ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
คุณพลอยคะ ขอบคุณเรื่องให้คำแนะนำการกรอค่ะ เริ่มมีทิศทางการกรอจากคุณพลอยค่ะ (มือซ้ายแบบว่าเลยยังไม่ได้ค่ะ) แล้วการสะบัด ให้ความรู้เป็นวิทยาทานด้วยค่ะ
การสบัดนั้น ถ้าดูในโน้ตทั่วๆไป นั้นคือโน้ตสามตัว ที่มีเครื่องหมายโค้งๆครอบอยุ่ทั้งสามตัวใช่ไหมค่ะดังนั้นเมื่อเห็นเรื่องหมายนี้ ก็ให้ตีความว่าเป็นการสบัด และการสบัดนั้น โน้ตตัวแรกจะขึ้นด้วยมือขวาเสมอ จากนั้นก็เรียงสลับกัยไป เช่น ถ้ามีโน้ตในเครื่องหมานสบัด ว่า ดรม ก็คือ ด=ขวา ร=ซ้าย ม=ขวา ไม่ว่าโน้ตด้านหน้าจะจบมาด้วยมืออะไร แต่ถ้าตัวต่อไปเป็นการสบัดก็ให้ใช่มือขวาเริ่ทเสมอค่ะอีกส่วนคือสไตล์ในการสบัด จะมีใหญ่ๆสองแบบคือ สบัดห่างกับสบัดรวบ สบัดห่างคือ โน้ตทั้งสามตัวและโน้ตด้านหน้ากับด้านหลัง การสบัด มีระยะห่างพอๆกัน ส่วนสบัดรวบ คือ จะมีการเว้นระยะจังหวะ จากด้านหน้า แล้วสบัดโน้ตทั้งสามตัวให้เร็วชิดกัน จากนั้นเว้นระยะเล็กน้อย แล้วค่อยเริ่มโน้ตตัวต่อไป...ทั้งสองแบบนั้นขึ้นอยู่กับความถนัดของแต่ละบุคคลค่ะ สำหรับพลอย ใช้ทั้งคู่ แต่จะดูตามลักษณะเพลง หรือแนวความเร็วในการบรรเลง ให้เหมาะสมกันค่ะ
ชอบเพลงนี้มากค่ะ ดีใจที่ได้ฟังคุณพลอยเล่นค่ะ
เพราะจังเลย/ทำอย่าไรตีกรอใด้ถี่ยิบ
อยากให้เน้นไปที่ความสม่ำเสมอก่อนนะคะ...คือทั้งสองมือ ควรมีน้ำหนักเสียงเท่ากัน ถ้าซ้ายยังไม่ดีเท่าขวา หรือมือข้างที่ไม่ถนัด ยังไม่สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วเท่ากับมือที่ถนัด ก็ให้แก้ไขจุดนั้นก่อนค่ะ...อาจจะต้องไปใช้มือที่ไม่ถนัดทำกิจกรรมมาขึ้น เช่นจับช้อนกินข้าว จับตะเกียบ หรือกิจกรรมใดๆที่ฝึกกล้ามเนื้อให้มันพัฒนาขึ้นค่ะ....พอน้ำหนักการลงไม้ทั้งสองมือเท่ากัน มันจะฟังดีขึ้นค่ะ...อีกส่วนหนึ่งก็คือช่องไฟของการลงไม้ทั้งสองข้างค่ะ..ต้องแบ่งช่องให้เท่าๆกัน เริ่มฝึกจากตีเก็บช้าๆไปก่อนค่ะ แบ่งช่องไฟให้เท่าๆกัน เชคน้ำหนักเสียงทั้งสองข้าง ระดับความสูงไม้...ค่อยๆทำไป พอระดับความเร็วนี้ทำได้ดี ก็ค่อยๆเร่งขึ้น ทีละนิดๆนะคะ เร่งขึ้นแล้วก็ค่อยๆเชคเหมือนเดิมค่ะ...ทำอย่างนี้ค่อยๆทำวนไป...เวลามากน้อยก็แล้วแต่กล้ามเนื้อมือต่างๆจะชินและก็ความรู้สึกของผู้เล่นเองค่ะ...*การกรอที่ดีคือการที่ช่องไฟและน้ำหนักเสียงเท่ากันสม่ำเสมอนะคะ...ไม่จำเป็นต้องละเอียด...แต่ถ้าความเร็วสามารถควบคุมได้ ก็จะได้เรื่องความละเอียดเข้ามา ก็อาจจะเพราะขึ้น....ช่วงแรกๆไม่ต้องกังวลเรื่องความละเอียดนะคะ...เน้นที่ความสม่ำเสมอทั้งสองอย่างจะดีกว่า....เอาใจช่วยนะคะ....ได้ผลอย่างไรกลับมาเล่าให้ฟังบ้างนะคะ รึว่าถ้ามีวิธีอื่นที่ลองทำแล้วได้ผลก็มาแลกเปลี่ยนกันก็ได้นะคะ.... อ้อ...ขวาลงก่อนเสมอ และจบด้วยซ้ายนะคะ...เป็นหลักการทางด้านเสียงนิดหนึ่งค่ะ...
คุณพลอยคะ ขอบคุณเรื่องให้คำแนะนำการกรอค่ะ เริ่มมีทิศทางการกรอจากคุณพลอยค่ะ (มือซ้ายแบบว่าเลยยังไม่ได้ค่ะ) แล้วการสะบัด ให้ความรู้เป็นวิทยาทานด้วยค่ะ
การสบัดนั้น ถ้าดูในโน้ตทั่วๆไป นั้นคือโน้ตสามตัว ที่มีเครื่องหมายโค้งๆครอบอยุ่ทั้งสามตัวใช่ไหมค่ะ
ดังนั้นเมื่อเห็นเรื่องหมายนี้ ก็ให้ตีความว่าเป็นการสบัด และการสบัดนั้น โน้ตตัวแรกจะขึ้นด้วยมือขวาเสมอ จากนั้นก็เรียงสลับกัยไป เช่น ถ้ามีโน้ตในเครื่องหมานสบัด ว่า ดรม ก็คือ ด=ขวา ร=ซ้าย ม=ขวา
ไม่ว่าโน้ตด้านหน้าจะจบมาด้วยมืออะไร แต่ถ้าตัวต่อไปเป็นการสบัดก็ให้ใช่มือขวาเริ่ทเสมอค่ะ
อีกส่วนคือสไตล์ในการสบัด จะมีใหญ่ๆสองแบบคือ สบัดห่างกับสบัดรวบ สบัดห่างคือ โน้ตทั้งสามตัวและโน้ตด้านหน้ากับด้านหลัง การสบัด มีระยะห่างพอๆกัน ส่วนสบัดรวบ คือ จะมีการเว้นระยะจังหวะ จากด้านหน้า แล้วสบัดโน้ตทั้งสามตัวให้เร็วชิดกัน จากนั้นเว้นระยะเล็กน้อย แล้วค่อยเริ่มโน้ตตัวต่อไป...ทั้งสองแบบนั้นขึ้นอยู่กับความถนัดของแต่ละบุคคลค่ะ สำหรับพลอย ใช้ทั้งคู่ แต่จะดูตามลักษณะเพลง หรือแนวความเร็วในการบรรเลง ให้เหมาะสมกันค่ะ
ชอบเพลงนี้มากค่ะ ดีใจที่ได้ฟังคุณพลอยเล่นค่ะ
เพราะจังเลย/ทำอย่าไรตีกรอใด้ถี่ยิบ
อยากให้เน้นไปที่ความสม่ำเสมอก่อนนะคะ...คือทั้งสองมือ ควรมีน้ำหนักเสียงเท่ากัน ถ้าซ้ายยังไม่ดีเท่าขวา หรือมือข้างที่ไม่ถนัด ยังไม่สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วเท่ากับมือที่ถนัด ก็ให้แก้ไขจุดนั้นก่อนค่ะ...อาจจะต้องไปใช้มือที่ไม่ถนัดทำกิจกรรมมาขึ้น เช่นจับช้อนกินข้าว จับตะเกียบ หรือกิจกรรมใดๆที่ฝึกกล้ามเนื้อให้มันพัฒนาขึ้นค่ะ....
พอน้ำหนักการลงไม้ทั้งสองมือเท่ากัน มันจะฟังดีขึ้นค่ะ...อีกส่วนหนึ่งก็คือช่องไฟของการลงไม้ทั้งสองข้างค่ะ..ต้องแบ่งช่องให้เท่าๆกัน เริ่มฝึกจากตีเก็บช้าๆไปก่อนค่ะ แบ่งช่องไฟให้เท่าๆกัน เชคน้ำหนักเสียงทั้งสองข้าง ระดับความสูงไม้...ค่อยๆทำไป พอระดับความเร็วนี้ทำได้ดี ก็ค่อยๆเร่งขึ้น ทีละนิดๆนะคะ เร่งขึ้นแล้วก็ค่อยๆเชคเหมือนเดิมค่ะ...ทำอย่างนี้ค่อยๆทำวนไป...เวลามากน้อยก็แล้วแต่กล้ามเนื้อมือต่างๆจะชินและก็ความรู้สึกของผู้เล่นเองค่ะ...
*การกรอที่ดีคือการที่ช่องไฟและน้ำหนักเสียงเท่ากันสม่ำเสมอนะคะ...ไม่จำเป็นต้องละเอียด...แต่ถ้าความเร็วสามารถควบคุมได้ ก็จะได้เรื่องความละเอียดเข้ามา ก็อาจจะเพราะขึ้น....ช่วงแรกๆไม่ต้องกังวลเรื่องความละเอียดนะคะ...เน้นที่ความสม่ำเสมอทั้งสองอย่างจะดีกว่า....
เอาใจช่วยนะคะ....ได้ผลอย่างไรกลับมาเล่าให้ฟังบ้างนะคะ รึว่าถ้ามีวิธีอื่นที่ลองทำแล้วได้ผลก็มาแลกเปลี่ยนกันก็ได้นะคะ....
อ้อ...ขวาลงก่อนเสมอ และจบด้วยซ้ายนะคะ...เป็นหลักการทางด้านเสียงนิดหนึ่งค่ะ...