การสาธิตการแต่งกายชุดสมัยอยุธยา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 13 ต.ค. 2024
  • การสาธิตการแต่งกายชุดสมัยอยุธยา
    การแต่งกายของสมัยอยุธยามีการเปลี่ยนแปลงตามเหตุการณ์บ้านเมือง ซึ่งมี 3 แบบ ดังนี้
    1. การแต่งกายแบบชาวบ้าน ผู้ชายอาจไว้ผมทรงมหากไทย สวมเสื้อผ่าอกติดกระดุม นุ่งโจงกระเบนสีพื้น ผู้หญิงยังคงไว้ผมยาวนิยมห่มสไบนุ่งโจงกระเบนสรพื้น
    2.การแต่งกายตามกฎมณเฑียรบาล เป็นแบบของเจ้านาย ข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ ทั้ง ผู้ชายและผู้หญิงตลอดจนพวกมีฐานะจะแต่งตามไปด้วย ผู้หญิงยังมีการเกล้ามวยอยู่ ส่วนผู้ชายไว้ผมทรงมหาดไทย
    3. ยุคสงคราม ทั้งผู้ชายและผู้หญิงต้องช่วยกันต่อสู้กับศัตรู ผู้หญิงตัดผมสั้น ลง เพื่อปลอมเป็นผู้ชาย และสะดวกในการหลบหนี เสื้อผ้าอาภรณ์จึงตัดทอน ไม่ให้รุ่มร่าม เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนที่และเคลื่อนไหว มีการห่มผ้าตะเบงมานคือห่มไขว้กัน บริเวณหน้าอกแล้วรวบไปผูกไว้หลังคอ ส่วนผู้ชายไม่มีการเปลี่ยนแปลง
    ผู้จัดทำ
    1.นายพงษ์พันธ์ หลังมี
    2.นายธนกร ชอบสวย
    3.นางสาวชลดา สุโข
    4.นางสาวกมลชนก จำปาทิพย์
    ผู้แสดง
    1.ชุดชาวบ้าน
    นาย ศรัณญพงศ์ อินจ๊อด
    นางสาว เลิศฤทัย เสาะแสวง
    2.ชุดตามกฎมณเทียรบาล
    นาย ปฐมฤกษ์ ทรัพย์สถิตย์
    นาย นรากานต จีนศรี
    นายพงศ์ภากร เกิดสมจิตต์
    นางสาว แอนนิต้า คัมบินิ
    3.ชุดยุคสงคราม
    นาย ศรัณญพงศ์ อินจ๊อด
    นางสาว เลิศฤทัย เสาะแสวง
    อาจารย์ผู้สอน
    อาจารย์ศิรดา พานิชอำนวย
    อาจารย์ณัฐนันท์ จันนินวงศ์
    ประกอบในรายวิชา การแต่งกายสำหรับการแสดง 07211003 สาขานาฏศิลป์ไทยศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ความคิดเห็น •