เผยความลับสมเด็จโต ที่ไม่มีในตำราเล่มในบันทึก | สมเด็จพุฒาจารโตพรมรังสี

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 2 พ.ค. 2024
  • ประวัติสมเด็จโต ที่ไม่มีในตำราเล่มในบันทึกไว้ แต่มีปรากฏอยู่ในภาพจิตรกรรมฝาผนัง วัดอินทรวิหาร โดยสมเด็จให้ช่างได้เขียนไว้ ตั้งแต่สมัยท่านยังมีชีวิต
    พลิกประวัติศาสตร์วงการพระสมเด็จ
    #พระเครื่อง #ของสะสม #สมเด็จโต #วัดระฆัง #บางขุนพรหม
  • ตลก

ความคิดเห็น • 28

  • @The..Butcher..
    @The..Butcher.. หลายเดือนก่อน +1

    พระสมเด็จกรุวัดอินทร์
    ราคายังไม่แพงมาก
    น่าสะสมศึกษาเนื้อ 150+ปี

  • @bkbk4615
    @bkbk4615 หลายเดือนก่อน

    ผมว่ายังมีอีกเยอะครับ..
    ที่ไม่ได้ถูกค้นพบ,ทุกอย่างต้องจำนนด้วยหลักฐาน
    ..ขอบคุณครับที่ค้นหาข้อมูลดีๆมาบอกกล่าว,,ได้ความรู้ไปด้วยกัน❤❤😊😊

  • @user-iz3rw4qz5y
    @user-iz3rw4qz5y หลายเดือนก่อน +1

    ชอบครับ หลายๆข้อมูล เป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ครับ

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @tanaphongsi6504
    @tanaphongsi6504 หลายเดือนก่อน +1

    ทำได้ดีมากครับ ศึกษาตามประวัติศาสตร์ถูกต้องแล้วครับ

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @user-cd6eu4je8g
    @user-cd6eu4je8g หลายเดือนก่อน

    ทำอีกนะครับ ติดตามตลอด❤🎉

  • @user-lp7lo4kv2h
    @user-lp7lo4kv2h หลายเดือนก่อน

    เยี่ยมเลยน้องปอน👍

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @JoyJoy-wl5bi
    @JoyJoy-wl5bi หลายเดือนก่อน

    จิตรกรรมฝาผนังวัดอินทรวิหารนี้ ไม่ได้เขียนภาพไตรภูมิ
    ภาพพุทธประวัติ ภาพมารผจญ ตามธรรมเนียมนิยมรัตนโกสินทร์
    ด้วยพระเทพวิสุทธาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดอินทรวิหาร ดำริว่า
    แต่เดิมโบสถ์หลังนี้ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พฺรหฺมรํสี)
    ได้ให้ช่างเขียนประวัติของท่าน บุคคลคุ้นเคย
    และสิ่งต่างๆที่ท่านได้พบเห็นไว้
    เมื่อทางวัดทำการบูรณะอุโบสถขึ้นใหม่ตาม แบบอุโบสถเดิม
    และได้แบบร่างที่คัดลอกจากภาพเขียนเก่าไว้มาโดยเหตุน่าอัศจรรย์
    จึงให้ช่างเหลียง แซ่อั๊ง เขียนภาพตามแบบคัดลอกเดิม
    ซึ่งเมื่อเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
    วัดสะเกศมาเห็น ท่านเล่าว่าในสมัยที่ท่านเป็นสามเณร
    เคยได้เข้ามาดู กับหลวงพี่ชม วัดใหม่
    (พระครูบริหารคุณวัตร วัดใหม่อมตรส บางขุนพรหม)
    และว่า "เหมือนภาพเดิมทุกประการ"
    และเพื่อให้ "อุโบสถาคาร" วัดอินทรวิหารหลังนี้
    เป็นอนุสรณ์สถานของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
    นอกเหนือไปจาการใช้เป็นสถานที่สำหรับสงฆ์ทำสังฆกรรม
    ฝาผนังอุโบสถตอนบนที่ยังคงว่างอยู่ จึงให้ช่างเขียน
    พิมพ์ อินทรวิชะ และผู้ร่วมงาน เขียนภาพประวิติของ
    สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) เพิ่มเติมให้สมบูรณ์
    โดยเริ่มเขียนตั้งแต่การบวชเป็นสามเณร การศึกษา
    สมณศักดิ์ การเทศน์ ปฏิปทา จริยาวัตร ความเป็นอัจฉริยะบุคคล
    และงานก่อสร้างต่างๆ
    สรุป 😊 มีเขียนเพิ่มเติมครับ

  • @user-zn8dh2cm5v
    @user-zn8dh2cm5v หลายเดือนก่อน

    ทำเรื่อยๆครับอาจมีที่ตกหล่นตามวัดที่เขาไม่ได้ยึดตามวัดที่ดขาปั่นเเล่ะขายเเพงๆครับ

  • @radmi2370
    @radmi2370 หลายเดือนก่อน

    ท่านได้สร้างและลงบันทึกใว้ชัดเจนอยู่แล้ว มาสมัยนี้ไม่ยอมรับบันทึกหลังฐานที่มีเพียงเพราะผลประโยชน์ล้วนๆ

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน +1

      ครับผม

  • @Test-ow5we
    @Test-ow5we หลายเดือนก่อน +1

    หาหลักฐานเหมือนโอีตบางแพเลย

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน

      ดีไหมครับ

    • @user-fe5yh7bn9m
      @user-fe5yh7bn9m หลายเดือนก่อน

      ท่านคนชอบสร้างบรรจุกรุเช่นกรุวัดเกศไชโยกรุวัดบางขุนพรหมแต่ละกรุ88000องค์เป็นอย่างน้อย

    • @JoyJoy-wl5bi
      @JoyJoy-wl5bi หลายเดือนก่อน

      จิตรกรรมฝาผนังวัดอินทรวิหารนี้ ไม่ได้เขียนภาพไตรภูมิ
      ภาพพุทธประวัติ ภาพมารผจญ ตามธรรมเนียมนิยมรัตนโกสินทร์
      ด้วยพระเทพวิสุทธาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดอินทรวิหาร ดำริว่า
      แต่เดิมโบสถ์หลังนี้ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พฺรหฺมรํสี)
      ได้ให้ช่างเขียนประวัติของท่าน บุคคลคุ้นเคย
      และสิ่งต่างๆที่ท่านได้พบเห็นไว้
      เมื่อทางวัดทำการบูรณะอุโบสถขึ้นใหม่ตาม แบบอุโบสถเดิม
      และได้แบบร่างที่คัดลอกจากภาพเขียนเก่าไว้มาโดยเหตุน่าอัศจรรย์
      จึงให้ช่างเหลียง แซ่อั๊ง เขียนภาพตามแบบคัดลอกเดิม
      ซึ่งเมื่อเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
      วัดสะเกศมาเห็น ท่านเล่าว่าในสมัยที่ท่านเป็นสามเณร
      เคยได้เข้ามาดู กับหลวงพี่ชม วัดใหม่
      (พระครูบริหารคุณวัตร วัดใหม่อมตรส บางขุนพรหม)
      และว่า "เหมือนภาพเดิมทุกประการ"
      และเพื่อให้ "อุโบสถาคาร" วัดอินทรวิหารหลังนี้
      เป็นอนุสรณ์สถานของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
      นอกเหนือไปจาการใช้เป็นสถานที่สำหรับสงฆ์ทำสังฆกรรม
      ฝาผนังอุโบสถตอนบนที่ยังคงว่างอยู่ จึงให้ช่างเขียน
      พิมพ์ อินทรวิชะ และผู้ร่วมงาน เขียนภาพประวิติของ
      สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) เพิ่มเติมให้สมบูรณ์
      โดยเริ่มเขียนตั้งแต่การบวชเป็นสามเณร การศึกษา
      สมณศักดิ์ การเทศน์ ปฏิปทา จริยาวัตร ความเป็นอัจฉริยะบุคค
      Keywords = เขียนเพิ่มเติม

  • @user-zk7up3lh8g
    @user-zk7up3lh8g หลายเดือนก่อน

    ช่วยหาประวัติคนเลื่อยขอบเหรียญพระ ชื่ออะไร ใช่เลื่อยอะไรเลื่อย ใบเลื่อยตัวเลื่อยใช้ของไทยหรือนำเข้า ให้ฟังเป็นวิทยาทานด้วยครับ

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน

      คนเลื่อยมักจะเป็น ช่างฝีมือ (ช่างฉลุ ช่างทอง)
      ใบเลื่อยของไทย(ลักษณะเหมือนเส้นลวด)
      ด้ามจับวงพระจันทร์
      เลี่ยยโดยเจาะรู ร้อยลวดแล้วฉลุ
      ถามว่ายุค : 24×× มีเลื่อยฉลุแล้วหรือ?
      ตอบ : พระปรุหนังอยุธยา หรือเครื่องใช้ลายฉลุ สมัยอยุธยา มีให้เห็นมานานแล้ว ไม่ผิดปกติหากยุค24×× จะมีการฉลุเหรียญครับ

  • @aloha1995
    @aloha1995 หลายเดือนก่อน +1

    คุณปอนด์ผมมีพระต้องสงสัยอยู่1องค์ พระผงหลังพระนามย่อพระเทพพระมรดกเลี่ยมกรอบนพเก้าติดมากับสร้อยทองสุโขทัยครับ ผมหาข้อมูลมาหลายวันแล้วหมดปัญญาจริงๆครับ😂 ทักเฟสไปขอความคิดเห็นได้ไหมครับอยากรู้ว่าพระอะไร

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน +3

      ถ่ายลงในช่อง youtube ครับเดี๋ยวผมไปดู

    • @Nat_Nat77
      @Nat_Nat77 หลายเดือนก่อน +3

      ​@@Ponjiraphat เป็นรูปนะครับลงในชุมชนแล้วเมื่อกี้ ช่องนี้นะครับคนเดียวกัน ถ้ารูปพิจารณายากถ่ายคลิปต้องพรุ่งนี้ลองมาชมก่อนครับ😅

    • @aloha1995
      @aloha1995 หลายเดือนก่อน +1

      @@Nat_Nat77 👍👍👍

    • @Ponjiraphat
      @Ponjiraphat  หลายเดือนก่อน +1

      ดูแล้วน่าจะราวปี30 ขึ้นมา ไม่ทราบชื่อรุ่น

    • @aloha1995
      @aloha1995 หลายเดือนก่อน +1

      @@Ponjiraphat ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นครับ🙏

  • @user-cm4cd8pn9u
    @user-cm4cd8pn9u หลายเดือนก่อน

    ดูคลิปน้องปังปอนด์ ( ดีกว่า )พลิกเจอคลิปเซียนห้าง? (ฝากไห้คิด )