ย้อนตำนานรูปปั้นนางเงือกทอง สัญลักษณ์แหลมสมิหลา

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 26 ธ.ค. 2018
  • สงขลา 27 ธ.ค.-ย้อนไปดูตำนานนางเงือกทอง ซึ่งอยู่คู่กับชายหาดสมิหลา จ.สงขลา มานานเกินกว่าครึ่งศตวรรษ หลังกลางดึกของคืนที่ผ่านมา เกิดเหตุคนร้ายลอบวางระเบิดทำให้ส่วนหางของนางเงือกทองขาด ► www.tnamcot.com/view/mG_w_Ft
    ✮สมัครรับข้อมูลฟรี! Subscribe ► / tnamcot
    ✮ชมทุกตอน "ชัวร์ก่อนแชร์" ►goo.gl/zmgfeG
    ✮ข่าวดังข้ามเวลา ► goo.gl/rKcCQq
    ✮สกู๊ปพิเศษ ► goo.gl/Yw0ZIw
    ✮เห็นแล้วอึ้ง ► goo.gl/zFvXUA
    ✮เกษตรทำเงิน ► goo.gl/zF5aWu
    ✮เกษตรสร้างชาติ ► goo.gl/iSr814
    ✮ภาพมุมมองใหม่ | ท่องเที่ยววิถีไทยเก๋ไก๋สไตล์ลึกซึ้ง ► goo.gl/Z9DVHZ
    ------------------------------------
    ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD หมายเลข 30 | Thai News Agency MCOT
    ► เว็บ www.tnamcot.com
    ► เฟซบุ๊ก / tnamcot
    ► แอดไลน์ (LINE) @TNAMCOT หรือคลิก line.me/ti/p/%40tnamcot
    ► ทวิตเตอร์ / tnamcot
    ► อินสตาแกรม / tnamcot
    ► ยูทูบ / tnamcot
    ► ชมข่าวย้อนหลัง / tnamcot

ความคิดเห็น • 24

  • @montatipmuller5620
    @montatipmuller5620 4 ปีที่แล้ว +2

    คิดถึงสมิหราเป็นที่สุด ที่นั่นเป็นที่รวมความสุขความทรงจำดีๆสมัยที่พ่อแม่ยังมีชีวิตอยู่ ทุกครั้งที่กลับไทยเราจะไปสมิหราตลอก ถึงเราจะได้ไปเห็นที่เขาว่าสวยงาม แต่สำหรับฉันแหลมสมิหราสวยที่สุด คิดถึงจัง

  • @Chantawat2531
    @Chantawat2531 2 หลายเดือนก่อน

    เงือกทอง, พ.ศ. ๒๕๐๙
    เทคนิค บรอนซ์รมดำ
    สถานที่ แหลมสมิหลา จังหวัดสงขลา
    โดยศาสตราจารย์ (พิเศษ) ประกิต บัวบุศย์
    ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) พุทธศักราช ๒๕๔๕
    นางเงือก สร้างขึ้นตามดำริของนายชาญ กาญจนาคพันธุ์ ปลัดจังหวัดสงขลา ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองสงขลาด้วยในเวลานั้น ที่ต้องการสร้างสัญลักษณ์ของจังหวัดสงขลาให้ผู้คนได้รู้จัก โดยได้รับแรงบันดาลใจจากนิยายปรัมปราของไทยโบราณ ตามคำบอกเล่าของขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์) ถึงคืนท้องฟ้างาม ริมชายหาดแห่งหนึ่ง มีนางเงือกขึ้นมานั่งหวีผม บังเอิญว่ามีชายชาวประมงเดินผ่านมา ทำให้นางเงือกตกใจรีบหนีลงทะเลไป ทิ้งไว้แค่เพียงหวีทองคำ ชาวประมงได้เก็บหวีทองคำนั้นไว้และเฝ้าคอยนางเงือกที่หาดนั้นเสมอ แต่นางเงือกก็ไม่เคยปรากฏตัวให้เห็นอีกเลย
    ประติมากรรม นางเงือกได้รับการออกแบบพร้อมปั้นและหล่อเป็นบรอนซ์รมดำ ฝีมือของอาจารย์ประกิต(จิตร) บัวบุศย์ อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเพาะช่าง ที่ริเริ่มสร้างสรรค์งานประติมากรรมนางเงือกในท่านั่งหวีผม โดยใช้งบประมาณในการสร้าง ๖๐,๐๐๐ บาท เมื่อแล้วเสร็จจึงนำมาตั้งบนโขดหินที่แหลมสมิหลา ตั้งชื่อว่า “เงือกทอง” ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์ของจังหวัดสงขลา มาจนทุกวันนี้

  • @fahweecreamam2652
    @fahweecreamam2652 5 ปีที่แล้ว +5

    หนู​เคย​ไปแล้ว​ค่ะครู​พาไปเที่ยวหนู​ไปถ่ายรูป​กับนางเงือก​เเล้วค่ะ

    • @fvbbb4106
      @fvbbb4106 2 ปีที่แล้ว

      น้อนน

  • @user-uu9ud2qs7v
    @user-uu9ud2qs7v 3 ปีที่แล้ว +1

    นั่งรอเธอที่ สมิหลา นานมาแล้ว พระอภัยยังไม่มา...

  • @user-ve9tv3vq5u
    @user-ve9tv3vq5u 4 ปีที่แล้ว +6

    สงสานนางเงืกทองครับ
    เพราะว่า เขาคงรอพระอภัยกลับมา

    • @kingnewcity889
      @kingnewcity889 4 ปีที่แล้ว

      ชัดเจน

    • @noknuttaya1470
      @noknuttaya1470 4 ปีที่แล้ว

      55555

    • @iamqueen3739
      @iamqueen3739 3 ปีที่แล้ว

      คนละตำนานกันค่ะ

    • @SaSa-qk7xh
      @SaSa-qk7xh 3 ปีที่แล้ว

      ตำนานเดียวกันครับ กับเพลงนะ55555

  • @wutthiphatmengchuay2280
    @wutthiphatmengchuay2280 3 ปีที่แล้ว

    ผมไปบ่อยละครับอยู่หาดใหญ่

  • @user-nl1tl4fp8o
    @user-nl1tl4fp8o 3 ปีที่แล้ว +2

    หนูไปหลายรอบแล้วค่ะเพราะหนูอยู่จังหวัดสงขลา

  • @user-qu4cs4ur5x
    @user-qu4cs4ur5x 3 ปีที่แล้ว

    คนที่ทำลายปรูปั้นมันไปหนักหัวพ่อมัน

  • @prayutjanocha8655
    @prayutjanocha8655 2 ปีที่แล้ว

    ผมไปแล้ว

  • @user-lw8ni8gi9w
    @user-lw8ni8gi9w 3 ปีที่แล้ว

    เคยไปแล้วครับคิดถึงสุดๆ

  • @BB-mi4qm
    @BB-mi4qm 4 ปีที่แล้ว

    นางเงือกทองมีจิงค่ะสมัยก่อนเคยมีค่ะ

    • @tesg7699
      @tesg7699 3 ปีที่แล้ว +1

      เเยกเยอะให้ออกระหว่าง วรรณคดีเเละชีวิตจริง

    • @user-pu9ko2dg3t
      @user-pu9ko2dg3t 3 ปีที่แล้ว

      @@tesg7699 มันคือเรื่องราวจริงครับ แยกแยะออกครับ ประวัติจริงๆ แล้วเขาก้สร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักครับ

    • @jackcobain5529
      @jackcobain5529 ปีที่แล้ว

      งมงาย

  • @user-bj2mw8km6s
    @user-bj2mw8km6s 3 ปีที่แล้ว

    ไอ้คนที่ระเบิดคงไม่ตายดีหลอกครับ เชื่อซิ