ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ทางใบให้ฉีดปุ๋ยเกล็ด สูตร 20-20-20 TE และหลังจากนั้น 3-4 วันให้พ่น แคลเซื่ยม-โบรอน +อะมิโนซิงค์ส่วนทางดิน ให้ใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15+15-0-0 อัตรา 2:1 พอหลังจากนั้นได้ 15วันให้เปลื่ยนสูตรเป็น 15-5-20 พอได้15วันก็ให้กลับไปใช้สูตร 15-15-15+15-0-0 อีก สลับไปเรื่อยๆ และทุกครั้งที่ใส่ปุ๋ยอาจจะยังต้องราด รด ด้วยฮิวมิกทับลงไปหลังจากที่ใส่ปุ๋ยทุกคร้ง จนกว่าใบมะละกอจะหายเหลือง ถึงจะหยุดใส่ฮิวมิก
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำค่ะ
@@Suan-San-Suk การทำมะละกอให้ประสบผลสำเร็จ ก็ใช่ว่าจะใส่แต่เคมีอย่างเดียว ก็จำเป็นจะต้องสลับกับปุ๋ยอินทรีย์บ้าง สำหรับมืออาชีพที่ปลูกมะละกอเก่งๆ เขาใช้น้ำสกัดมูลหมู เหตุผลที่ต้องใช้เพราะว่า เขาต้องการให้มะละกอนั้น บ้าใบหรือ มีใบเยอะๆ มะละกอนั้นต้นจะโทรมยาก เก็บลูกได้หลายรุ่นวิธีทำน้ำสกัดมูลหมู นั้นก็ไม่ยาก นำมูลหมู บรรจุลงในถุงไนลอน (มุ้งเขียว) แล้วแช่ในน้ำ อัตราส่วนมูลสุกร 1 กิโลกรัมต่อน้ำ 10 ลิตร (จะได้น้ำสกัดได้ประมาณ 8 ลิตร) ปิดฝาถังให้สนิท และหมักไว้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วยกถุงที่บรรจุมูลสุกรออกจากถังจะได้น้ำสกัดมูลสัตว์สีน้ำตาลใส ซึ่งควรบรรจุเก็บไว้ในถังหรือภาชนะที่มีฝาปิด น้ำสกัดมูลสัตว์ที่ได้สามารถหมักเก็บไว้ใช้ได้นาน ซึ่งจะทำให้น้ำสกัดใสยิ่งขึ้น และมีธาตุอาหารในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในปริมาณมากยิ่งขึ้น การทำน้ำสกัดมูลสัตว์จะทำให้ประหยัดกว่าการใช้มูลสัตว์เป็นปุ๋ยทางดินโดยตรง เนื่องจากมูลสัตว์แห้ง 1 กิโลกรัม ทำน้ำสกัดได้ประมาณ 8 ลิตร นำน้ำสกัดส่วนใสที่ได้มาเจือจางกับน้ำได้ 10 - 20 เท่า เป็น 80 - 160 ลิตร +EM ที่ขยายแล้ว 0.5-1ลิตร เพื่อใช้เป็นปุ๋ยรดทางดินหรือปล่อยไปกับระบบสปริงเกอร์ หรือจะใช้เครื่องฉีดลงดินก็ได้ ***(ทุกครั้งที่ฉีดลงดิน จะต้องรดน้ำให้เสร็จตามปกติก่อน แล้วถึงจะฉีดลงดินได้) ส่วนกากของมูลสัตว์ที่เหลือ สามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยทางดินได้เลยโดยไม่ต้องเสียเวลาหมักนานถึง 45 วัน เหมือนปุ๋ยหมักทั่วไป หมายเหตุ.....ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือน้ำสกัดมูลสัตว์ ไม่ควรใส่ในฤดูฝน เด็ดขาด เพราะมันอาจจะทำให้เกิดการเค็มปุ๋ยได้ จนทำให้พืชนั้นเกิดเป็นโรคโคนเน่า รากเน่าได้
แล้วหน้าฝนควรบำรุงต้นพืชอย่างไรครับ
@@suriyajaisai4646 ส่วนใหญ่หน้าฝนจะใช้ปุ๋ยทางใบ ส่วนปุ๋ยทางดิน หากจำเป็นต้องใส่จริงๆ ต้องดูหน้าดิน ให้รู้สึกแห้ง หมาดๆ จึงจะใส่ได้ ห้ามใส่ในเวลา ฟ้าปิด ไม่ค่อยมีแสง ดินแฉะๆ ในดินที่ไม่มี ออกซิเจนหรืออากาศ รากพืชเขาจะไม่กินปุ๋ย ฉะนั้นถ้าใส่ปุ๋ยทางดินลงไปอาจเกิดอาการเค็มปุ๋ยได้ มะละกอจะแสดงอากาศค่อยๆเหี่ยวเฉาและใบเหลืองได้ จนถึงอาจจะทำให้รากเน่าได้
สวัสดีครับเพือนใหม่ครับมาชมสวนมะละกอการดูแลรักษามะละกอฉีดพ่นยูเรียทางใบให้อาหารทางใบให้กำลังใจ++1ติดตามกดกระดิ่งให้ครับ
🙏ขอบคุณมากๆ ค่ะ 😍
ไม่เข้าเนื้อหาสักทีอ้อมไปไม่น่าสนใจ
ไว้จะเข้าเนื้อหาและปรับปรุงให้ไวขึ้นแล้วมา commentใหม่ค่ะ 🙏
ขาดสานในโตเจน
ทางใบให้ฉีดปุ๋ยเกล็ด สูตร 20-20-20 TE และหลังจากนั้น 3-4 วันให้พ่น แคลเซื่ยม-โบรอน +อะมิโนซิงค์
ส่วนทางดิน ให้ใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15+15-0-0 อัตรา 2:1 พอหลังจากนั้นได้ 15วันให้เปลื่ยนสูตรเป็น 15-5-20 พอได้15วันก็ให้กลับไปใช้สูตร 15-15-15+15-0-0 อีก สลับไปเรื่อยๆ และทุกครั้งที่ใส่ปุ๋ยอาจจะยังต้องราด รด ด้วยฮิวมิกทับลงไปหลังจากที่ใส่ปุ๋ยทุกคร้ง จนกว่าใบมะละกอจะหายเหลือง ถึงจะหยุดใส่ฮิวมิก
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำค่ะ
@@Suan-San-Suk การทำมะละกอให้ประสบผลสำเร็จ ก็ใช่ว่าจะใส่แต่เคมีอย่างเดียว ก็จำเป็นจะต้องสลับกับปุ๋ยอินทรีย์บ้าง สำหรับมืออาชีพที่ปลูกมะละกอเก่งๆ เขาใช้น้ำสกัดมูลหมู เหตุผลที่ต้องใช้เพราะว่า เขาต้องการให้มะละกอนั้น บ้าใบหรือ มีใบเยอะๆ มะละกอนั้นต้นจะโทรมยาก เก็บลูกได้หลายรุ่น
วิธีทำน้ำสกัดมูลหมู นั้นก็ไม่ยาก
นำมูลหมู บรรจุลงในถุงไนลอน (มุ้งเขียว) แล้วแช่ในน้ำ อัตราส่วนมูลสุกร 1 กิโลกรัมต่อน้ำ 10 ลิตร (จะได้น้ำสกัดได้ประมาณ 8 ลิตร) ปิดฝาถังให้สนิท และหมักไว้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วยกถุงที่บรรจุมูลสุกรออกจากถังจะได้น้ำสกัดมูลสัตว์สีน้ำตาลใส ซึ่งควรบรรจุเก็บไว้ในถังหรือภาชนะที่มีฝาปิด น้ำสกัดมูลสัตว์ที่ได้สามารถหมักเก็บไว้ใช้ได้นาน ซึ่งจะทำให้น้ำสกัดใสยิ่งขึ้น และมีธาตุอาหารในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในปริมาณมากยิ่งขึ้น การทำน้ำสกัดมูลสัตว์จะทำให้ประหยัดกว่าการใช้มูลสัตว์เป็นปุ๋ยทางดินโดยตรง เนื่องจากมูลสัตว์แห้ง 1 กิโลกรัม ทำน้ำสกัดได้ประมาณ 8 ลิตร นำน้ำสกัดส่วนใสที่ได้มาเจือจางกับน้ำได้ 10 - 20 เท่า เป็น 80 - 160 ลิตร +EM ที่ขยายแล้ว 0.5-1ลิตร เพื่อใช้เป็นปุ๋ยรดทางดินหรือปล่อยไปกับระบบสปริงเกอร์ หรือจะใช้เครื่องฉีดลงดินก็ได้ ***(ทุกครั้งที่ฉีดลงดิน จะต้องรดน้ำให้เสร็จตามปกติก่อน แล้วถึงจะฉีดลงดินได้) ส่วนกากของมูลสัตว์ที่เหลือ สามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยทางดินได้เลยโดยไม่ต้องเสียเวลาหมักนานถึง 45 วัน เหมือนปุ๋ยหมักทั่วไป
หมายเหตุ.....ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือน้ำสกัดมูลสัตว์ ไม่ควรใส่ในฤดูฝน เด็ดขาด เพราะมันอาจจะทำให้เกิดการเค็มปุ๋ยได้ จนทำให้พืชนั้นเกิดเป็นโรคโคนเน่า รากเน่าได้
แล้วหน้าฝนควรบำรุงต้นพืชอย่างไรครับ
@@suriyajaisai4646 ส่วนใหญ่หน้าฝนจะใช้ปุ๋ยทางใบ ส่วนปุ๋ยทางดิน หากจำเป็นต้องใส่จริงๆ ต้องดูหน้าดิน ให้รู้สึกแห้ง หมาดๆ จึงจะใส่ได้ ห้ามใส่ในเวลา ฟ้าปิด ไม่ค่อยมีแสง ดินแฉะๆ ในดินที่ไม่มี ออกซิเจนหรืออากาศ รากพืชเขาจะไม่กินปุ๋ย ฉะนั้นถ้าใส่ปุ๋ยทางดินลงไปอาจเกิดอาการเค็มปุ๋ยได้ มะละกอจะแสดงอากาศค่อยๆเหี่ยวเฉาและใบเหลืองได้ จนถึงอาจจะทำให้รากเน่าได้
สวัสดีครับเพือนใหม่ครับมาชมสวนมะละกอการดูแลรักษามะละกอฉีดพ่นยูเรียทางใบให้อาหารทางใบให้กำลังใจ++1ติดตามกดกระดิ่งให้ครับ
🙏ขอบคุณมากๆ ค่ะ 😍
ไม่เข้าเนื้อหาสักทีอ้อมไปไม่น่าสนใจ
ไว้จะเข้าเนื้อหาและปรับปรุงให้ไวขึ้น
แล้วมา commentใหม่ค่ะ 🙏
ขาดสานในโตเจน