ฟังแนวคิดการออกแบบรัฐสภาแห่งใหม่ พร้อมถามทุกคำถามที่ผู้คนสงสัย (ENG.SUB.)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 1 มิ.ย. 2024
  • English Subtitles available now !! (adjust font size by clicking 'gear' icon at the bottom right)
    ...
    - design fun:D EP.83 -
    อีพีนี้ผมมีโอกาสได้พูดคุยกับอาจารย์โหน่ง - ชาตรี ลดาลลิตสกุล หัวหน้าทีมสงบ 1051 ซึ่งเป็นทีมออกแบบรัฐสภาแห่งใหม่ - สถาปัตยกรรมแห่งชาติในรอบ 100 ปี
    ผมคิดว่านี่เป็นหนึ่งคอนเทนต์ที่มีคนอยากฟังและอยากดูมากที่สุด มีประเด็นที่ผู้คนพูดถึงมากมาย
    เรื่องราวของรัฐสภานั้นมีความละเอียดอ่อนและอาจถูกโยงไปเกี่ยวเนื่องกับประเด็นอื่นๆ ได้มากมาย
    แต่ผมตั้งใจนำเสนอคอนเทนต์นี้โดยโฟกัสไปที่งานออกแบบเท่านั้นนะครับ
    เราพยายามผลิตคอนเทนต์นี้ด้วยความระมัดระวัง และมีเจตนาในการผลิตที่ชัดเจน
    ** สิ่งที่อยากบอกทุกคนก็คือ อยากให้ดูคอนเทนต์นี้จนจบคลิปนะครับ **
    ฟังเรื่องราวและมุมมองของผู้ออกแบบอย่างละเอียด
    คุณอาจจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับแนวคิดการออกแบบก็ได้
    เป็นเรื่องปกติที่เราจะไม่เห็นด้วยกับแนวคิดในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมครับ
    และเราลองมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ครับ
    ขอขอบคุณ (Thank you) ผู้ออกแบบหลัก : สงบ ๑๐๕๑
    ประธานโครงการ : ธีรพล นิยม (ศิลปินแห่งชาติ)
    ผู้อำนวยการโครงการ :บุญฤทธิ์ ขอดิลกรัตน์
    ผู้จัดการโครงการ : เอนก เจริญพิริยะเวศ
    หัวหน้าทีมออกแบบ : ชาตรี ลดาลลิตสกุล (ศิลปินแห่งชาติ) ภูมิสถาปนิก : ปิยเมศ ไกรฤกษ์
    สถาปัตยกรรมหลัก : บริษัท อาศรมสถาปนิกชุมชน และสิ่งแวดล้อม จำกัด สถาบันอาศรมศิลป์,
    บริษัท ต้นศิลป์ สตูดิโอ จำกัด, บริษัท แปลน สตูดิโอ จำกัด, บริษัท แปลนแอสโซซิเอทส์ จำกัด
    ภูมิสถาปัตยกรรม : บริษัท บลูแพลนเนต ดีไซน์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
    สถาปัตยกรรมภายใน : สงบ ๑๐๕๑, บริษัท ออกัสท์ ดีไซน์ คอนซัลแตนท์ จำกัด
    บริษัท เดกา อินทีเรีย จำกัด, บริษัท ภวรินทร์ จำกัด
    วิศวกรโครงสร้างและโยธา : บริษัท เค ซี เอส แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด
    วิศวกรเครื่องกล : บริษัท แปลน เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
    วิศวกรงานระบบสุขาภิบาล : บริษัท แปลน เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
    วิศวกรงานระบบลิฟต์และบันไดเลื่อน : บริษัท แปลน เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
    วิศวกรงานระบบไฟฟ้ากำลังและแสงสว่าง : บริษัท พาส เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
    วิศวกรงานระบบป้องกันอัคคีภัย : บริษัท ฟิวชั่นไฟร์ เซฟตี้ จำกัด
    วิศวกรระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ : บริษัท ฟิวชั่นไฟร์ คอนซัลแตนท์ จำกัด
    ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบหน่วยพยาบาลฉุกเฉิน : บริษัท วี สตูดิโอ จำกัด
    ผู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรมไทย : รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี : สถาปนิกอาวุโส (ศิลปินแห่งชาติ)
    อาจารย์ เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี : สถาปนิกอาวุโส (ศิลปินแห่งชาติ)
    ผศ. พงศกร ยิ้มสวัสดิ์ อ.ดร. วันชัย มงคลประดิษฐ์
    ผู้เชี่ยวชาญด้านประหยัดพลังงาน : รศ. ธนิต จินดาวณิค, ผศ.ดร. อรรจน์ เศรษฐบุตร
    วิศวกรเครื่องกลอาวุโส : จักรพันธ์ ภวังคะรัตน์
    หัวหน้าผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกันเพลิงไหม้ : พิชยะ จันทรานุวัฒน์์ หัวหน้าผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัย : บดินทร์ เจียรจิตเลิศ
    ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสวนศาสตร์ : รศ.ดร. วันชัย โพธิ์พิจิตร
    ดร. ธวัชชัย วิษณุกุลรัตน์
    ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบเพื่อทุกคน : รศ. ไตรรัตน์ จารุทัศน์
    ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบแสงสว่าง : บริษัท ไบโอ อาร์คิเทค จำกัด
    ผู้ออกแบบกราฟฟิค : บริษัท แปลน โมทีฟ จำกัด
    ผู้ประเมินราคา : บริษัท วอเทค จำกัด
    ช่างภาพ : ศรีรัฏฐ์ สมสวัสดิ์ , ณภาภัช สุวรรณนภกุล
    #designfund #gapthanavate #สัปปายะสภาสถาน #รัฐสภา #รัฐสภาใหม่ #Parliament #bangkok #thailand #แก๊ปธนเวทย์
    Facebook : / gapthanavate
    Instagram : / gapthanavate
    Subscribe : bit.ly/TH-cam_Gapthanavate
    Tiktok : vt.tiktok.com/ZSeobvMQw/
    ติดต่องานช่อง Gapthanavate : gaptect@gmail.com, 084 114 2400, 081 684 4977
    Join this channel to get access to perks:
    / @gapthanavate
    00:00 Intro
    00:45 ความหมายของรัฐสภา
    04:33 รัฐสภาจากการประกวดแบบ
    08:43 แนวคิดสัปปายะสภาสถาน
    13:50 ไตรภูมิ - ต้นกำเนิดความเป็นไทย
    18:41 คำถาม ... "ศีลธรรม ศาสนา vs อำนาจประชาชน ?"
    23:57 คำถาม ... "ทำไมต้องเหมือนวัด ?" / อัตลักษณ์ VS Globalization
    26:07 ความเหลื่อมล้ำทางศาสนา
    28:40 ความเป็นอื่นในตัวเรา
    30:20 การอยู่ร่วมกันของต่างศาสนา
    33:28 งานออกแบบส่วนยอดอาคาร
    35:58 ใครคือคนออกแบบส่วนยอด ?
    39:27 ภาพรวมงานออกแบบอาคาร
    48:15 งบประมาณในการก่อสร้าง
    53:00 พื้นที่ของประชาชน / สนามด้านหน้า -พื้นที่ริมน้ำ
    58:26 ส่วนยอดของอาคารที่ประชาชนเข้าถึงได้
    01:01:19 ความล่าช้า / ปัญหาเรื่องการก่อสร้าง
    01:06:43 เวลาที่เหมาะสม

ความคิดเห็น • 152