ทะแย (เดี่ยวซอสามสาย)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 22 ต.ค. 2024

ความคิดเห็น • 9

  • @preechboonson4130
    @preechboonson4130 3 ปีที่แล้ว +1

    เพลงไทยแบบฉบับ
    ยอมรับว่า
    มีการจัดพัฒนา
    หาน้อยไม่
    แต่ทำนองพร้องเพราะ
    เกาะกินใจ....(นะท่าน
    เอ๋ย)
    ทำไมไม่ ค่อยดีเท่า
    ของเก่าเลย

  • @VachiravanBunnag
    @VachiravanBunnag 5 ปีที่แล้ว

    ชอบมากค่ะ ขอบคุณคุณครูผู้อนุรักษ์มรดกล้ำค่าของชาติไว้อย่างดียิ่ง

  • @Iwasbornin_
    @Iwasbornin_ 10 ปีที่แล้ว +1

    คือ ทำความเข้าใจหน่อย ทะแย เป็นเพลงหน้าพาทย์ โบราณ ซึ่งใช้ในกระบวนการ แห่​พยุหยาตรา ครับ ส่วนทะแยมอญ โบราณจารย์ แต่งให้เป็นสำเนียงมอญ เพื่อใช้ในการฟ้อนรำ ของ ชาว​มอญครับ

    • @nontanat80
      @nontanat80 9 ปีที่แล้ว +1

      patcharapol napakavach เพิ่มเติมครับ เพลงทะแย๒ชั้น ของเก่า ประเภทหน้าทับปรบไก่ มีมาแต่สมัยอยุะยา นอกจากใช้บรรเลงในตับมโหรีเพลงทะแย เพลงยาว เพลงย่องหงิด เป็นต้นแล้ว ปี่ชวายังใช้นำกระบวนกลองชนะในกระบวนพยุหยาตราสถลมารค และใช้บรรเลงปี่พาทย์ในหน้าพาทย์กลองโยน เช่น เพลงประจำเทศนืมหาชาติ กัณฑ์นครกัณฑ์ พระประดิษฐ์ไพเราะ(ครูมีแขก) แต่งขยายขึ้นเป็นอัตราสามชั้น ต่อมาหลวงประดิษฐ์ไพเราะ(ศร ศิลปบรรเลง)ได้นำมาตัดลงเป็นชั้นเดียว ครบเป็นเพลงเถา
      #อ้างอิงจาก สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคประวัติและบทร้องเพลงเถา(ราชบัณฑิตยสถาน)

    • @ศ.ศกุณาศกุณา
      @ศ.ศกุณาศกุณา 8 ปีที่แล้ว

      พอทราบใหมครับว่าชื่ออัลบั้มอะไร

  • @ปรีชาปิยะรัตน์
    @ปรีชาปิยะรัตน์ 10 ปีที่แล้ว +2

    เป็นเพลงสำเนียงมอญหรือเปล่าครับ

  • @Nana96640
    @Nana96640 10 ปีที่แล้ว

    ครับใช่ ชื่อ ทะแยมอญ

  • @Iwasbornin_
    @Iwasbornin_ 10 ปีที่แล้ว

    คือ ทำความเข้าใจหน่อย ทะแย เป็นเพลงหน้าพาทย์ โบราณ ซึ่งใช้ในกระบวนการ แห่​พยุหยาตรา ครับ ส่วนทะแยมอญ โบราณจารย์ แต่งให้เป็นสำเนียงมอญ เพื่อใช้ในการฟ้อนรำ ของ ชาว​มอญครับ