม่เกิน 0.2 mS/cm แล้วตากในที่ร่มก่อนน�ำไป
    ทดสอบการงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้า

  • @dhumpaponpimdee884
    @dhumpaponpimdee884 3 ปีที่แล้ว

    เสียเวลาวะ

  • @bannamom
    @bannamom 8 ปีที่แล้ว +1

    คุณ olan ch เขาเรียกต่อยอดครับไม่ใช่ก๊อป
    ไม่อย่างนั้น รถยนต์ในตลาดคงมีแต่โตโยต้า แล้วครับ
    ฮอนด้า มาสด้า ฟอร์ด คงไม่ได้เกิด

  • @ยงผงธุลี
    @ยงผงธุลี 6 ปีที่แล้ว

    "

  • @namm611066
    @namm611066 ปีที่แล้ว

    แล้วไม่สอน ซะหน่อย ละครับ ว่าต้องทำยังไงบ้าง เงินวิจัย จากภาษี ประชาชน ควรถ่ายทอดให้ชาวบ้านจับต้องได้ ไม่ใช่ ไปขาย ให้บริษัท แล้วผลิตสินค้ามาขายให้ ปชช อีกต่อนึง ทำเเบบนี้ ก็เหมือนกับ ซื้อพีชมอส มาใช้อยู่ดี ปชช ไม่ได้ ลดต้นทุนการผลิต เลย

  • @mkmm1401
    @mkmm1401 5 ปีที่แล้ว +5

    ทุนวิจัยเป็นเงินภาษีของประชาชน​ คุณใช้ทุนวิจัย​จนสำเร็จ​ แล้วไม่เผยแพร่ให้ประชาชน​ แต่ไปขายให้เอกชน​ ขอให้กละบไปดูวัตถุประสงึ์ที่เขียนไว้.. ตอนขอทุนว้าเขียรไว้อน่างไร​ เสียแรงที่เรียนมา ได้ตำแหน่งมา​ แต่ไม่มีใจรับใช้ประชาชน​เลย

  • @ถนัดตัดพุดซา-ฒ7ผ
    @ถนัดตัดพุดซา-ฒ7ผ 3 ปีที่แล้ว +1

    นักวิชาเกินเพื่อนายทุน. เสียชื่อมหาวิทยาลัย​

  • @benznitinan9980
    @benznitinan9980 4 ปีที่แล้ว +2

    ผมคิดว่าจะนำมาเผยแพร่ให้ชาวบ้าน

  • @watsapolup3146
    @watsapolup3146 8 ปีที่แล้ว +9

    ทำไมไม่เผยแพร่วิธีทำให้เกษตรกรเลย ทำไมต้องให้ซื้อจากบริษัทที่ผลิตเพื่อการค้า

    • @ถนัดตัดพุดซา-ฒ7ผ
      @ถนัดตัดพุดซา-ฒ7ผ 3 ปีที่แล้ว

      ใช่เลยครับ. รับเงินเดือนจากภาษีประชาชน ทำงานรับใช้นายทุน หรือเปล่า แล้วเมื่อไหร่​เกษตรกร​จะเลิกเป็นทาสนายทุน

  • @pensrimaneekham7645
    @pensrimaneekham7645 6 ปีที่แล้ว +4

    สรุป เกษตรกรต้องหาวิธีทำดินเพาะเอง เพราะเขาวิจัยมาเพื่อขายให้นายทุนๆ ขายให้เกษตรกรอีกที

  • @kwanza7447
    @kwanza7447 4 ปีที่แล้ว +1

    ไม่มีการเเบ่งปันครับ วิจัยเพื่อขาย

  • @anna_1792
    @anna_1792 6 ปีที่แล้ว +4

    เงินวิจัยเป็นของปชช.แล้วทำไมไม่สอนให้เกษตรกรแต่กลับไปขายให้เอกชนน่าอายจริงๆ

  • @ทุเรียนนาคปูน
    @ทุเรียนนาคปูน 3 ปีที่แล้ว

    มาบอกเพื่อ..ไม่ได้ทำเพื่อเกษตรกรโดยตรง...คุนวิจัยมาแล้วทำขาย...ถ้าเพื่อนเกษตรกรจริงๆควรบอกสูตรสอนวิธิทำนะจ้ะ...เพื่อให้เกษตรลดต้นทุนจริงๆ👎

  • @YUI-ty4ht
    @YUI-ty4ht 6 ปีที่แล้ว +1

    งานวิจัยเค้ามีทุนให้นี่
    หลายมหาลัยเค้าเอางานวิจัย
    ไปเผยแพร่ให้ประชาชนทั่วไปฟรี

  • @mingza66thai88
    @mingza66thai88 8 ปีที่แล้ว +2

    ลองทำพีทมอส กับรากไฝ่ ดูคับ..ผมใช้ขุยมะพร้าว ในกอไฝ่.....

  • @toppdarukanprut2355
    @toppdarukanprut2355 5 ปีที่แล้ว

    ครับไม่ได้ความรู้อะไรเลยครับ งานวิจัยไปซะแล้ว 🙄🙄🙄

  • @panpanisa5739
    @panpanisa5739 7 ปีที่แล้ว

    ทำไม ไม่เผยแพร่เป็นสาธาณะ

  • @abhinuunmek1394
    @abhinuunmek1394 7 ปีที่แล้ว

    เป็นประโยชน์มากๆครับ

  • @อรัญญาออมสิน-บ1ฏ
    @อรัญญาออมสิน-บ1ฏ 7 ปีที่แล้ว

    หาซื้อได้ที่ไหนค่่ะ

  • @KT-rl9yb
    @KT-rl9yb 8 ปีที่แล้ว

    ศรีรังกาก็ทำมานานแล้ว. ทำไมถึงได้รับรางวัล

  • @onanongtippayachol5844
    @onanongtippayachol5844 7 ปีที่แล้ว

    อ่านแล้วยังไงก็ไม่เป็นโอกาสของเกษตรกรค่ะ ถ้าที่ม.ทำขายเองก็คงดรกว่าให้เอกชนมั่งคะ

  • @KT-rl9yb
    @KT-rl9yb 8 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ก็อบมาจากประเทศไหนมั้ยครับ

    • @Theechat
      @Theechat 6 ปีที่แล้ว

      พีทมอส จากขุยมะพร้าว