ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 26 ก.ย. 2022
  • สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
    ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

ความคิดเห็น • 568

  • @pattarapornsovarattanaphon8892
    @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +58

    ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล #ใจสั่น #จับชีพจร
    วิธีจับชีพจร สามารถจับชีพจรได้หลายตำแหน่ง เช่น
    1. บริเวณข้อมือ หากงอมือจะมีเส้นเอ็นนูนขึ้นมา ข้างเส้นเอ็นด้านนิ้วโป้งจะมีชีพจรอยู่ ซึ่งเป็นเส้นเลือดแดงตามจังหวะการเต้นของหัวใจ ทางการแพทย์ส่วนใหญ่จะจับ 3 นิ้ว (สามารถดูวิธีการจับชีพจรได้ในนาทีที่ 1:41 ) การนับ 1 นาทีจะแม่นยำที่สุด หรือ ถ้าไม่อยากนับนานก็นับเพียง 15 วินาทีก็พอแล้วคูณด้วย 4 ก็จะเท่ากับชีพจรต่อ 1 นาที แต่ถ้าชีพจร เต้นช้าบ้าง เร็วบ้างต้องวัดให้ครบ 1 นาที
    2. ต้องข้อพับแขน จากตรงกลางลงมาด้านในเล็กน้อย (สามารถดูตำแหน่งชีพจรได้ในนาทีที่ 2:31 )
    3. บริเวณขาก็มีชีพจรเช่นกันแต่เราไม่ค่อยวัดกัน
    4. บริเวณคอ ต้องใช้ความระมัดระวังในการจับชีพจรผู้สูงอายุ เพราะอาจทำให้หน้ามืดได้ หากคลำชีพจรบริเวณอื่นไม่ได้ ก็ต้องคลำบริเวณคอ เพราะอาจเป็นกรณีฉุกเฉิน คนไข้ไม่รู้ตัว เราจำเป็นต้องรู้ว่าหัวใจยังเต้นอยู่หรือไม่ ซึ่งเราอาจต้องทำ CPR (สามารถดูตำแหน่งการคลำชีพจรบริเวณคอได้ในนาทีที่ 3:30 เป็นต้นไป) เริ่มคลำจากบริเวรลูกกระเดือกหรือกลางคอ เอานิ้วลากชนปลายคาง และเลื่อนมาครึ่งหนึ่งระหว่างปลายคางกับกราม นั่นคือตำแหน่งชีพจร โดยกดลงไปนิดหนึ่ง จะใช้ในกรณีที่จับที่แขนไม่เจอ คนไข้ไม่ได้สติ
    ตอนที่1

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +8

      การเต้นของหัวใจปกติ
      - ปกติหัวใจจะเต้นสม่ำเสมอ 60-100 ครั้งต่อนาที
      - ถ้าเต้นเดี๋ยว ช้า เดี๋ยวเร็ว เดี๋ยวหยุด ถือว่าไม่ปกติ
      - หากเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที ถือว่ามีปัญหา
      - บางท่านเต้นช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาที เช่น เต้น 40-50 ครั้งต่อนาที หากท่านไม่ได้หน้ามืด วิเวียน มึนงงก็ถือว่าปกติ เพราะคนที่ออกกำลังกายชีพจรจะเต้นช้า หรือ ท่านที่ทานยาบางตัวอยู่ก็ทำให้หัวใจเต้นช้าได้ หากท่านไม่มีอาการอะไรก็ไม่ต้องกังวล
      ใจสั่นคือ
      - หัวใจเต้นเร็ว หากหัวใจเต้นเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที อาจจะรู้สึกว่าใจสั่น
      - การเต้นที่ไม่สม่ำเสมอ เช่น ระยังห่างระหว่างครั้งไม่เท่ากัน บางคนก็อาจรู้สึกใจสั่นขึ้นมา
      - มีบางจังหวะที่การเต้นของหัวใจหยุดไป เว้นไปเฉยๆ เราจะรู้สึกโหวงๆ หวิวๆ มีอาการใจสั่น
      - ตอนที่จะเริ่มใจสั่น กับ จะหยุดใจสั่น จะเป็นอย่างไร
      1. ตอนใจสั่นจะมีช่วงเร่ง จะมีช่วงค่อยๆเต้นเร็วขึ้น แล้วค่อยๆช้าลงๆจนกลับมาเป็นปกติ แบบนี้ไม่อันตราย
      2. แบบที่อันตรายคือ จู่ๆก็เต้นเร็วขึ้นมาเลย พอช่วงหยุดใจสั่น ก็กลับมาเป็นปกติเลย ส่วนใหญ่มักเกิดการลัดวงจรไฟฟ้าในหัวใจ จึงทำให้การเต้นหัวใจผิดปกติ บางครั้งมีตัวกระตุ้น ซึ่งบางทีเวลาไปพบแพทย์ขณะที่คลื่นไฟฟ้าผิดปกติ การตรวจก็จะพบในทันที แต่ไม่ได้เป็นขณะตรวจก็ไม่สามารถบอกอะไรได้ หากเป็นบ่อยๆแพทย์อาจจะติดเครื่องมือตรวจให้ท่านกลับมาที่บ้าน เรียกว่า Holter Monitor, S-Patch แล้วแต่ดุลยพินิจของแพทย์
      ตอนที่2

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +8

      เราต้องจับชีพจรให้รู้ว่าเราเป็นแบบไหน ยิ่งบอกได้มากเท่าไหร่ จะทำให้การวินิจฉัยของแพทย์แม่นยำมากขึ้นเท่านั้น เพราะบางครั้งเวลาพบแพทย์แล้วคลื่นไฟฟ้าปกติ แต่พอกลับบ้านแล้วเป็น
      นอกจากนี้ควรจะต้องสังเกตุว่าตอนที่ใจสั่น ท่านทำอะไรอยู่ เพราะมักจะมีเหตุผลที่ทำให้ใจสั่น รวมถึงมีอาการอื่นๆร่วมด้วยหรือไม่ เช่น เหงื่อแตก แน่นหน้าอก จะต้องสงสัยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือไม่ จะต้องทำการตรวจหาสาเหตุเพิ่มเติม
      ปัจจัยที่ทำให้ใจสั่น
      1. การอดนอน เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อย หากเป็นบ่อยๆอาจทำให้เกิดอันตรายได้
      2. ไม่กินอาหาร เช่น ท่านที่ต้องการทำ IF แบบหักโหม โดยที่ไม่เคยทำมาก่อน แล้วไปออกกำลังกายทันที อาจทำให้ใจสั่นได้
      3. คาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลม เครื่องดื่มชูกำลัง หากท่านมีอาการใจสั่นก็ไม่ควรกินของเหล่านี้
      4. ยาบางตัว โดยเฉพาะ
      - ยาขยายหลอดลมแบบกิน เช่น Ventolin ซึ่งเป็นชื่อทางการค้าของ Salbutamol, Albuterol หรือ ยาพ่น ที่มียาขยายหลอดลมอยู่ในนั้น
      - ยาฮอร์โมนไทรอยด์ ที่กินเสริมเข้าไป ถ้ากินเยอะเกินไปก็ทำให้ใจสั่น
      - ยาลดความอ้วน
      ยังมียาอีกหลายชนิด ทางที่ดีไม่ควรกินยาเอง
      ตอนที่3

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +8

      ข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดอาการใจสั่น
      1. ควรนั่งหากไม่หายให้นอนลงทันที (หากอยู่ในที่ๆไม่ปลอดภัยก็หาที่ปลอดภัยก่อน) ไม่ควรยืนเพราะท่านอาจหน้ามืดล้มหัวฟาดได้
      2. หากหน้ามืด ใจสั่น แน่นหน้าอก แน่นหน้าอก เหงื่อแตก ท่านอาจมีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ถ้าเป็นไปได้รีบร้องให้คนช่วย โทรหารถพยาบาล
      3. หากไม่มีใครและไม่มีโทรศัพท์ อาจทำได้ยาก และไม่สามารถทำได้ทุกกรณี และ บางกรณีทำแล้วก็อาจไม่หายด้วย แต่ยังดีกว่าท่านไม่ทำอะไร ให้ท่านนอนลง หรือ ถ้ายังนั่งยองๆได้ก็ให้นั่งยองๆ หายใจเข้าเต็มที่ กลั้น แล้วเบ่งเหมือนเบ่งอึ ทำสัก 15 วินาที หัวใจจากเต้นเร็วๆอยู่หัวใจท่านอาจกลับมาเต้นปกติ และสามารถทำซ้ำได้ถ้ายังไม่หาย เรียกว่า การทำ Vagal Maneuvers เป็นการกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติชนิดหนึ่ง คือ Parasympathetic ไปกระตุ้นให้ทำงาน พอทำงานแล้ว สิ่งที่เกิดขึ้นคือหัวใจท่านจะเต้นช้าลง แต่ทางที่ดีท่านควรเรียกให้คนช่วย และหากทำแล้วดีขึ้นท่านก็ยังต้องรีบไปพบแพทย์ คุณหมอเคยเห็นคนทำแบบนี้แล้วกลับไปเสียชีวิตที่บ้านมาแล้ว หรือ กลับมาที่โรงพยาบาลโดยที่สมองขาดออกซิเจนแล้วกลายเป็นผัก อย่านิ่งนอนใจ คิดว่ากลับบ้านไปพักผ่อนแล้วจะหาย
      ตอนที่4

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +7

      ภาวะหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ
      1. PVC หรือ Premature ventricular contraction คือหัวใจห้องล่างมีการผิดปกติของกระแสไฟฟ้า ทำให้เต้นก่อนจังหวะที่ควรจะเต้น
      2. ถ้าเป็นจากห้องบนจะเรียก PAC หรือ Premature atrial contraction
      สามารถพบได้ไม่ได้อันตราย ยกเว้นเป็นบ่อยๆแล้วมีอาการเยอะต้องให้ยา หรือ หาสาเหตุอื่นๆเพิ่มเติม
      3. AF หรือ Atrial fibrillation ต้องให้แพทย์ทำการแก้ไข
      4. SVT หรือ Supraventricular Tachycardia สิ่งที่อยู่เหนือห้องหัวใจด้านล่างขึ้นไปแล้วก่อกำเนิดไฟฟ้าแล้วทำให้เต้นเร็วขึ้น จู่ๆหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นมาทันที และบางคนเต้นเร็วอยู่แบบนั้น หากเป็นจากสาเหตุนี้ การแก้ไขคือ
      - การทำ Vagal Maneuvers จะได้ผลดีหากทำได้ถูกต้อง แต่เมื่อทำแล้วหาย ก็สามารถกลับมาเป็นได้อีก
      - หากคนไข้อยู่โรงพยาบาล ก็จะมียารักษา
      - หากเป็นแพทย์ แล้วพบคนไข้อยู่ข้างนอกไม่มียารักษา คุณหมอจะให้คนไข้นอนลงก่อน แล้วจะกระตุ้น Vagal เช่นกัน เป็นการกดที่ Carotid เป็นเส้นเลือดแดงหลักที่ออกจากหัวใจไปที่สมอง มีลักษณะเป็นตัว Y ก่อนที่จะแยกออกไป จะเป็นกลมๆกระเปาะหนึ่งถ้านวดๆและกด ตำแหน่งนั้น หัวใจจะกลับมาเต้นเป็นปกติ แต่ถ้าเป็นผู้สูงอายุ มักจะมีแคลเซียมเกาะบริเวณนั้น อาจทำให้แคลเซียมลอยไปที่สมอง อาจทำให้เป็นอัมพฤกได้ ดังนั้นส่วนมากจะทำให้กับผู้ที่มีอายุน้อยๆมากกว่า วิธีการคือ คลำ Carotid โดยการกดเฉียงๆเข้าไปด้านใน ติดกับกระดูกกราม ข้างซ้าย หรือ ขวาก็ได้ แล้วแต่ถนัด (ทำข้างใดข้างหนึ่ง ห้ามทำทั้ง 2 ข้าง) จะนวดทวนเข็มหรือตามเข็มก็ได้ นวดเป็นเวลา 10 วินาที
      ตอนที่5

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +7

      การจับชีพจรจับข้างใดข้างหนึ่งห้ามจับทั้ง 2 ข้าง และการจับที่ตำแหน่งนี้ควรระมัดระวัง เพราะมีความไวมาก แตะเพียงนิดก็ทำให้หน้ามืดได้ บางคนใส่เนคไทก็ทำให้หน้ามืดได้ โดยเฉพาะเวลานวดอย่าให้คนนวดนวดบริเวณคอด้านหน้าเด็ดขาด อาจกดตำแหน่งนี้แล้วทำให้หน้ามืดเป็นลมไปได้
      ตอนที่6

  • @user-le7io3iv5h
    @user-le7io3iv5h 11 หลายเดือนก่อน +4

    จริงค่ะ ไปหาหมอแสกนหัวใจแล้ว ไม่เป็นไร มีอาการใจสั่น ใจหวิว เหงื่อออกมือ

  • @user-je9ey6px3z
    @user-je9ey6px3z ปีที่แล้ว +15

    มีคนบ่นเยอะมากว่าใจหายใจสะดุด ผมก็เป็น ไปตรวจมาหมดทุกอย่าง แพทย์บอกไม่อันตรายแต่ไม่ให้ความกระจ่างแบบละเอียดเหมือนคลิปคุณหมอท่านนี้ ผมได้บอกต่อให้ทุกคนที่สงสัยว่าอาการแบบนี้มันเป็นยังไง จนทุกคนเบาใจสบายใจจนเลิกกังวล คุณหมอทำคลิปเพื่อให้ความรู้ความกระจ่างแด่ผู้ที่ประสบอาการนี้ดีเหลือเกิน ขอบคุณ มากครับคุณหมอ

    • @kritsadaeric2177
      @kritsadaeric2177 5 หลายเดือนก่อน

      ผมเป็นตอนนี้เลยครับ เป็นนานจนแพนิค เป็นจนรำคาญ

    • @manlovemmanman3843
      @manlovemmanman3843 หลายเดือนก่อน

      @kritsadaeric2177ผมก็เป็นทรมานมากครับ

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +6

    ใจเต้นแบบไหนอันตราย แบบไหนไม่อันตราย
    ✔จังหวะการเต้น ตุบ...ตุบ...ตุบ...ตุบ...ตุบ ตุบ ตุบตุบตุบตุบตุบ ตุบ ตุบ ตุบ...ตุบ...ตุบ...ตุบ (ไม่อันตราย)
    ❌จังหวะการเต้น ตุบ...ตุบ...ตุบ ตุบๆๆๆๆๆๆๆๆ ตุบ....ตุบ......ตุบ.......ตุบ (แบบนี้อันตรายต้องไปตรวจ)

  • @maneeann
    @maneeann ปีที่แล้ว +9

    วันนี้ อจ พูดถึงเรื่องการจับชีพจร
    มีเรื่องขำๆ มาเล่าให้ฟังค่ะ แต่ตอนเกิดเหตุไม่ขำนะคะ ตอนที่ดิฉันเรียน พยบ น่าจะปี 1 ก็ยังไม่ค่อยรู้เรื่องเนอะ นึกถึงแค่นี้ก็จะขำอีกแล้ว 555
    อจ ให้จับคู่กับเพื่อน ผลัดกันจับชีพจรที่ข้อมือ ดิฉันก็จับคู่กับเพื่อนคนหนึ่ง ดิฉันจับชีพจรของเขาได้เรียบร้อยแล้ว รู้สึกตุ้บ ตุ้บ ตุ้บ เป็นจังหวะดี แต่มีปัญหาค่ะ เพื่อนดันจับของดิฉันไม่ได้ แล้วก็ไม่ยอมจับคู่ด้วย เอาไงดี เพื่อนชิ่งเฉยเลย 😅
    ดิฉันก็ลองจับของตัวเอง ก็ไม่รู้สึก ตุ้บ ตุ้บ ตุ้บ เหมือนของเพื่อนนะ คือมันเบามาก ก็พยายามจะหาเพื่อนจับคู่ใหม่ให้ได้ ก็เป็นเหมือนเพื่อนคนแรก เขาไม่ยอมจับคู่ด้วย เขาบอกเดี๋ยวตอนจับให้ อจ ดูแล้วจับไม่ได้ ก็คงจะกลัวอาจารย์ดุด้วย จนเพื่อนๆเขาจับคู่ได้กันหมดแล้ว
    สุดท้ายดิฉันก็คงโมเมจับกับเพื่อนใครสักคนนี่แหละค่ะ จำไม่ได้เหมือนกันว่าเขาจับได้ไหม 😅
    ตอนนี้ดิฉันจับชีพจรของตัวเองได้แล้วนะคะ ตุ้บ ตั้บ เอ๊ย ตุ้บ ตุ้บ ตุ้บ เป็นจังหวะสม่ำเสมอดีค่ะ ตอนนั้นมันไม่หมูเหมือนตอนนี้เลย คงจับไม่เป็น ไม่ถูกที่มากกว่า หรือยังไง! 55
    RegisteredNurseRN 😂😂

  • @Lek44888
    @Lek44888 ปีที่แล้ว +41

    สวัสดีค่ะอาจารย์
    อาจารย์มาให้ความรู้เรื่อง
    "ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล"
    🍀เริ่มด้วยเราต้องจับชีพจรตัวเองให้เป็นก่อน เพราะมันมีความสำคัญค่อนข้างมาก เพื่อการวินิจฉัย ว่าใจสั่นนั้นเป็นจากอะไร
    ชีพจรคนเราที่ปกติ จะเต้น 60-100 ครั้ง/ นาที
    🍀จะต้องดูว่าความเร็วของชีพจร เร็วแค่ไหนใน 1 นาที ถ้าเต้นสม่ำเสมอจับ 15 วินาทีได้ แต่ถ้าเต้นไม่สม่ำต้องจับ 1 นาที
    🍀ถ้าชีพจรเต้นช้ากว่าปกติและไม่มีอาการก็ไม่มีปัญหา แต่ถ้ามีอาการและเต้นเร็วกว่า 100 ครั้ง/1 นาที อาจมีปัญหา มักจะมีอาการใจสั่น หรืออย่างอื่นร่วมด้วยเช่น โรคไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ หรือกินยาบางตัว เป็นต้น
    🍀ตอนใจสั่น ให้จับขีพจรดูว่าเต้นสม่ำเสมอไหม มันค่อยๆเริ่มแล้วค่อยๆหยุด หรืออยู่ๆมันเริ่มทันที แล้วหยุดทันที ขณะที่เป็นทำอะไรอยู่ มีอาการอะไรบ้าง เพื่อการวินิจฉัยของแพทย์
    🍀ถ้าขณะเป็นแล้วมีอาการหน้ามืด วิงเวียน ให้รีบนอนลงทันที แล้วเรียกให้คนอื่นมาช่วย ถ้าไม่มีคนอื่นมาช่วย ให้หายใจเข้าลึกๆแล้วเบ่ง อาจช่วยได้ อย่าทำในท่ายืนเด็ดขาดอาจล้มได้ ถ้าแก้ไขภาวะนี้ได้แล้ว อาการใจสั่นดีขึ้น ควรจะรีบไปตรวจที่โรงพยาบาลโดยเฉพาะ ท่านที่มีอาการแน่นหน้าอก หรือหน้ามืดร่วมด้วย
    🍀สาเหตุที่ทำให้ใจสั่น
    1) อดหลับอดนอน
    2) โรคทางด้านหัวใจ
    3) การทานอาหารไม่เพียงพอ
    4) การทานเครื่อมดื่มที่มีคาเฟอีนเยอะ
    5) ยาบางตัว เช่นโรคไทรอยด์ ยาขยายหลอดลม ยาลดน้ำมูกบางตัว
    ขอบคุณอาจารย์มากค่ะ🙏🏻

    • @maneeann
      @maneeann ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณค่าพี่เล็ก ข้อมูลสำคัญครบ กระชับ ถูกใจแอนค่ะ 😊👍🏻

    • @Lek44888
      @Lek44888 ปีที่แล้ว +1

      @@maneeann
      ขอบคุณค่ะน้องแอน❤️❤️❤️❤️

    • @wanpensenapitak1360
      @wanpensenapitak1360 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆนะคะ

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณค่ะพี่เล็ก❤️🌹🌹

    • @Lek44888
      @Lek44888 ปีที่แล้ว +1

      @@kanyamuay3748
      ยินดีค่ะน้องหมวย🌹🌹

  • @pannui3043
    @pannui3043 ปีที่แล้ว +10

    อายุหกสิบปีเศษ เรียนและทำงานด้านวิทยาศาสตร์มา
    ได้ความรู้ใหม่และน่าสนใจทุกครั้งที่เข้ามาฟังคุณหมอ (พยายามเก็บให้ได้ทุกตอนที่พลาดไปค่ะ)
    ขอบคุณคุณหมอมาก ๆ ที่สละเวลาส่วนตัวมาทำสิ่งดีงาม ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปค่ะ

  • @boomsong5729
    @boomsong5729 ปีที่แล้ว +4

    สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์
    วันนี้คุณหมอสาธิต วิธีการตรวจชีพจร เป็นความรู้พื้นฐานที่ทุกคนคนควรรู้ อัตราการเต้นของชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที ผู้ที่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เช่นเดียวกับคุณหมอ ชีพจรอาจเต้นช้ากว่า 60 ครั้ง/นาที ซึงเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้ามีอาการหน้ามืดร่วมด้วย ควรไปพบแพทย์ค่ะ
    การรักษาอาการใจสั่น จะรักษาตามสาเหตุ คุณหมอแนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น ที่ทำให้เกิดอาการ แต่ถ้าไม่หายก็ควรไปพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยหาสาเหตุ และรับการรักษาค่ะ
    ขอบคุณมากค่ะ ขอให้คุณหมอและครอบคร้ว มีสุขภาพแข็งแรง และมีความสุขนะคะ 🌻🧡🌻

  • @ployyy.2107
    @ployyy.2107 ปีที่แล้ว +4

    สวัสดีค่ะคุณหมอขอบคุณข้อมูลความมากมายมาแบ่งปัน เคยมีอาการใจสั่นไปตรวจก็ไม่เจอว่าผิดปกติอะไรค่ะบ้างครั้งก็หาสาเหตุไม่เจอ ขอให้คุณหมอสุขภาพแข็งแรงค่ะ..🥰🥰🥰

  • @luxanawadeeboonyasirinun6378
    @luxanawadeeboonyasirinun6378 ปีที่แล้ว +7

    ขอบพระคุณ คุณหมอมากๆ ค่ะ เรื่องนี้ ตรงกับต้อมมากๆ ในหลายครั้งที่เกิดขึ้นและผ่านมา เป็นบทเรียนมากๆ เช่น อย่ากลัวเสียฟอร์ม ; ตอนเล่นกีฬา อย่าตะกละ; ตอนทานเพื่อให้อ้วนขึ้น จนจุกแน่นจนหายใจไม่ออก (ปริมาณไม่ได้ช่วยให้อ้วนขึ้นอย่างเดียวเพิ่มแคลอรี่ดีกว่า) อย่าคิดว่าพอไหว; ตอนวูบที่ทำงานฟื้นขึ้นมาแล้วไม่ได้ไปหาหมอทันที เพราะคิดว่าพอไหวขับรถกลับบ้านไปนอนได้ น่าจะดีขึ้น (รพ.เลยบ้านไป นิดแต่ รถติดตอนเย็น ไม่น่ารอด กว่าจะหาที่จอด เดินไปติดต่อ พูดเล่า คิดว่าไว้ดีขึ้นค่อยไป… พอคุณหมอพูดว่านอนหลับไปแล้วอาจไม่ตื่น สะดุ้งเลยค่ะ!!!) 2 ครั้งสุดท้าย ที่นอนหลับ แล้วสะดุ้งตื่น เฮือกขึ้นมาแล้วเหมือนจะตาย…จุกแน่น เหงื่อออก แต่มือเท้าชาเย็น แล้วอยู่คนเดียวที่ต้อมเคยบอกว่าทำ CPR ตัวเอง😋 (จำชื่อไม่ได้แต่จำวิธีการทำได้…เคยอ่านเจอ…) พึ่งทราบการเรียกที่ถูกต้องจากคุณหมอแทนนี่ละค่ะว่า คือ Vegal maneuvers แต่ตอนนั้นต้อมทำเพิ่มอีก 2 อย่าง คือ ไอแรงๆ ให้หน้าอกเหมือนมีแรงอัด (เหมือนตอนคนปั๊มหัวใจ)และ งอขามือชิดหน้าอก ยืดเหยียดเป็นจังหวะ ทำอยู่ประมาณ 15 นาที ดีขึ้นนิดแล้วไม่กล้านอนต่อเลยค่ะ แต่เผลอหลับตอนไหนไม่ทราบ พอตื่นมาได้ยินนกร้องแสงแดดเข้าตา คิดว่าคราวนี้คงต้องไปรพ.ละ…พอไปพบแพทย์ วัดคลื่นหัวใจยังไม่เห็นความผิดปกติ แต่ถูกส่งไปเจาะเลือด พบว่า เกือบทุกค่าต่ำเกิ๊นนน… ก็รักษา ทานยา ตอนนี้ปกติละค่ะ แข็งแรงทั้งกายและใจละ… ขอบคุณอีกครั้งที่ความบังเอิญได้เจอคลิปคุณหมอ🎉 ทำให้ชีวิตต้อมดีขึ้น

  • @morgothbauglir3776
    @morgothbauglir3776 ปีที่แล้ว +4

    ดูคลิปแล้วใจสั่น โอ๊ยยย!!

  • @sriratdecha8809
    @sriratdecha8809 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ!

  • @Chaweewan8769
    @Chaweewan8769 หลายเดือนก่อน

    ขอขอบคุณ

  • @user-gv7mc7qe2q
    @user-gv7mc7qe2q 10 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับ😍

  • @user-np3uz2zb6q
    @user-np3uz2zb6q ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ

  • @tanyawimonrat7168
    @tanyawimonrat7168 ปีที่แล้ว +1

    🙏ขอบคุณค่ะ

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +9

    🚩อาจารย์คะ เมื่อคืนเพิ่งอ่านเรื่องเกี่ยวกับ ทำไมหัวใจของนักกีฬา หรือคนที่ออกกำลังเป็นประจำเต้นช้าลง ยิ่งฟิต ยิ่งเต้นช้า (อย่างของอาจารย์ เป็นต้น)
    🚩ก็เพราะการออกกำลังเป็นประจำ ทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น หัวใจสามารถสูบฉีดเลือดไปได้มากขึ้น ต่อการบีบตัว 1 ครั้ง รวมถึงการออกกำลังเป็นประจำ ทำให้ระบบ Parasympathetic ทำงานเด่นขึ้น ทำให้หัวใจเต้นช้าลง​ทั้งขณะออกกำลังกายที่ความหนักเท่าเดิม​และในขณะพัก
    🚩นอกจากนี้การออกกำลังกายมาก และนานถึงระดับหนึ่ง จะเกิดการเปลี่ยนรูปร่างทางหัวใจ ( EICR = Exercise induce cardiac remodelling ) ทำให้ รูปร่างหัวใจเปลี่ยนไป เช่น โตมากขึ้น หรือหนาตัวมากขึ้น ทำให้สามารถสูบฉีดเลือดต่อ 1 การบีบได้ดีขึ้นไปอีก หัวใจก็ยิ่งเต้นช้าลงไปอีกค่ะ ถึงจะเต้นช้า แต่ถ้าไม่มีอาการอะไรผิดปกติ ก็ไม่อันตราย ไม่ต้องไปตรวจค่ะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว +3

      ประมาณนั้นครับ

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +3

      @@DrTany ขอบคุณค่ะอาจารย์... การออกกำลังกายมันดีต่อใจจริงๆค่ะ

  • @user-ve4hv6eq3f
    @user-ve4hv6eq3f ปีที่แล้ว +2

    ดีมากๆเลยค่ะ❤️

  • @user-ww9jf9ec6c
    @user-ww9jf9ec6c ปีที่แล้ว +23

    แอบรักน้อนสฺปฺทฺ์โร​ซี่​แล้วใจสั่น รักคุณหมอแทนทุกวันใจสั่นไม่หายเบย.... เง้อ

    • @Euang-Mali
      @Euang-Mali ปีที่แล้ว +4

      😊🌷 สวัสดีค่ะ ใจสั่นทุกวันเลย อิอิ

    • @yodirolabg5316
      @yodirolabg5316 ปีที่แล้ว +2

      5555555555😂

    • @wiriwiriya-36
      @wiriwiriya-36 ปีที่แล้ว +4

      ใจมันเต้น..เต้น..เป็นจังหวะ love ใช่มั้ยคร้าาา 😄😄😄

    • @user-ww9jf9ec6c
      @user-ww9jf9ec6c ปีที่แล้ว +4

      @@wiriwiriya-36 โรคหัวใจกำเริบlovelove love you #ซีแคร​ฺ​์ออเรนจิโฟร์โมสต์​

    • @user-ji4sh1kf3r
      @user-ji4sh1kf3r ปีที่แล้ว +2

      😁😁😂😂

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +9

    คลิปใหม่มาแล้วค่ะ...
    วันนี้เรื่อง _ใจสั่นเกิดจากอะไร แก้ไขอย่างไร เมื่อไหร่ต้องไปโรงพยาบาล_ #ใจสั่น #จับชีพจร
    อาจารย์หมอสาธิตการจับชีพจร (เห็นกำไลหินสีฟ้า 2 เส้นชัดเจนค่ะ)
    ก่อนอื่นขออนุญาตโพสต์ _สาเหตุของอาการใจสั่น_ พอสังเขปก่อนนะคะ
    🔴สาเหตุของใจสั่น มาจากอะไรบ้าง
    ◾นอนหลับไม่เพียงพอ
    ◾ออกกำลังกายที่ต้องใช้กำลังมาก
    ◾อดอาหารมากๆ เช่น ทำ IF
    ◾ดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ น้ำอัดลม เครื่องดื่มชูกำลัง
    ◾ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
    ◾สูบบุหรี่
    ◾ใช้สารเสพติด เช่น กัญชา โคเคน หรือ แอมเฟตามีน
    ◾ความเครียด ความวิตกกังวล ความกลัว ความตื่นเต้น อาการตื่นตระหนก (Panic)
    🔴ยารักษาโรคบางชนิด เช่น
    ◾ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง เช่น ยาไฮดราลาซีน (Hydralazine) หรือยาไมนอกซิดิล (Minoxidil)
    ◾ยาพ่นรักษาหอบหืดบางชนิดที่มีส่วนประกอบของสารกระตุ้น เช่น ซาลบูทามอล (Salbutamol)
    ◾ยาแก้ไอหรือยาแก้หวัด ที่มีส่วนประกอบของยาซูโดเอฟีดรีน (Pseudoephedrine)
    ◾ยาแก้แพ้ เช่น เทอร์เฟนาดีน (Terfenadine)
    ◾ยาปฏิชีวนะ เช่น คลาริโธรมัยซิน (Clarithromycin) หรือยาอิริโทรมัยซิน (Erythromycin)
    ◾ยารักษาภาวะซึมเศร้า เช่น ไซตาโลแพรม (Citalopram)
    ◾ยาต้านเชื้อรา เช่น ไอทราโคนาโซล (Itraconazole)
    ◾ฮอร์โมนไทรอยด์
    ◾ยาลดความอ้วน
    ◾ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมหรือสมุนไพรบางชนิด

  • @NanNan-kn3bb
    @NanNan-kn3bb ปีที่แล้ว +1

    ขอขอบคุณมากๆค่ะ

  • @user-vw5vl1wq1d
    @user-vw5vl1wq1d หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณค่ะคุณหมอที่แนะนำ

  • @user-ig4et9yo5r
    @user-ig4et9yo5r ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากนะคะ

  • @Maneepatchaya
    @Maneepatchaya ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากคะ

  • @naratammasiri4561
    @naratammasiri4561 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะอ.ให้ความรู้

  • @user-ru6kt3dj7d
    @user-ru6kt3dj7d 9 หลายเดือนก่อน

    ชอบคลิปนี้มาก ขอบคุณค่ะ

  • @user-vf4by2yw8k
    @user-vf4by2yw8k ปีที่แล้ว +1

    คุณหมอขา ขอบคุณมากๆ

  • @kwantaboonian9065
    @kwantaboonian9065 ปีที่แล้ว +2

    ขอยคุณค่ะคุณหมอ

  • @346viglianti
    @346viglianti ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากๆๆค่ะ คุณหมอ

  • @poomkoonma7407
    @poomkoonma7407 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณคุณหมอสำหรับความรู้ค่ะ

  • @user-em7ys1ir4o
    @user-em7ys1ir4o ปีที่แล้ว +3

    ดีมากเลยค่ะ👍👍👍👍👍👍👍

  • @piyanutsatravaha548
    @piyanutsatravaha548 ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณค่ะคุณหมอ

  • @netichaimanijajwalsgool4208
    @netichaimanijajwalsgool4208 ปีที่แล้ว

    ได้ความรู้ดีมาก ขอบคุณครับคุณหมอ

  • @janjaipuakhaw1511
    @janjaipuakhaw1511 ปีที่แล้ว +2

    ขอบพระคุณมากกค่ะคุณหมอ

  • @rojanaleisner4511
    @rojanaleisner4511 ปีที่แล้ว +1

    เป็นบ่อยเลย

  • @thunyamy24
    @thunyamy24 ปีที่แล้ว +2

    ขอบพระคุณมากค่ะอาจารย์

  • @chalearmsrichitchong8598
    @chalearmsrichitchong8598 5 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณที่ให้ความรู้ค่ะ

  • @mukumukupangpang9348
    @mukumukupangpang9348 ปีที่แล้ว +1

    เคยครับหมอตอนจะสอบกินกาแฟไปบวกกับตื่นเต้น เรียบร้อยขาดสอบต้องฝืนขับรถไปโรงบาลในม.เกือบไม่ไหว รู้สึกเหมือนได้รับแรงGหน้าชาขยับแทบไม่ได้ หมอให้กินยา1เม็ดเล็กแล้วนอนพักแปปนึงก็หาย

  • @praneesiltham3836
    @praneesiltham3836 10 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์ใจดี จริงๆค่ะ ขอบคุณมากๆๆค่ะ

  • @jinnie_proud_
    @jinnie_proud_ ปีที่แล้ว +2

    ก่อนเป็นหนูจะรู้สึกวูบมึนๆ แล้วหัวใจก็จะเริ่มเต้นแบบที่ 1 ค่ะ ช่วงเวลาที่มันเต้น จะรู้สึกแสบร้อนบริเวณน่าอกขึ้นมาลำคอ และปวดร้าวแสบๆบริเวณบ่าท้าทอย เวลาเป็น 2-3 ชั่วโมงค่ะ แล้วมันก็ค่อยๆเต้นช้าเป็นปกติ หนูจะเป็นประมาณเดือนละครั้ง ไปตรวจหาหมอ 4 ครั้งแล้ว ตรวจทุกอย่างปกติ แค่มีโรคกระเพาะเข้ามา

  • @areeratasudhasirikul952
    @areeratasudhasirikul952 ปีที่แล้ว +3

    Excellent! Must listen!

  • @user-dc1iv5gd2p
    @user-dc1iv5gd2p ปีที่แล้ว +1

    คุณหมออธิบายรายละเอียดมากค่ะ

  • @ubonwantukkeenoo3147
    @ubonwantukkeenoo3147 7 หลายเดือนก่อน +1

    อยากคุยกับคุณหมอจังค่ะ หนูเป็นแบบที่คุณบอกเลยค่ะ ใจเต้น 100อัพตลอด สูง 139 ไปหาหมอแล้ว แต่หมอบอกว่าหัวใจปกติไม่พองโต ก็เลยให้ใส่นาฬิกาวัดหัวใจ หมอบอกว่าหนูอาจจะตื่นเต้นเวลาไปโรงพยาบาล มันเหนื่อยมากเลยค่ะ แทบทั้งวัน ใจกระตุกบ้างเป็นบางครั้ง

  • @Whyxiie
    @Whyxiie 6 หลายเดือนก่อน +1

    หนูไปตรวจร่างกายมาเมื่อปีที่แล้ว EKG เจอหัวใจเต้นผิดปกติ แต่หลังจากนั้นไปหาCardiologist ก็ไม่เคยตรวจเจออีกเลย ทั้งวิ่งสายพาน ทั้งEchoหรือไม่ว่าจะทำEKGอีกกี่ครั้ง ก็จะมีแค่อาการใจสั่น จนสุดท้าย อาการใจสั่นไม่หาย หมอorderให้ทำRFCA สวนท่อเข้าไปถึงได้เจอว่ามีพังผืดที่ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หมอก็ทำการจี้ให้ค่ะ ตอนแรกนึกว่าคิดไปเองว่าใจสั่น คิดว่าเสียสติไปแล้วเพราะหนูรักษาอาการทางจิตเวชด้วย สุดท้ายก็เจอว่าเป็นจริงๆ

  • @user-ic4rl4lk9i
    @user-ic4rl4lk9i 11 หลายเดือนก่อน +1

    คุณหมออธิบายเข้าใจง่ายดีมากๆค่ะ

  • @kanokpornmartinez9609
    @kanokpornmartinez9609 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณที่ ให้ความรู้ สอน แนะนำ สิ่งดีๆต่อสุขภาพจ้าา

  • @comserveitserve7165
    @comserveitserve7165 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ คุณหมอฮีโร่

  • @user-em7ys1ir4o
    @user-em7ys1ir4o ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณ คุณหมอมากค่ะ ได้รับความรู้มากเลยค่ะ

  • @janepoungmala1545
    @janepoungmala1545 ปีที่แล้ว +1

    ติดตามประจำ ขอบคุณคุณหมอที่มาให้ความรู้ค่ะ

  • @peenee8126
    @peenee8126 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณ คุณหมอมากค่ะ ที่ให้ความรู้ค่ะ

  • @user-lg3qp2sz6h
    @user-lg3qp2sz6h ปีที่แล้ว +1

    เป็นประจำ

  • @thawanratowen9150
    @thawanratowen9150 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณจริงๆค่ะ 👍👍👍💌💌💌

  • @pitsamaigardner8425
    @pitsamaigardner8425 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ 🙏💐

  • @swisstime88
    @swisstime88 ปีที่แล้ว +1

    มีประโยชน์มากๆเลยครับขอบคุณครับ🙏

  • @1viboonya137
    @1viboonya137 ปีที่แล้ว +2

    ความรู้ใหม่ เรื่องเบ่ง ขอบคุณมากนะคะ

  • @meijig3483
    @meijig3483 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากๆจริงๆคะ หมอพูดได้ละเอียดมากๆ รักๆ

  • @user-ix1qe2jo8s
    @user-ix1qe2jo8s ปีที่แล้ว +5

    คุณหมอ อธิบายได้ดีมากๆค่ะ เข้าใจง่าย

  • @user-tj1wt2zl7g
    @user-tj1wt2zl7g ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ

  • @WuhanWitch
    @WuhanWitch ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากค่ะ .. กำลังเป็นอยู่พอดี

  • @user-ix1qe2jo8s
    @user-ix1qe2jo8s ปีที่แล้ว +8

    คุณหมอแทน ให้ความรุ้ ครบทุกวงจร ติดตาม ตลอดค่ะ ขอบคุณนะคะ

  • @narlaw1342
    @narlaw1342 ปีที่แล้ว +1

  • @rinkorinrinrin
    @rinkorinrinrin ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ

  • @duangkamolsakulkitjaroen4680
    @duangkamolsakulkitjaroen4680 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ เป็นความรู้ที่ดีมากจริงๆค่ะ

  • @user-im9sb4iy4s
    @user-im9sb4iy4s ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากๆค่ะ ตรวจตัวเองเบื้องพอได้ค่ะ

  • @baxjk
    @baxjk 8 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากๆ

  • @raksaswallow2563
    @raksaswallow2563 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีคะคุณหมอ

  • @user-mr8fp6lo6g
    @user-mr8fp6lo6g ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีเจ้าคุณหมอขอบคุณเจ้า💞💞💞💞

  • @sorattyahattapasu7765
    @sorattyahattapasu7765 ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณอจ.หมอมากคะ ได้ความรู้จากคลิปนี้ ดีต่อใจเลยเจ้า

  • @Jin_789
    @Jin_789 10 หลายเดือนก่อน +2

    💗💓เป็น​ความ​รู้​ที่​ดี​นะคะ​ขอบคุณ​ค่ะ​

  • @maliwankaipai5639
    @maliwankaipai5639 ปีที่แล้ว +2

    กราบขอบคุณมากค้ะ คุณหมอ ที่สละเวลามาให้ความรู้เป็นธรรมทาน🙏 ขอให้เจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานตลอดจนความสำเร็จในทุกๆด้านชีวิตมีแต่ความร่มเย็น ค้ะฉันก็เป็นอาการแบบนี้ค้ะ

  • @wilaiporntim
    @wilaiporntim 8 หลายเดือนก่อน

    Thanks

    • @wilaiporntim
      @wilaiporntim 8 หลายเดือนก่อน

      Thanks to you too for sharing with us valuable and useful information.

  • @koraarchara5465
    @koraarchara5465 ปีที่แล้ว +1

    ไม่ได้ลงลึก
    แต่มีประโยชน์ค่ะ
    ขอบคุณค่ะ
    🙏👏👍

  • @user_Aom2521
    @user_Aom2521 9 หลายเดือนก่อน +4

    คุณหมออธิบายระเอียด เข้าใจง่าย มีประโยชน์มากค่ะ ติดตามแล้วค่ะ

  • @paemitmaiteetour1111
    @paemitmaiteetour1111 ปีที่แล้ว +1

    🙏ขอบคุณ สำหรับข้อมูลแน่นดีคะ👍🙂 เผื่อนำมาสังเกตตัวเองคะ😅

  • @user-yw7gq2ku9u
    @user-yw7gq2ku9u ปีที่แล้ว +2

    ตั้งใจฟังมาก...เพราะหัวใจเต้นเร็ว

  • @sayfonfon4124
    @sayfonfon4124 11 หลายเดือนก่อน +1

    พอรู้สึกตัวว่าตื่นจะมีอการใจสั่นค่ะคุณหมอจะเป็นแป็ปเดียวตื่น1 ครั้งก็เป็น1 ครั้งตื่นบ่อยก็เป็นบ่อยค่ะ

  • @user-wn1wt9kn6e
    @user-wn1wt9kn6e ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ..เคยเป็นบ่อยๆค่ะ

  • @piminthira0487
    @piminthira0487 10 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณ หมอจ้า

  • @utrain6821
    @utrain6821 ปีที่แล้ว +4

    ติดตามตลอดครับ เป็นกำลังใจให้คุณหมอทำคลิปต่อๆไปนะครับ

  • @nung-noppapat
    @nung-noppapat ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰
    เป็น​ประโยชน์​มากค่ะสอนตำแหน่งของชีพจร👍🥰

  • @user-ot6rf6qu7d
    @user-ot6rf6qu7d ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณคุณหมอมากค่ะที่ไม่ลืมคนไทย

  • @user-em7ys1ir4o
    @user-em7ys1ir4o ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ🙏🙏🙏🙏♥️♥️♥️♥️🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭

  • @tarungtiwa2710
    @tarungtiwa2710 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีคะ=ประเทศไทย ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ วันนี้มาให้ความรู้เรื่องใจสั่นคะได้ความรู้เรื่องโรคต่างๆทุกวันมีประโยขน์มากๆคะ.👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏🇹🇭😷🌹❤️

  • @junjaratjramkrajang9568
    @junjaratjramkrajang9568 7 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณคุคุณหมอมาฟังข้อมูลดีๆคะ

  • @user-em7ys1ir4o
    @user-em7ys1ir4o ปีที่แล้ว +1

    แชร์แล้วค่ะ ทั้ง FB และ LINE ค่ะ

  • @napasornsriplong1948
    @napasornsriplong1948 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณที่ให้ความรู้ค่ะอ.แทนดูเกือบทุกคลิปแต่ไม่ค่อยได้คอมเมนต์ค่ะ

  • @user-ph5qr2kt5i
    @user-ph5qr2kt5i ปีที่แล้ว +1

    คุณหมอ looking leaner ครับ

  • @famtv6813
    @famtv6813 ปีที่แล้ว +3

    ขอบพระคุณอาจารย์มากค่ะ ที่ทำคลิบดีๆ ให้ความรู้เยอะมาก ติดตามทุกคลิบเลยค่ะ เป็นช่องคุณภาพแถมตอบคำถามตลอด ขอบคุณอาจารย์จริงๆ ค่ะ ขอให้อ.สุขภาพแข็งแรงนะคะ🙏

  • @maisoongka
    @maisoongka ปีที่แล้ว +1

    ❤ขอบคุณคุณหมอมากๆคะที่สละเวลามาให้ความรู้ดีๆ เป็นบุญที่สูงส่งมากคะ🙏🙏

  • @suriyawong75
    @suriyawong75 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณคำแนะนำดีๆนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍

  • @user-hk9hs2zq3o
    @user-hk9hs2zq3o 9 หลายเดือนก่อน +1

    ทุกๆๆโรคน่ากลัว...ครับอจ.😢😢

  • @Phanitakay
    @Phanitakay 7 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์ขา เคยถามไปแล้วกลับมาฟังอีกเพราะอาการมันมากขึ้นวันก่อนช่วงเย็นเดินข้ามถนน ใจสั่นแบบ แทบจะทนไม่ไหว อยากจะนั่งข้างถนน เหมือนในคลิปเลยค่ะ เสียดายนึกว่ามันจะดีขึ้น จำไม่ได้ว่าถ้าดีขึ้นต้องหาหมอเดี๋ยวนั้น ตอนนี้ก็ยังมีอาการน้อยๆ บ่อยๆ แต่ก็ยังไม่เลิกกาแฟ 😅 โทษใครไม่ได้เลยนอกจากตัวเอง

  • @9955sara
    @9955sara 8 หลายเดือนก่อน +1

    เพิ่งทราบว่าการใช้ยาแก้ภูมิแพ้ แบบพ่นทำให้เกิดอาการใจสั่น
    เมื่อวานเพิ่งฟังคลิปนี้แล้วจึงเลิกพ่นก่อนนอน อาการใจสั่นที่เป็นมาหลายวัน
    มาวันนี้ไม่มีอาการใจสั่นเลยค่ะ
    เหมือนโกหกแต่มันหายเลยค่ะ ดีใจจัง หวังว่าอาการคงไม่กลับมาอีก😅
    ฟังคลิปคุณหมอมาหลายท่านไม่มีใครพูดถึง สาเหตุยาพ่นจมูกนี้เลยค่ะ
    ขอบคุณมากๆๆๆค่ะคุณหมอ🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻

  • @anniep.8599
    @anniep.8599 ปีที่แล้ว +3

    Such as a great content thank you immensely for that Doctor Tany

  • @user-gq2um8ru6x
    @user-gq2um8ru6x 7 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณคุณหมอมากๆๆค่ะจากใจจิรง

  • @user-hk5cc9zo2k
    @user-hk5cc9zo2k ปีที่แล้ว +2

    ได้ความรู้ที่เป็นประโยชน์มากเลย ขอบคุณมากๆครับคุณหมอ

  • @Ketusa_life
    @Ketusa_life ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีค่ะะ อาจารย์หมอแทน🙏
    ฟังคุณหมอแล้วได้ความรู้มากมายค่ะ กำลังมีอาการอย่างที่คุณหมอพูดเลยค่ะ ปกติไม่เคยใจสั่น แต่ถ้าเกิดมีอะไรที่ทำให้ตื่นเต้นก็จะมีอาการเป็นบางครั้ง แต่นานๆทีจะเป็นค่ะ
    ตอนนี้กำลังทำ IF ทานอาหารสองมื้อ/วัน ทำมาได้เดือนกว่าๆ มีอาการใจสั่นอย่างที่คุณหมอพูดค่ะ กำลังคิดอยู่ว่าจะไปพบคุณหมอประจำ เพื่อตรวจอาการ ได้ฟังอาจารย์แทนพูดแล้วเข้าใจเลยค่ะ
    ขอบคุณมากๆค่ะ 🙏❤
    FC from PA.🇺🇸

  • @punpi_jim
    @punpi_jim ปีที่แล้ว +5

    เคยไอเยอะๆแล้วรู้สึกหายใจไม่สะดวก คิดว่ากินยาขยายหลอดลมคงช่วยได้ไม่มากก็น้อย🤔 ใจสั่นจริงๆค่ะตัวจะสั่นๆด้วยแล้วไม่ใช่ว่าอาการจะหายง่ายๆด้วยนะค่ะ🥶🥶 ตื่นมาตอนเช้ายังรู้สึกอยู่เลย😮‍💨ขอบคุณค่ะคุณหมอ💚

    • @JumA.5629
      @JumA.5629 ปีที่แล้ว +2

      ไปตรวจหรือปรึกษาคุณหมอมาหรือยังคะจิมมี่ ถ้ายังควรรีบไปนะ เราต้องอยู่เป็นเพื่อนกินอโวคาโด้กันอีกนาน ๆ นะคะ 🥑💚

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +1

      จิมดื่มแฟเยอะด้วยรึป่าว...

    • @punpi_jim
      @punpi_jim ปีที่แล้ว +2

      @@JumA.5629 จิมแค่ไอป่ะคะจุ๋ม เตงพิมซะเราใจแป้วเลย😅😅

    • @punpi_jim
      @punpi_jim ปีที่แล้ว +1

      @@FragranzaTrippa ไม่เยอะแล้วนะคะ หลังเที่ยงจิมแทบไม่แตะกาแฟเลยเต็มที่ก็ม๊อคค่า😅😅😅

    • @JumA.5629
      @JumA.5629 ปีที่แล้ว +1

      @@punpi_jim ก็จิมบอกว่าไอเยอะ ๆ แล้วหายใจไม่สะดวก ฟังดูน่าจะทรมานเลยนะคะ ถ้า “แค่” ไอแต่สามารถทำให้หายใจไม่สะดวกก็น่าจะปรึกษาคุณหมอดูดีกว่าไหมคะ เผื่อว่าถ้าไม่มีอะไรก็จะได้สบายใจ บางทีคุณหมออาจจะมีทริคสอนการหายใจถ้าเกิดอาการไอแล้วหายใจไม่สะดวกอีก

  • @angelthiptarot
    @angelthiptarot ปีที่แล้ว +1

    👍👍🙏

  • @user-ic4rl4lk9i
    @user-ic4rl4lk9i 11 หลายเดือนก่อน +1

    เป็นอย่างคุณหมอว่าค่ะ ตอนไปหาหมออาการหายแล้ว ตรวจ EKG ปกติ