การจัดการโรค รากเน่า โคนเน่า : ไฟทอปธอรา (Phytophthora)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 5 ธ.ค. 2023
  • ชุดวีดีทัศน์ โรคพืชในทุเรียน มังคุด และการป้องกัน ตอนที่ 3
    การจัดการโรค รากเน่าโคนเน่า (Phytophthora)
    วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566
    ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช
    ภายใต้โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Science for AG-Premium Produce)
    โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566
    #โรคพืช #รากเน่าโคนเน่า #ไฟทอปธอรา #Phytophthora
    #ทุเรียนคุณภาพ
    #ทุเรียนใต้ #ทุเรียนนครศรีธรรมราช #ทุเรียนยะลา
    #ทุเรียนจันทบุรี
    #ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
    #มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    #ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
    #สำนักงานเกษตรจังหวัดนครศรีธรรมราช
    #สำนักงานเกษตรอำเภอ#สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
    #กระทรวงการอุดมศึกษา
    #กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 7

  • @user-uq9my8np1v
    @user-uq9my8np1v 3 หลายเดือนก่อน +1

    สุดยอดครับ ข้อมูลดีมากครับผม

  • @sammygarden
    @sammygarden 6 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ ค่ะ

  • @aphidier
    @aphidier 6 หลายเดือนก่อน +2

    เทอราโซล เป็นสาร อีไตรไดอะโซล
    เทอราคลอร์ สาร อีไตรไดอะโซล+ควินโตซีน
    ทำไมกลไกต่างกัน

    • @anakill3294
      @anakill3294 6 หลายเดือนก่อน +2

      เป็นสารกลุ่มเดียวกันครับ กลไกน่าจะใกล้เคียงกัน สงสัยเหมือนกันครับ 😅

    • @aphidier
      @aphidier 6 หลายเดือนก่อน

      น่าจะข้อมูลคลาดเคลื่อน ตัวอื่น อจ.บอกเป็นชื่อสามัญ มีสองตัวนี้บอกเป็นชื่อการค้า แถมแยกหัวข้อกันอธิบาย

    • @CABKUChannel
      @CABKUChannel  6 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณที่ติดตามรับชม และสอบถามข้อสงสัย
      ทางศูนย์ฯ ได้ประสานงานแจ้งข้อสงสัยให้วิทยากรบรรยายแล้วครับ

    • @supholdech1
      @supholdech1 2 หลายเดือนก่อน

      ​@@CABKUChannel อาจารย์ ท่าน บอกว่า อย่างไร ครับ