ทดสอบ COOLANTแบบผสมน้ำ/แบบผสมมาให้แล้ว ประสิทธิภาพเป็นยังไงมาดูกัน

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 10 ม.ค. 2025

ความคิดเห็น • 39

  • @suebsakm
    @suebsakm ปีที่แล้ว +4

    น้ำยา Coolant ที่เติมในระบบระบายความร้อนเพื่อ
    1. เพิ่มจุดเดือดของน้ำในระบบหล่อเย็น
    2. ป้องกันการเกิดสนิมในระบบ
    3. ไม่กัดกล่อนอะลูมิเนียม และโลหะ
    4. ไม่ทำลายท่อยางต่างๆ ที่เชื่อมต่อระบบ
    5. คุณสมบัติด้านอื่นๆ เช่น ก่ีติดไฟ การป้องกันการเกิดฟองอากาศ การเกิดขี้เถ้า/ตกตะกอน การป้องกันการแข็งตัว การแยกตัวจากน้ำหล่อเย็น ... เป็นต้น (เป็นไปตามมาตรฐาน ASTM หรือ American Society for Testing and Materials.)
    ทั้งนี้ การเพิ่มจุดเดือด นอกจากการเิตม coolant แล้ว จะใช้วิธีการเพิ่มแรงดันในระบบหล่อเย็น โดยฝาปิดหม้อน้ำที่ทนแรงดัน(ตามแต่ค่ายรถยนต์จะออกแบบ) ซึ่งน้ำธรรมดาที่ไม่ผสม coolant ปกติจะเดือด 100 องศาเซลเซียส ก็จะสามารถมีจุดเดือดเกินกว่า 100 องศาเซลเซียส ได้
    เมื่อเติมน้ำยา coolant ผสมเข้าในระบบตามอัตราส่วนที่เหมาะสม จุดเดือดของน้ำในระบบหล่อเย็นจะเพิ่มขึ้นไปได้กว่า 100 องศาเซลเซียส
    รถยุโรปหลายยี่ห้อ ความร้อนเครื่องยนต์ขณะใช้งาน มีอุณหภูมิมากกว่า 100 องศาเซลเซียส
    ต่างจากรถญี่ปุ่น ที่ความร้อนเครื่องยนต์ขณะใช้งาน มักมีอุณหภูมิไม่เกิน 100 องศาเซลเซียส
    น้ำยาหล่อเย็น / coolant มีอายุการใช้งาน สามารถเสื่อมสภาพจากการใช้งาน ทั้งระยะเวลา และความร้อน ควรได้รับการเปลี่ยนถ่ายตามระยะเวลาที่เหมาะสม โดยอาจอ้างอิงจากเวลาการใช้งาน เช่น 2 ปี หรือ เป็นระยะทาง เช่น ทุก 4 หมื่นกิโลเมตร
    ควรใช้ coolant ที่มีมาตรฐาน เพื่อป้องกันความเสียหายต่อระบบหล่อเย็น และเครื่องยนต์ หรือส่วนควบต่างๆ ที่ต่อเนื่องกับระบบ อันอาจเกิดจากคุณภาพของ coolant ที่ขาดคุณสมบัติในเรื่องต่างๆ

    • @familytmontour4707
      @familytmontour4707  11 หลายเดือนก่อน +1

      ขอบคุณสำหรับความรู้ดีที่แบ่งปันกันครับ❤❤❤

  • @4evthailand463
    @4evthailand463 ปีที่แล้ว +11

    ไฟจากหัวเตาแก๊สฝั่งซ้ายมือแรงกว่าฝั่งขวา ชัดเจน...น่าจะสลับเตาทดสอบบ้างครับ

    • @familytmontour4707
      @familytmontour4707  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับสำหรับคำแนะนำครับจะนำไปปรับปรุงในคลิปน่าครับ

  • @buzzit3104
    @buzzit3104 ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณมากครับที่ทำคลิปดีๆ มาให้ดูครับ

  • @KiTTYKNiGHT168
    @KiTTYKNiGHT168 2 หลายเดือนก่อน +1

    มันต้องต้ม ที่ละตัวครับ ถ้าจะทดสอบจิงๆ ทำพร้อมกัน มันดูยากครับ ต้องใช้เตาแก๊สตัวเดียวกันด้วยต้องเปิดสุดเท่ากันด้วย ต้องวัดทีละตัว ทำพร้อมกันดูยากครับ

  • @chatchaiarun2324
    @chatchaiarun2324 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดคับ ความรู้ดีๆมีสาระ

  • @chaiyapornhongprom6744
    @chaiyapornhongprom6744 ปีที่แล้ว +5

    ขอเสนอแนะ​น่าจะสลับหัวเตาแก็ส​ดูบ้าง​

    • @familytmontour4707
      @familytmontour4707  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำครับ

  • @sarayutsuklerdwatthana3281
    @sarayutsuklerdwatthana3281 ปีที่แล้ว +3

    ผมใช้ของปตทครับไมาแพงคุณภาพผ่านครับเห็นผลชัดเจนเลย
    ถูกกว่าของพี่โตเยอะเลย
    ผมใช้กับรถสามคันเห็นลัดเจนครับลองใช้ดูแลัวจะติดใจอย่าบ้ายี่หัอเลย

  • @chaiyapornhongprom6744
    @chaiyapornhongprom6744 ปีที่แล้ว +3

    ตัวผสมเสร็จมาจาก​โรงงาน​ใช้กับisuzu​ d-max​ ตั้งแต่​ ปี05-all​new​ ได้ไหม​

  • @tatakungtomsan1799
    @tatakungtomsan1799 ปีที่แล้ว +1

    เสียดายน่าจะเวลาจุดเดือด กี่องศา ครับ แต่ก็ขอบคุณที่ทำให้ดู

    • @familytmontour4707
      @familytmontour4707  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำครับ

  • @armg3160
    @armg3160 หลายเดือนก่อน

    น่าจะทดสอบการเกิดสนิมด้วยคับตัดเหล็กแช่ไว้สัก2-3อาทิตย์ ดูการเกิดสนิมของแต่ละอย่างว่าเป็นอย่างไรคับ

  • @SRISAKET01MAN
    @SRISAKET01MAN ปีที่แล้ว +4

    เช๊คจุดเดือดผิดหลักการไปนะ
    คุณควรวัดว่าเขาเดือดที่อุณหภูมิเท่าไหร่ ถึงจะเปรียบเทียบกันได้ ส่วนแบบที่คุณทำมันวัดอะไรไม่ได้เลย หรือคุณต้องการให้เห็นความต่างของอะไร

  • @prasitphoaphan1884
    @prasitphoaphan1884 ปีที่แล้ว +3

    เยี่ยมเลย

  • @sinfadzakub
    @sinfadzakub ปีที่แล้ว +1

    ตัวที่เราสงสัยมักจะไปอยู่ฝั่งเตาที่มีเปลวไฟอ่อนกว่าตลอดเลยครับ😊😅

    • @familytmontour4707
      @familytmontour4707  ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ จะนำไปปรับปรุงและแก้ไขครับ

  • @mahagam007
    @mahagam007 ปีที่แล้ว +1

    ผมสงสัยหน้าที่ของน้ำหล่อเย็นคือทำหน้าที่พาความร้อนจากเครื่องยนต์ไปส่งที่คอยร้อน แล้วการที่น้ำเดือดเร็วคือพาความร้อนได้ดี(ระบายความร้อนจากเครื่องได้ดี) อันที่เดือดช้ากว่าก็จะพาความร้อนได้น้อยกว่า พี่วัดประสิทธิภาพด้านไหนกันแน่

  • @huaweipro5921
    @huaweipro5921 4 หลายเดือนก่อน

    แบบกระลอน5ลิตร​ผสม​เสร็จ​มาแล้ว​ ผมมาผสม​น้ำสอาดอีก3ลิตร​ ใส่ในหม้อน้ำแล้วรถจะเป็นอะไรมั้ยครับ
    อีซูซุ​ออ​ออ​นิว​1.9​ปี​2020​

  • @nmobileshop4575
    @nmobileshop4575 4 หลายเดือนก่อน

    ไฟแรงมากข้างหนึ่งอีกข้างไฟเบา

  • @chaokhun1
    @chaokhun1 ปีที่แล้ว +3

    ผมเคยใช้แบบ อีซุซุ แกลลอนเขียว 3 ลิตร สูตรเข้มข้น แต่ผมไม่ได้ผสมน้ำ เติมเพียว ๆ 2 แกลลอนใช้ได้ประมาณ 2 ปี ถ่ายน้ำออกเป็นสีน้ำตาลไหม้เลย
    น่าจะทดสอบ แกลลอนเขียว3 ลิตร สูตรเข้มข้น ว่าจะทนความร้อนดีกว่าแบบแกลลอน 5 ลิตร ที่ผสมมาแล้วจากโรงงานหรือเปล่า

    • @applekorat4037
      @applekorat4037 ปีที่แล้ว +5

      ใช้งานผิดวิธีกัดกร่อนหม้อน้ำนะครับ น้ำเป็นตัวถ่ายเทความร้อนส่วนน้ำยาที่ผสมมีหน้าที่ หล่อลื่นปั้มน้ำ/ป้องการเกิดสนิมในระบบ/เพิ่มจุดเดือดของน้ำครับ

    • @ttthai6651
      @ttthai6651 ปีที่แล้ว +3

      มันต้องผสมน้ำนะ

    • @ชื่อนามสกุล-ส8ส
      @ชื่อนามสกุล-ส8ส ปีที่แล้ว +2

      มันจะมีผลเสียกับเครื่องยนต์ ในระยะยาวๆ อีกไม่นานคงได้ยกเครื่องใหม่😂😂😂

  • @pauline001
    @pauline001 ปีที่แล้ว +2

    ไปหัดตัดต่อวิดีโอก่อน เทกลับไปกลับมาเสียเวลาคนดู

    • @familytmontour4707
      @familytmontour4707  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับสำหรับคำติชมครับจะนำไปแก้ไขและปรับปรุงครับ

  • @ริน-ม5ห
    @ริน-ม5ห ปีที่แล้ว +1

    สรุปซื้อแบบผสมเสร็จดีกว่าใช่ใหม มันเดือดช้ากว่า

    • @familytmontour4707
      @familytmontour4707  ปีที่แล้ว

      ความคิดเห็นส่วยนะครับ แบบผสมมาจากโรงงานน่าจะดีกว่าและมีมาตราฐานกว่าครับแต่ราคาแรงไปนิดหน่อยถ้าถูกกว่านี้น่าจะดีครับ

  • @sirikarnmaithong1294
    @sirikarnmaithong1294 4 หลายเดือนก่อน

    น้ำกลั่นมีสารบางอย่างไว้ใส่กับแบตเตอรี่รถยนต์ผสมกับน้ำกรดเพื่อให้เกิดการระบายดียิ่งขึ้นน้ำกลั่นจึงร้อนเร็ว

  • @prasitphoaphan1884
    @prasitphoaphan1884 ปีที่แล้ว +3

    เยี่ยมเลย