เรื่องเล่าตำนาน พระพุทธชินราช มานีมีเรื่องเล่า

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 6 มี.ค. 2018
  • ตำนานเรื่องเล่าที่เป็นเรื่องจริง มีการจดบันทึกวันหล่อพระพุทธชินราช การหล่อนั้นหล่อพร้อมกันสามองค์ ตามเรื่องเล่าตำนานไทย มีพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์ และพระศรีศาสดา พระพุทธชินราชผ่านการศึกสงครมมาหลาย่อหลายครั้งแต่ไม่เคยโดนพม่าทำลายแต่อย่างไร นี่ไม่ใช่เรื่องเล่าชาวบ้านแต่เป็นเรื่องจริง เชิญรับฟังค่ะ ท่านใดชอบเรื่องเล่าตำนานต่างๆ เรื่องเล่าตำนานไทย กดติดตามไว้นะคะ
  • บันเทิง

ความคิดเห็น • 11

  • @user-ru1hv4tb2t
    @user-ru1hv4tb2t ปีที่แล้ว

    ข้าพเจ้าอยากไปไหว้จริงๆครับ

  • @panjapornk1074
    @panjapornk1074 4 ปีที่แล้ว +1

    ลูกอยากไปกราบ ขอให้ลูกสมหวัง ได้ไปกราบ พระพุทธชินราช สาธุ สาธุ สาธุ

  • @user-ru1hv4tb2t
    @user-ru1hv4tb2t ปีที่แล้ว

    แต่เป็นของสัตว์หิมพานต์อีกชนิดครับ แต่ก็ไม่รู้ว่าเป็นตัวอะไรครับ

  • @parsongbutomo9962
    @parsongbutomo9962 3 ปีที่แล้ว

    สาธุ สาธุ สาธุ

  • @susucoma2812
    @susucoma2812 5 ปีที่แล้ว +1

    สาธุ

  • @humhumhumomahhum929
    @humhumhumomahhum929 3 ปีที่แล้ว

    🙏🙏🙏

  • @user-ru1hv4tb2t
    @user-ru1hv4tb2t ปีที่แล้ว

    เรือนแก้วที่ล้อมองค์พระพุทธชินราชอยู่ ไม่ใช่ตัวของพญานาคครับ

  • @thesun8604
    @thesun8604 5 ปีที่แล้ว +1

    เคยไปกราบแล้วหนึ่งครั้ง

  • @nopdolthepsoontorn9685
    @nopdolthepsoontorn9685 ปีที่แล้ว

    “พระพุทธชินราช" ไม่ได้เป็นพุทธศิลป์แบบสุโขทัย // หากพิจาณาจะพบว่าเป็นพุทธศิลป์แบบเชียงแสนที่ปรากฏเป็นส่วนใหญ่ โดยพิจารณาได้จาก 1.ดูจากรูปทรงองค์พระที่จะอวบอ้วนเหมือนพระเชียงแสนทั่วไป 2. พระโอษฐ์ไม่มีรอยหยักและไม่แย้มสรวญเช่นพระสุโขทัย 3. ฐานองค์พระเป็นแบบฐานบัวคว่ำบัวหงาย จะไม่มีและไม่พบในพุทธศิลป์แบบสุโขทัยเด็ดขาด 4.พระนาสิกจมูกจะไม่ยื่นยาวและโด่งมากเหมือนพระสุโขทัย 5. พระกรรณ(หู)จะมีติ่งบนพระกรรณค่อนไปด้านหลังเป็นพุทธศิลป์เฉพาะแบบเชียงแสน 6.พระพักต์จะมีลักษณะที่มีความคล้ายมนุษย์มากกว่า 7. พระถันจะเห็นหัวพระถันเพียงด้านเดียว และจะเห็นหัวพระถันที่ไม่ชัดเจน 8.นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทจะเสมอกัน ซึ่งจะไม่มีในพุทธศิลป์แบบสุโขทัยเด็ดขาด แต่มีพุทธลักษณะเช่นเดียวกับพระเจ้าเก้าตื้อเมืองเชียงใหม่ที่เป็นพุทธศิลป์แบบเชียงแสน
    ในการสร้างนั้น สร้างโดยพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก (เจ้าเมืองเชียงแสน) ที่มาตีเมืองศรีสัชนาลัย จึงได้ให้ช่างชาวเชียงแสนช่างหริภุญชัย และช่างศรีสัชนาลัย มาร่วมกันออกแบบสร้าง ตามพระราชประสงค์ของพระองค์ พุทธลักษณะจึงไม่ตรงกับสุโขทัยเลย แต่จะเป็นแบบพุทธศิลป์แบบเชียงแสนโดยตรง.. (ซึ่งพุทธลักษณะตามที่กล่าวรวมทั้งหมด จึงตรงต้องตามตำนานของพงศาวดารเหนือที่กล่าวไว้ข้างต้น)
    **หมายเหตุ ในยุคของพระมหาธรรมราชาลิไทนั้น จะมีการสร้างพระพุทธรูปเป็นแบบพุทธศิลป์สุโขทัยที่เรียกว่าเป็นแบบหมวดใหญ่ ที่มีพุทธศิลปแบบสุโขทัยที่แตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเจนมาก (จะไม่มีพุทธศิลป์แบบเชียงแสนตามที่กล่าวไว้ข้างต้นเลย) // และที่น่าสังเกตว่า ตามที่กล่าวมาที่ว่า พระมหาธรรมราชาลิไทให้ช่างชาวเชียงแสนและหริภูญชัย มาร่วมสร้างกับช่างศรีสัชนาลัยนั้น มันขัดกับความเป็นจริงมาก เพราะสุโขทัยมีช่างตั้งมากมาย จึงไม่จำเป็นที่จะต้องใช้ช่างจากที่อื่น มาทำการร่วมสร้างด้วย และจะนำเอาช่างจากเชียงแสนและหริภุญชัย มาร่วมสร้างโดยวิธีใด (บังคับหรือจ้างมา) จึงไม่มีความเป็นสมมติธรรมแต่อย่างใด ดังนั้น พระมหาธรรมราชาลิไทจึงไม่ได้เป็นผู้สร้างในสมัยพระองค์อย่างแน่นอน เพราะยุคสมัยพระมหาธรรมราชาลิไทนี้ จะมีการสร้างพระพุทธรูปแบบศิลปะสุโขทัยที่เรียกว่า “ศิลปสุโขทัยหมวดใหญ่” ซึ่งมีพุทธลักษณะที่แตกต่างกับพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์โดยสิ้นเชิง

  • @user-ej2mx9lu9r
    @user-ej2mx9lu9r 4 ปีที่แล้ว +1

    เคยไปกราบสักการะมาแล้วสวยงามมากครับสาธุครับ

  • @SunnySunny-sc2zi
    @SunnySunny-sc2zi 5 ปีที่แล้ว +1

    สาธุ สาธุ สาธุ