ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
กฏหมายประเทศนี้บังคับใช้ไม่ได้ สักที ต่างประเทศไปหาหมอจ่ายยาไม่ได้นะ ไปร้านยาถึงได้ยา ประเทศไทยเข้าถึงยาง่าย สะดวกกว่าเยอะ
งดพาดหัวให้มันน่ากลัวเถอะครับใจเย็นๆนะครับ สองฝ่ายเขาต่างมีเหตุผลส่วนตัวผมการที่เขาให้ไปเอายาที่เภสัช คนไข้ก็ต้องประเมินตัวเองว่าเราจะเสี่ยงแพ้ยาไหม หากเสี่ยงก็ไปคลินิค ไปรพ. ส่วนคุณเภสัชบางท่านก็ไม่เสี่ยงจ่ายยาให้คุณหรอกครับ มีแต่จะบอกให้คุณพบแพทย์โดยด่วน ผมใช้สิทธิฯ พบคุณเภสัช ท่านก็ซักประวัติโรคแล้วหากประเมินว่า ควรพบแพทย์เขาก็ไม่จ่ายยาซี้ซั้วหรอกครับ มืออาชีพเขารู้หรอกครับเรื่องนี้ ส่วนสตรีเกี่ยวกับภายใน คุณเภสัชยิ่งไม่จ่ายครับ แนะนำพบแพทย์เท่านั้น สองพี่น้องสธ. ก็อย่าฟ้องให้เครียดเลยครับ เรานึกถึงตอนสงครามโรคระบาดมากๆ นะครับ เวลานั้นทุกคนต้องเสียสละชีวิตเพื่อส่วนรวมกันมาแล้ว หากยังมีชีวิตรอดมาได้ทำจิตใจให้มีสุขสงบ สร้างคุณประโยชน์กันไว้นะครับ จะมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นอีกหรือป่าวก็สามัคคีกันไว้นะครับ (หวังดีครับในฐานะประชาชน)
เคยไปรักษาระดับศิริราชคุณหมอตรวจต่อคนน่าจะไม่เกิน 3 นาทีคุณคิดดูสมองคุณหมอเคยไปขายใบยาสูบเป็นหัวหน้าใหญ่ที่รับซื้อใบยาของโรงบ่มใบยาสูบเหงื่อแกนี่แตกท่วมตัวทั้งที่คนยืนรอบข้างเป็น 10กลับเป็นคนที่ไม่มีเหงื่อไหลเพราะกำไรขาดทุนของโรงงานใบยาสูบเป็นคนที่ถูกกำหนดโดยคนคนนี้ถ้ากดแม่ก็สงสารชาวไร่ใบยาสูบแสดงว่าสภาพจิตใจมนุษย์ก็คงวุ่นวาย
😮อึ้งงง!!
ร้านยาอบอุ่นโครงการดีครับ ผมเชียร์ดีกว่าให้คนไปรอ มีใครเสียประโยชน์ไหมครับ555 ประชาชนได้ประโยชน์
หมออินเทิร์น แห่ลาออก ไม่แก้ปัญหา หมอนักบริหาร เพิ่มปัญหาอีก พวกหมอที่ไม่ลงตรวจในกระทรวงพวกเดียวกัน😅😅😅
ต่างประเทศ บางประเทศ ผู้ป่วยไปร้านขายยาต้องมีใบสั่งยาเท่านั้น และโรงพยาบาลไม่จ่ายยาให้ เป็นความรับผิดชอบของผู้ป่วยต้องซื้อยากินเอง รู้โรค รู้ยา จำขนาดยาและกินเวลากี่ครั้ง ทำให้เจ้าหน้าที่ทำงานง่ายขึ้น ซักประวัติตรงประเด็น
อย่าขัดแย้งกันเลย แค่กำหนดชัดเจนว่ายาชนิดเถสัชจ่ายได้ ยาชนิดใดต้องมีใบสั่งแพทย์ คนที่ต้องกินยาประจำต่อเนื่องรับยาได้เลย แต่ต่างด้าวเต็มรพ.ยังเหลือแรงมสทะเลาะกับวิชาชีพตัวเองอีก หมอเก่งอยู่แล้ว แต่เก่งคนเดียวเหนื่อยนะหมอ
มีความรู้กันทั้งนั้น..ทำไมไม่ปองดองกัน..ศึกษาข้อดีข้อเสียเพื่อประโยชน์ของประชาชนจริงๆ
สาธารณสุข ชอบให้บุคคลากรสายอื่น ทำงานแบบหรือแทนแพทย์ได้มีผู้ป่วยเสียชีวิตมากขึ้นแบบไม่ได้วิเคราะห์สาเหตุเมื่อ สปสช ให้เภสัชทำหน้าที่แทนแพทย์ ก็จะมีปัญหาอื่นๆตามมาได้ อดีตปกติเภสัชทำแบบเกินขอบเขต เช่นจ่ายยาบางตัวที่ปกติควรผ่านแพทย์หรือยาควบคุมทราบว่าไม่ถูกต้องแต่ก็ทำอยู่แบบเงียบตอนนี้ สปสช. มารับรองว่าการทำที่ไม่ถูกต้องเช่นนั้นถูกกฏหมายแพทยสภาก็ต้องออกมาปกป้องไม่ให้คนทีไม่ใช่แพทย์มาทำหน้าที่แทนแพทย์แก้ปัญหาคือเภสัชจ่ายยาได้ แต่ยาที่จ่ายต้องเป็นยาที่ไม่อันตรายหรือไม่ควบคุม เพราะถ้าให้ไม่ถูกบนพื้นฐานที่วินิจฉัยโรคผิดยาอาจไปบดบังอาการที่ร้ายแรงและทำให้เกิดล่าช้าในการรักษาได้สาขาอื่นมีทำหน้าที่แทนแพทย์มากมายใน กระทรวงสาธารสุข ควรควบคุมสาขาอื่นให้ได้มาตรฐานทางการแพทย์เช่นกัน
โถถ พิมซะยาว คุณดูขาดความเข้าใจและความรู้จริง ถ้าตั้งคำถามแบบคุณพยาบาลฉีดยาทำแทนแพทย์ใช่มะ ? แล้ว การจ่ายยาพอขึ้นชื่อว่ายาคนจ่ายควรเป็นเภสัชนะคุณ หัดไปดูมาตรฐานสากลนะคุณ มาเขียนซะยาว เหมือนโชร์โง่ เล่นเน็ตได้ก็ลองหาอะไรอ่านมาตรฐานชาวโลกนะคุณ อย่ามั่วแต่เปนชาวบ้าน
เหมือนยาที่จ่าย จะเปนยาสามัญน่ะส่วนมาก อีกข้อตอนแรกถ้าไม่ควรทำ นายก แพทยสภา ไม่บอกฟ่ะ
@@charupornpromwong2888 แพทย์ก็ทำเกินหน้าที่ค่ะ เพราะเเพทย์ก็จ่ายยาแทนเภสัชเช่นกัน
เกย์ทหารไปรบที่เป็นสนามสงครามทำไมเอาทหารเสนารักษ์ความรู้แค่หางอึ่งทีอย่างนี้ทำไมทำได้บังเอิญญาติกันเป็นแค่ผู้ช่วยจะเรียกว่าเก่งกว่าแพทย์ก็ได้เคยทำมาแล้วแต่ผิดไหมผิดแกทำได้
คนไข้ได้ยาฟรี โดยไม่ต้องตื่นแต่เช้ามืด แถมยาดีมีคุณภาพต่างกับคลีนิคห้องแถวทั่วไป😢😮
ชอบของฟรี ยาไม่ใช่ขนมครับ
ดูถูกคลินิกครับ อย่างน้อยเค้าก็จบมาเพื่อดูแลคนไข้โดยตรง คิดว่ากินยาตามร้านไม่หายหรือตาย ใครรับผิดชอบครับ
ไปคลิินิค เอกชน กลับมาก้อตายครับ ไป รพ ก้อตายครับ จะบอกว่า ถ้าแพทย์ กลัววินิฉัยไม่ดี หาวิธีลดคนเข้า รพ ก่แนดีมั้ย
สปสช ความรู้ทางการแพทย์ส่งคืนอาจารย์หมดแล้ว คิดได้ไงว่าแค่ถามๆอาการแล้วจะให้การรักษาถูกต้องปรับวิธีการใหม่ คิดโครงการเหมือนจะดูดีแต่ดันทำผิดกฏหมายทางการแพทย์
ประทานโทษนะคะ คอมเมนต์แบบนี้เคยเข้ารับบริการโรงพยาบาลรัฐบ้างไหมคะ? เวลาพบแพทย์เขาก็ซักประวัติเหมือนที่เภสัชร้านยาทำนี่แหละค่า ไม่ใช่ทุกเคสที่จะได้รับการตรวจ lab ไม่งั้นถ้าตามที่คุณพูดมา ถ้ามีคนไข้ปวดหัว ส่ง CT scan หรือปวดท้องต้อง Ultrasound, X-ray,ตรวจเลือดทุกรายล่ะก็ workload ของแพทย์ก็จะเยอะเกินไป อีกอย่างนะคะ โครงการ CI เขาก็ระบุไว้ชัดว่า “อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย” ซึ่งก็เป็นทางเลือกให้คนไข้มารับบริการยาได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย เพราะไปโรงพยาบาลก็ต้องรอนานมาก ให้เวลาแพทย์เขาได้โฟกัสกับเคสที่ยากๆ ดีกว่า เภสัชกรเขาก็ร่ำเรียนเรื่องยามา 6ปีค่ะ เรื่องโรคเขาก็รู้ว่าอาการแบบไหนที่เป็น red flag sign ต้องส่งต่อแพทย์ การซักประวัตินี้มันก็ไม่ได้ก้าวล่วงวิชาชีพของแพทย์ เพราะเป็นการให้บริบาลทางเภสัชกรรม ทำมานานแล้วตามพระราชบัญญัติยา เพื่อเลือกยาให้เหมาะกับคนไข้ มันไม่ได้ผิดกฏหมายแต่อย่างใดค่ะ ถ้าให้แยกบทบาทหน้าที่ชัดเจน แพทย์ก็ต้องห้ามจ่ายยาค่ะ ให้มีระบบ prescription ไปเลยจบๆ จะได้ไม่มีใครล้ำเส้นใคร เข้าใจนะคะ
แค่พูดอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ก็หมายความว่าไม่คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วครับ ใครควรเป็นคนประเมินครับว่าเล็กน้อย วัดดวงเอาละกัน ความเร็วสะดวกไม่ได้แปลว่าดีครับ
ถ้าสนับสนุนขนาดนี้ ควรดูแลตัวเองไปเลยครับ ไม่ควรพบแพทย์เลยครับ ถ้ามองลบขนาดนั้น เราควรยกระดับการดูแล ไม่ใช่ลดเกรดการดูแล
รักษาพม่ามาตราฐานสูง รักษาคนไทยไปพบร้านขายยา
@@thitithammasorn9520 ทราบได้ยังไงคะว่า ไม่คำนึงถึงความปลอดภัย บุคลากรทางการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นแพทย์เอง เภสัช หรือพยาบาล เขาก็พอประเมินอาการเบื้องต้นได้ค่ะ
เภสัชเค้าก็ไม่ได้จ่ายยามั่วนะ เค้าถามอายุ น้ำหนัก มีแพ้ยาไหม ไปหาหมอมารึยัง มีไข้ปวดหัว ไปโรงพยาบาลเข้าคิวแต่เช้ามืด นั่งรอจนตรวจเสร็จ พบหมอประมานไม่เกิน 2 นาที เวลา เกือบเที่ยง สุดท้ายได้พารา คลอเฟ คิดว่าเราควรเสียเวลาขนาดนั้นไหม จริงๆแล้วร้านขายยาก็มีมาตั้งแต่เราเกิดแล้ว หลายสิบปีแล้ว
ทำผิดกฎหมายต้องได้รับโทษครับ
👍👍👍🏴
รักกันได้ไม เพราะพวกคุณมีความสำคัญทั้งคู่
ต้นตอมันอยู่ที่จะเอาสะดวกทุกอย่าง ยามันวิเศษมากก็ไม่ต้องมีหมอ มีเภสัชหรอก ตั้งโต๊ะแจกยาไปเลย กินแล้วเป็นไงก็รับผิดชอบกันเอง
สปสช ทำตัวเหมือนรัฐบาลอำนาจอยู่ในมือ แต่ทำงานไม่รอบครอบ คิดเรื่องแบบนี้ออกมาทำไมไม่ประชุมให้เบ็ดเสร็จ ทั้งฝ่ายเภสัช ฝ่ายแพทย์ แต่แรก ก่อนเข็นโครงการออกมาสปสช แย่มาก
ต่างประเทศถ้าจะซื้อยาต้องให้หมอออกใบสั่งยาให้นี่เภสัชไม่ได้เก่งขนากนั้นช่ะ😂
ยาสเตียรอยด์แบบกินที่ไทยก็ต้องมีใบสั่งจากแพทย์ถึงจะจ่ายได้ค่ะ
กฏหมายประเทศนี้บังคับใช้ไม่ได้ สักที ต่างประเทศไปหาหมอจ่ายยาไม่ได้นะ
ไปร้านยาถึงได้ยา
ประเทศไทยเข้าถึงยาง่าย สะดวกกว่าเยอะ
งดพาดหัวให้มันน่ากลัวเถอะครับ
ใจเย็นๆนะครับ สองฝ่ายเขาต่างมีเหตุผล
ส่วนตัวผม
การที่เขาให้ไปเอายาที่เภสัช คนไข้ก็ต้องประเมินตัวเองว่าเราจะเสี่ยงแพ้ยาไหม หากเสี่ยงก็ไปคลินิค ไปรพ. ส่วนคุณเภสัชบางท่านก็ไม่เสี่ยงจ่ายยาให้คุณหรอกครับ มีแต่จะบอกให้คุณพบแพทย์โดยด่วน ผมใช้สิทธิฯ พบคุณเภสัช ท่านก็ซักประวัติโรคแล้วหากประเมินว่า ควรพบแพทย์เขาก็ไม่จ่ายยาซี้ซั้วหรอกครับ มืออาชีพเขารู้หรอกครับเรื่องนี้ ส่วนสตรีเกี่ยวกับภายใน คุณเภสัชยิ่งไม่จ่ายครับ แนะนำพบแพทย์เท่านั้น สองพี่น้องสธ. ก็อย่าฟ้องให้เครียดเลยครับ เรานึกถึงตอนสงครามโรคระบาดมากๆ นะครับ เวลานั้นทุกคนต้องเสียสละชีวิตเพื่อส่วนรวมกันมาแล้ว หากยังมีชีวิตรอดมาได้ทำจิตใจให้มีสุขสงบ สร้างคุณประโยชน์กันไว้นะครับ จะมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นอีกหรือป่าวก็สามัคคีกันไว้นะครับ (หวังดีครับในฐานะประชาชน)
เคยไปรักษาระดับศิริราชคุณหมอตรวจต่อคนน่าจะไม่เกิน 3 นาทีคุณคิดดูสมองคุณหมอเคยไปขายใบยาสูบเป็นหัวหน้าใหญ่ที่รับซื้อใบยาของโรงบ่มใบยาสูบเหงื่อแกนี่แตกท่วมตัวทั้งที่คนยืนรอบข้างเป็น 10กลับเป็นคนที่ไม่มีเหงื่อไหลเพราะกำไรขาดทุนของโรงงานใบยาสูบเป็นคนที่ถูกกำหนดโดยคนคนนี้ถ้ากดแม่ก็สงสารชาวไร่ใบยาสูบแสดงว่าสภาพจิตใจมนุษย์ก็คงวุ่นวาย
😮อึ้งงง!!
ร้านยาอบอุ่นโครงการดีครับ ผมเชียร์ดีกว่าให้คนไปรอ มีใครเสียประโยชน์ไหมครับ555 ประชาชนได้ประโยชน์
หมออินเทิร์น แห่ลาออก ไม่แก้ปัญหา หมอนักบริหาร เพิ่มปัญหาอีก พวกหมอที่ไม่ลงตรวจในกระทรวงพวกเดียวกัน😅😅😅
ต่างประเทศ บางประเทศ ผู้ป่วยไปร้านขายยาต้องมีใบสั่งยาเท่านั้น และโรงพยาบาลไม่จ่ายยาให้ เป็นความรับผิดชอบของผู้ป่วยต้องซื้อยากินเอง รู้โรค รู้ยา จำขนาดยาและกินเวลากี่ครั้ง ทำให้เจ้าหน้าที่ทำงานง่ายขึ้น ซักประวัติตรงประเด็น
อย่าขัดแย้งกันเลย แค่กำหนดชัดเจนว่ายาชนิดเถสัชจ่ายได้ ยาชนิดใดต้องมีใบสั่งแพทย์ คนที่ต้องกินยาประจำต่อเนื่องรับยาได้เลย แต่ต่างด้าวเต็มรพ.ยังเหลือแรงมสทะเลาะกับวิชาชีพตัวเองอีก หมอเก่งอยู่แล้ว แต่เก่งคนเดียวเหนื่อยนะหมอ
มีความรู้กันทั้งนั้น..
ทำไมไม่ปองดองกัน..ศึกษาข้อดีข้อเสียเพื่อประโยชน์ของประชาชนจริงๆ
สาธารณสุข ชอบให้บุคคลากรสายอื่น ทำงานแบบหรือแทนแพทย์
ได้มีผู้ป่วยเสียชีวิตมากขึ้นแบบไม่ได้วิเคราะห์สาเหตุ
เมื่อ สปสช ให้เภสัชทำหน้าที่แทนแพทย์ ก็จะมีปัญหาอื่นๆตามมาได้
อดีตปกติเภสัชทำแบบเกินขอบเขต เช่นจ่ายยาบางตัวที่ปกติควรผ่านแพทย์หรือยาควบคุมทราบว่าไม่ถูกต้องแต่ก็ทำอยู่แบบเงียบ
ตอนนี้ สปสช. มารับรองว่าการทำที่ไม่ถูกต้องเช่นนั้นถูกกฏหมาย
แพทยสภาก็ต้องออกมาปกป้องไม่ให้คนทีไม่ใช่แพทย์มาทำหน้าที่แทนแพทย์
แก้ปัญหาคือเภสัชจ่ายยาได้ แต่ยาที่จ่ายต้องเป็นยาที่ไม่อันตรายหรือไม่ควบคุม เพราะถ้าให้ไม่ถูกบนพื้นฐานที่วินิจฉัยโรคผิด
ยาอาจไปบดบังอาการที่ร้ายแรงและทำให้เกิดล่าช้าในการรักษาได้
สาขาอื่นมีทำหน้าที่แทนแพทย์มากมายใน กระทรวงสาธารสุข ควรควบคุมสาขาอื่นให้ได้มาตรฐานทางการแพทย์เช่นกัน
โถถ พิมซะยาว คุณดูขาดความเข้าใจและความรู้จริง ถ้าตั้งคำถามแบบคุณพยาบาลฉีดยาทำแทนแพทย์ใช่มะ ? แล้ว การจ่ายยาพอขึ้นชื่อว่ายาคนจ่ายควรเป็นเภสัชนะคุณ หัดไปดูมาตรฐานสากลนะคุณ มาเขียนซะยาว เหมือนโชร์โง่ เล่นเน็ตได้ก็ลองหาอะไรอ่านมาตรฐานชาวโลกนะคุณ อย่ามั่วแต่เปนชาวบ้าน
เหมือนยาที่จ่าย จะเปนยาสามัญน่ะส่วนมาก
อีกข้อตอนแรกถ้าไม่ควรทำ นายก แพทยสภา ไม่บอกฟ่ะ
@@charupornpromwong2888 แพทย์ก็ทำเกินหน้าที่ค่ะ เพราะเเพทย์ก็จ่ายยาแทนเภสัชเช่นกัน
เกย์ทหารไปรบที่เป็นสนามสงครามทำไมเอาทหารเสนารักษ์ความรู้แค่หางอึ่งทีอย่างนี้ทำไมทำได้บังเอิญญาติกันเป็นแค่ผู้ช่วยจะเรียกว่าเก่งกว่าแพทย์ก็ได้เคยทำมาแล้วแต่ผิดไหมผิดแกทำได้
คนไข้ได้ยาฟรี โดยไม่ต้องตื่นแต่เช้ามืด แถมยาดีมีคุณภาพต่างกับคลีนิคห้องแถวทั่วไป😢😮
ชอบของฟรี ยาไม่ใช่ขนมครับ
ดูถูกคลินิกครับ อย่างน้อยเค้าก็จบมาเพื่อดูแลคนไข้โดยตรง คิดว่ากินยาตามร้านไม่หายหรือตาย ใครรับผิดชอบครับ
ไปคลิินิค เอกชน กลับมาก้อตายครับ ไป รพ ก้อตายครับ จะบอกว่า ถ้าแพทย์ กลัววินิฉัยไม่ดี หาวิธีลดคนเข้า รพ ก่แนดีมั้ย
สปสช ความรู้ทางการแพทย์ส่งคืนอาจารย์หมดแล้ว คิดได้ไงว่าแค่ถามๆอาการแล้วจะให้การรักษาถูกต้อง
ปรับวิธีการใหม่
คิดโครงการเหมือนจะดูดีแต่ดันทำผิดกฏหมายทางการแพทย์
ประทานโทษนะคะ คอมเมนต์แบบนี้เคยเข้ารับบริการโรงพยาบาลรัฐบ้างไหมคะ? เวลาพบแพทย์เขาก็ซักประวัติเหมือนที่เภสัชร้านยาทำนี่แหละค่า ไม่ใช่ทุกเคสที่จะได้รับการตรวจ lab ไม่งั้นถ้าตามที่คุณพูดมา ถ้ามีคนไข้ปวดหัว ส่ง CT scan หรือปวดท้องต้อง Ultrasound, X-ray,ตรวจเลือดทุกรายล่ะก็ workload ของแพทย์ก็จะเยอะเกินไป อีกอย่างนะคะ โครงการ CI เขาก็ระบุไว้ชัดว่า “อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย” ซึ่งก็เป็นทางเลือกให้คนไข้มารับบริการยาได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย เพราะไปโรงพยาบาลก็ต้องรอนานมาก ให้เวลาแพทย์เขาได้โฟกัสกับเคสที่ยากๆ ดีกว่า เภสัชกรเขาก็ร่ำเรียนเรื่องยามา 6ปีค่ะ เรื่องโรคเขาก็รู้ว่าอาการแบบไหนที่เป็น red flag sign ต้องส่งต่อแพทย์ การซักประวัตินี้มันก็ไม่ได้ก้าวล่วงวิชาชีพของแพทย์ เพราะเป็นการให้บริบาลทางเภสัชกรรม ทำมานานแล้วตามพระราชบัญญัติยา เพื่อเลือกยาให้เหมาะกับคนไข้ มันไม่ได้ผิดกฏหมายแต่อย่างใดค่ะ ถ้าให้แยกบทบาทหน้าที่ชัดเจน แพทย์ก็ต้องห้ามจ่ายยาค่ะ ให้มีระบบ prescription ไปเลยจบๆ จะได้ไม่มีใครล้ำเส้นใคร เข้าใจนะคะ
แค่พูดอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ก็หมายความว่าไม่คำนึงถึงความปลอดภัยแล้วครับ ใครควรเป็นคนประเมินครับว่าเล็กน้อย วัดดวงเอาละกัน ความเร็วสะดวกไม่ได้แปลว่าดีครับ
ถ้าสนับสนุนขนาดนี้ ควรดูแลตัวเองไปเลยครับ ไม่ควรพบแพทย์เลยครับ ถ้ามองลบขนาดนั้น เราควรยกระดับการดูแล ไม่ใช่ลดเกรดการดูแล
รักษาพม่ามาตราฐานสูง รักษาคนไทยไปพบร้านขายยา
@@thitithammasorn9520 ทราบได้ยังไงคะว่า ไม่คำนึงถึงความปลอดภัย บุคลากรทางการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นแพทย์เอง เภสัช หรือพยาบาล เขาก็พอประเมินอาการเบื้องต้นได้ค่ะ
เภสัชเค้าก็ไม่ได้จ่ายยามั่วนะ เค้าถามอายุ น้ำหนัก มีแพ้ยาไหม ไปหาหมอมารึยัง มีไข้ปวดหัว ไปโรงพยาบาลเข้าคิวแต่เช้ามืด นั่งรอจนตรวจเสร็จ พบหมอประมานไม่เกิน 2 นาที เวลา เกือบเที่ยง สุดท้ายได้พารา คลอเฟ คิดว่าเราควรเสียเวลาขนาดนั้นไหม จริงๆแล้วร้านขายยาก็มีมาตั้งแต่เราเกิดแล้ว หลายสิบปีแล้ว
ทำผิดกฎหมายต้องได้รับโทษครับ
👍👍👍🏴
รักกันได้ไม เพราะพวกคุณมีความสำคัญทั้งคู่
ต้นตอมันอยู่ที่จะเอาสะดวกทุกอย่าง ยามันวิเศษมากก็ไม่ต้องมีหมอ มีเภสัชหรอก ตั้งโต๊ะแจกยาไปเลย กินแล้วเป็นไงก็รับผิดชอบกันเอง
สปสช ทำตัวเหมือนรัฐบาล
อำนาจอยู่ในมือ แต่ทำงานไม่รอบครอบ คิดเรื่องแบบนี้ออกมา
ทำไมไม่ประชุมให้เบ็ดเสร็จ ทั้งฝ่ายเภสัช ฝ่ายแพทย์ แต่แรก ก่อนเข็นโครงการออกมา
สปสช แย่มาก
ต่างประเทศถ้าจะซื้อยาต้องให้หมอออกใบสั่งยาให้นี่เภสัชไม่ได้เก่งขนากนั้นช่ะ😂
ยาสเตียรอยด์แบบกินที่ไทยก็ต้องมีใบสั่งจากแพทย์ถึงจะจ่ายได้ค่ะ