ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
บ้านเรือนไทยโบราณก็ใช้เทคนิคที่คล้ายๆ แบบนี้ครับ เรียกว่าการเข้าไม้ แต่ทุกวันนี้หาคนที่ใช้เทคนิคนี้สร้างบ้านทั้งหลังยาก เพราะไม้มีราคาแพง และเสร็จช้ากว่าปูน เสียเวลาตอนเจาะ เซาะร่องนี่แหละครับ การประกอบเป็นบ้านใช้เวลาไม่กี่วัน ถ้าเรือนไทยเล็กๆ ก็ไม่ถึงวัน ...และที่สำคัญคือลูกหลานช่างฝีมือไม่ค่อยได้สืบทอดเอาไว้ครับ จึงหาช่างคนไทยที่สร้างบ้านด้วยวิธีเข้าไม้ ยากขึ้นทุกวัน
ช่างไม้เก่งๆหายากจริง
เดะนี้ตัดไม่นานแล้ว มีเครื่องเฉพาะทาง
สอบถามหน่อยครับพวกวัดญี่ปุ่นที่เป็นไม้ ไม้ไม่ผุหรอครับ
@@GameweloveCompany ไม้เนื้อแข็ง ก็เหมือนสักบ้านเราครับ
@@GameweloveCompany ส่วนมากใช้ไม้เนื้อแข็งครับ ปลวกกัดไม่เข้า บ้านเราก็ใช้ไม้สัก เมื่อก่อนมีไม้สักเยอะมากไม่เหมือนสมัยนี้ สมัยนี้แพงครับ สมัยก่อนไม้ไม่ต้องซื้อ จ่ายแค่ค่าแรงคนไปตัดเอามาสร้าง ส่วนมากเจ้าของบ้านจะขอแรงคนในพื้นที่ไปตัดมาเอง บ้างก็สร้างกันเองครับ
มีทุกประเทศ ประเทศไทยก็มี เรือนไทยโบราณ สร้างบ้านไม่ใช้ตะปู ใช้วิธีเข้าไม้สามารถเรื้อถอดประปอกนำไป ปูลกที่ใหม่ได้
ภูมิปัญญาชาติเราก็มีมาแต่โบราณก็มิใช่น้อย แต่จะค่อยๆลืมเลือนหายไปเพราะไร้คนสืบต่อ…เดี่ยวนี้เอาง่ายๆเข้าว่าให้ทันใจ..แต่แบบยังยืนไม่นิยม..ไม่งั้นไม่ได้ถล่มงบฯ😅
ทำมาเป็น1000ปีแล้วหรอครัช
ปัญหาคือบ้านเราไม่ได้สืบสานต่อกันมาปัจจุบันมันจางหายไปครับแต่ญี่ปุ่นเขายังอนุรักษ์ไว้บ้าง
ใช่เลยครับประเทศไทยยังใช้บ้านเรือนไทยแต่ต้องช่างเฉพาะเท่านั้นถึงทำได้ บ้านผมอยู่ดำเนินสะดวกยังคงทำอยู่มีไห้เห็นเรื่อยๆครับ
บ้านเรางานหยาบ
ทำอะไรก็ใส่ใจรายละเอียดไปหมดทุกอย่าง เก่งมากๆประเทศนี้ คนยุค90ยุคนั้นของเล่นแทบทั้งหมดที่มีเล่นกันหลักๆก็มีแต่ของญี่ปุ่นทั้งนั้น ทั้งของเล่นหรือหนังการ์ตูนที่ดู
ของเล่นอะไรคะ หยอกๆ😂
นี่คือภูมปัญญาของคนโบราณ แม้แต่ไทยเองก็มี เพราะอดีตจะใช้ไม้เป็นหลัก จึงมีการใช้ข้อต่อมายึดเข้าด้วยกัน สะพานเก่าบางแห่งก็ใช้วิธีนี้และอยู่ถึงปจบ. 😊😊😊
ในถานะที่ผมเป็นช่างไม้ เราวัดกันเป็นมิลลิเมตรจริงๆครับ คือถ้าพลาดแค่มิลเดียว มันจะบานปลายต่องานเยอะมากๆ งานไม้ แก้= ทำใหม่ไม่ใช่ทำต่อ😂😂😂
ถ้าขาดเราสามารถเพิ่มให้พอดีได้..แต่ถ้าเกินเนี่ย เรื่องใหญ่แน่นอน
@@นภาที่ไร้จันทร์อะไร ถ้ามันเกินอะเราสามารถ ตัดให้มันพอดีได้ดิ แต่ถ้ามันขาดอะ มันจะต่อได้ไง สับสนอะไรอะไรไหม ถ้าไม้มันขาดไป2ซม จะไปเติมได้ไง ก็ต้องทำใหม่ดิ แต่ถ้ามันเกินมา2-3ซม เรายังตัดให้มันพอดีได้ ทำความเข้าใจใหม่นะ
@@Ohmkuygu_69 เค้าหมายถึงตรงข้อต่อไง ถ้าใหญ่เกินมันก็หลวม แต่ถ้าคับก็ทำให้ใหญ่ได้ ไม่ได้หมายถึงความยาวของไม้เว้ยย 5555
ญี่ปุ่นเขาไปถึงใช้หุ่นยนต์ตัดแล้วค่ะ เขียนโปรแกรมแบบงาน CNC แล้วให้มันตัด จะกี่ครั้งก็พอดี ค่าแรงญี่ปุ่นต่อชม แพงกว่าค่าเรียนเขียนโปรแกรมตัดชิ้นงานอีก
พวกคุณนี่เองที่ผลาญออกซิเจนของโลก
พ่อเคยเป็นช่างไม้เรียนรู้จากทำงานกับญีปุ่น เครืองมือก็ใช้ของญีปุ่นผมก็สงสัยกับการเข้าไม้อย่างสวยงาม แต่ก็จดจำจากพ่อ ส่วนพีเขยก็เป็นช่างไม้ไทย แต่ก็สู้เทคนิค แบบญีปุ่นไม่ได้ ผมเคยสอบช่างไม้ได้ที่1จากช่างรวม200คน ก็ดูประยุคจากพ่อมันแน่นแข็งแรง สวยงาม
โคตร เจ๋งเดี๋ยวลองเอาไปใช้ด้วย สวยว่ะเพราะแทบไม่มีรอยต่อเลย 😁👍🫡
โง่ๆอย่างมึงมีปัญญาทำหรอวะ
ปัญหาคือมันงานละเอียด ต้องมีเวลาเหลือๆ
ฝีมือพอป่าว
ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่น
มึJทำไม่เป็นหรอก อย่ามั่น แหม่ๆๆ จะลองเอาไปทำ 🤣🤣🤣ขำ
ฝีมือช่างต้องเนี้ยบมากๆดูเสี้ยนไม้เป็นอ่านทางไม้ออกเครื่องมือต้องคมเครื่องมือไฟฟ้าต้องคุณภาพสูง ถ้าจะทำให้ได้อย่างในคลิปต้ององค์ประกอบตามนี้ขาดส่วนใดส่วนนึงก็ไม่เนี้ยบไม่เป๊ะดังนั้นฝีมือช่างอย่างเดียวไม่พอเครื่องมือต้องดีด้วยซึ่งราคาก็ต้องสูงมากตามไปด้วยและใช้เวลาในการผลิตยืดยาวออกไปจากปกติ ราคาแต่ละชิ้นสูงมากถึงจะคุ้มกับสิ่งที่จะสร้างขึ้นมาซึ่งจะบอกว่าถ้าเงินถึงแบบไม่อั้นและ มีเวลาให้ทำเพียงพอ ช่างไทยบ้านเราก็ทำได้ครับ
เงินมาปัญหาจบ ช่างไทยที่มีฝีมือแบบนี้ก็มีครับ แต่ปัญหาคือคนไทยส่วนใหญ่ไม่นิยมซื้ออะไรแบบนี้แล้ว เพราะราคามันจะแพงกว่าหลายเท่า คนมักง่ายไม่ใช่ช่าง แต่คือคนซื้อ
บ้านเราก็มีนะ คนทำเป็นสมัยตาผมยังอยู่มีเยอะ แต่หลังๆมาตายไปหมดละ จะสอนกันก็ลำบากไม่มีบ้านงานไม้ให้ทำ ข้อดีที่แกบอกคือมันถอดขายได้ ถอดสร้างบ้านใหม่ให้ลูกได้
โมเดล Kit ของบันไดก็มีชิ้นที่ประกอบแบบนี้ สวดยอดมาก
เคยดูในรายการ TV champion แต่ก่อนตอนทำโรงอาบบ่อน้ำพุร้อน เก่งมากๆ สวยมากๆ ด้วย
ที่ปราสาทสัจธรรม พัทยา ชลบุรี การก่อสร้างคือแบบนี้เลย แต่เสียค่าเข้า ทั้งคนไทยและต่างชาติ ไปหลายรอบ ชอบมาก ยิ่งได้ไกด์ จะยิ่งอินกับปราสาท อิงหลักพุทธศาสนาด้วย มีไกด์ทั้งภาษาไทยและต่างชาติ
ชอบ ดู รายการของญี่ปุ่นที่แข่งสร้างบ้าน แล้วแบบประกอบแบบนี้ สนุกมาก
ทั้งแข็งทั้งสวย มีระเบียบมาก
คนยุคก่อนเขาก็ทำกันแบบนี้ทั้งนั้นเพราะสมัยก่อนยังไม่มีตะปูใช้กัน คนสมัยโบราณเขาก็ทำแบบนี้ทั้งนั้นแหละ ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่อะไรเลย แต่มันคืองานศิลปะ ที่มีความปรานีต ใส่ใจรายละเอียดเป็นหัวใจสำคัญ และยุคนี้ก็มีเครื่องมือช่างที่ทำให้คนทำงานได้ง่ายขึ้นและเสร็จเร็วขึ้น กว่ายุคก่อนมาก😊
ต้องใชัช่างฝีมือดีจริงๆ🎉🎉🎉
ชอบมากๆค่ะ เคยดูเขาสร้างบ้าน เราเห็นเขาไม่ไชตะปูเลย สวยด้วยค่ะ ชอบมาปๆเลย😂😂🎉
ชอบมาก อยากมีบ้านแบบนี้ แต่มันเป็นงานละเอียด แม่นยำ เป็นเอกลักษณ์ของชาวญี่ปุ่น แต่กินเวลามากในการก่อสร้าง ซึ่งคนไทยไม่ทำกันแล้ว เน้นสะดวก รวดเร็ว แข็งแรง
Perfectionist ถูกใจสิ่งนี้
ใช่ เพราะถ้าเอาตะปูหรือน๊อตยึด นานๆไปมันก็จะผุตรงส่วนที่โดนเกลียวน๊อตหรือตะปู น้ำซึมเข้าไปก็ผุพังได้
ญี่ปุ่นช่างงานไม้เทพสุดๆ เนีบบ ละเอียด
ผมมองว่าสวยงามแบบธรรมชาติ แหละได้ความทนทานแบบธรรมชาติคับ❤❤🙏🏻🙏🏻
ปู่ผมก็เป็นช่างไม้ คิดว่าแกก็มีฝีมือแหละ เพราะโดนเรียกไปทำบ้านที่กรุงเทพตอนผมเด็กๆบ่อยมาก หายไปทีครึ่งเดือน เสียดายไม่มีลูกหลานเรียนวิชาช่างไม้กับแกเลย ลูกหลานทุกคนไปเอาดีทางอื่นหมด 😢 บ้านไม้ที่เราเคยอยู่ แกก็ถอดมาจากอยุธยามาสร้างเองที่ชลบุรีถ้าเป็นช่างไม้ฝีมือดีสมัยนี้ บอกเลยรวย
นอร์เวย์ก็ใช้สร้างแบบนี้ สมัยอดีตถึงปัจจุบันค่ะ 🎉
ความชาญฉลาดของคนโบราญ..ต้องอดทน.แม่นยำ.เที่ยงตรงสูง..เรือนไทยก็ทำแบบนี้.เช่นกัน😊😊😊❤❤
โบราณ น่าจะสะกดด้วย ณ.เณร ไหมคะ
พอดีมากเลยอะ ดูแล้วฟิน❤
จีนต่างหาก ใช้วิธีเข้าไม้มาแต่ดึกดำบรรพ์ ไม่มีการใช้ตะปูหรือน้อต บ้านเรือน-เฟอร์นิเจอร์ และเรือ ไม่ต้องกังวลเรื่องสนิม
มั่วไปเรื่อย
ต้นกำเนิดคือจีน ญี่ปุ่นรับมาจากแพคเจเกาหลีในภายหลัง ราว ๆ 1500 ปีก่อน ...แต่รูปแบบของญี่ปุ่น มีการพัฒนาแบบเป็นของตัวเองเพิ่มเติมจากของจีนค่ะ
@@baanaabee แต่ในภาพยังคงเป็นเหมือนของจีนค่า เทคนิดคนี้จีนใช้มาสามพันปีแล้ว มีชื่อคนคิด (หลู่ปัน คนเดียวกับที่ทำรูบิก) ถ้ารับไปน่าจะไปในช่วงราชวงศ์ฮั่น-ถังช่วงนั้น
วิชาช่างไม้ญี่ปุ่นใช้เวลาเรียนถึง7-8ปี เหมือนกับการเรียนของปมอในเมืองไทย ช่างญี่ปุ่นจึงมีความรํ้รวามชำนาญในสายอาขีพใดๆ อย่างลึกซึ้ง
ไทยเราก็ใช้ “สลักไม้” เหมือนกัน บ้านเป็นหลังๆ ไม่มีตะปู เหล็ก ซักกะอัน (สมัยนั้นคงสกัดเหล็กยังไม่ได้มั้งเนอะ)😂
ไม่ใช่ของญี่ปุ่น มันกำเนิดที่จีน มีตั้งแต่สมัย7000ปี คนจีนโบราณเป็นคนสืบทอดต่อ คนสร้างที่คิดมาจากจีนโบราณ เพราะมีหลักฐานที่พบเจบมันมีอายุมากกว่า7000ปี
ญี่ปุ่น ถลุงเหล็กทำอาวุธ เครื่องมือช่าง และอื่น ๆ ในช่วงยุค ปลายยาโยอิ 300 BC ก็ ราว ๆ 2300 ปีมาแล้วค่ะ การทำเตาหลอมยุคโบราณ ค้นหา ทาทาระ (鑪) เพื่อหารายละเอียดต่อได้ ที่ทั่วดลก ยกย่องญี่ปุ่นเรื่องเข้าสลัก มันไมไ่ด้มีแต่ไม้ .... มันมีสลักหินและอื่น ๆ ด้วย ซึ่งต่างจากจีนต้นฉบับที่เข้าสลักซับซ้อนกว่า ต่างจากจีนที่เอาหินมาตัดหน้าเรียบวางเสาเฉย ๆ อยากเห็นหน้าตาว่าเป็นยังไง ค้นหา คิ โตะ อิชิ ทสึกิเตะ 木と石継手 ดูประกอปค่ะ ส่วนตะปูโบราณ มันจะเป็นแท่งสี่เหลี่ยมใหญ่คล้าย ๆ ตะปูสังฆวานร ของไทย แต่เก่าแก่กว่า มีการใช้ช่วงปลายอะซุกะ - นาระ ก็ราว ๆ 1500 ปีมาแล้ว ส่วนใหญ่จะเอาตอกตรึกเสาใหญ่เท่านั้น เพราะไม้คานหรือเสาเล็ก มันรับแรงไม่ไหว โดยเอาตอกรูขัดกรอบเหล็กเพื่อรัดไม้เช่นเสาวัดโทไดจิ หรือ เสายักษ์ศาลอิซุโมะไทฉะค่ะ ( 2 ที่นี่ อายุเกิน พันปีทั้งคู่ )
อยากให้พี่ทำ content แบบนี้มานานแล้วครับในที่สุดพี่ก็ทำดีมากเลยครับคุณภาพ 10 เต็ม 10เป็นกำลังใจต่อไปครับ❤🎉
ขอบคุณครับ ❤️🙏🥰
ชอบคนญี่ปุ่นอ่ะ สังเกตุหลายอย่างที่เค้าทำมักมีความละเอียดและถูกคิดมาอย่างดีแล้ว หรือเวลาคิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆขึ้นมาก็เพื่อสร้างความสะดวกสบายแม้จะเป็นเรื่องเล็กๆในชีวิตแต่เค้าก็ไม่มองข้ามเลย แสดงให้เห็นเลยว่าญี่ปุ่นใส่ใจและละเอียดกับทุกอย่างรอบตัวจริงๆ🥰☺
😮 ชอบมากเหมือนกัน เคยซื้อโต๊ะมาประกอบเอง แล้วตกใจตรงที่ ไม่เอาตะปูมาให้ 😅 นึกว่าไม่แถม ไหนได้อ่อให้ใส่ตามร่อง...ใช้มา3-4ปีได้ระวังแค่...รา 😂
ตอนเดกๆถ้าพ่อพาทำแบบนี้ คงมีมือแตกข้อพัง เพราะทำไม้ประดุ่ พะยุง เพราะมันแข็งมาก ขนาดเซาะร่องแบบใช้กบมือผมนี่นั่งร้องไห้เลย😅😅
นึกถึงคุณปู่ เเกทำโต๊ะให้เเกะไม้มาต่อเอา ทำโต๊ะเดียวเเกทำตั้ง2วัน ทนมากค่ะหลายปีแล้ว พอแกเสียไปก็ไม่มีคนทำเป็นอีก โต๊ะปัจจุบันก็ยังใช้อยู่
ชอบอ่ะ เทคนิคแบบนี้มันเหมือนต่อบล็อครู้สึกสบายใจเวลามันลงล็อค😂
ชอบเทคนิคนี้ค่ะ เรียบร้อยดีค่ะ
🏯บ้านไม้ทรงไทย. 4 ชั้น & ชั้นใต้ดิน... ใช้แบบ "ซาชิโอโน๊ะ " หลังคาก็เหมือนกันเครือบ...ครับ
เป็นประเทศที่ภูมิปัญญาสุง เจริญทั้งเทคโนโลยี วัฒนะธรรมและ av
มีอยู่ในกำแพงวัดที่เขมรด้วย ไม่เชื่อเดี๋ยวไปแกะแปป
บ้านยายเราตอนสร้างก็ประกอบแบบนี้ ได้ช่างไม้จากลำปางลงมาทำให้ 26 ปี สภาพยังดีอยู่เลย
พ่อใหญ่ของเราทำเตียงโดยใช่วิธีนี้ ทุกวันนี้เตียงยังอยู่เลย แข็งแรงมาก พ่อใหญ่เราเสียไปแล้ว 10กว่าปีแล้ว ไม่ได้สอนใครไว้เลย
มี ASMR ไหมฟินมากค่ะ😂❤
ใน TT @od_form กับ @TWCDesign ครับ
จริงๆคนไทยเราต้องลองศึกษาหาความรุ้ก่อนครับ ผมไม่ได้ว่าอะไร แต่ผมเห็นคนไทยบางคนพอเจอคลิปอะไรก็จะเม้นว่า "คนไทยทำกันมานานแล้ว" ประมาณว่าคนไทยเราเป็นคนคิด จริงๆแล้วคนไทยเรารับความรุ้และวัฒนธรรมหลายๆอย่างมาจากต่างชาติตั้งแต่สมัยก่อนเยอะมาก แล้วนำมาใช้สืบต่อกันมา จนบางคนที่ไม่ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ จะได้ไปเองว่าคนไทยเปนคนคิด
ยกให้เขาเลย สุดยอด🎉🎉
เฟอร์ของไทยก็ใช่นะคะ บ้านคุณย่าเราไม้ลงล็อคเป๊ะ ไม่มีตะปูซักตัว แถมเเข็งแรงใช้มาสามสิบปียังไม่เห็นจะผุพัง
เรือนไทยก็ทำค่ะ เข้าสลักแบบนี้เลย ไม่มีตะปูแม้แต่ดอกเดียว
อันนี้ช่อง สรรเสริญญี่ปุ่นเฉยๆ
เทียบญี่ปุ่นไม่ได้อยาก.. งานกะโหลกกะลาอย่างไทยไม่มีใครนับหรอก หุบปากซะ!! 🤣
@@Srkdr-nj6cnป่าวเลยคับเขาแสดงให้เห็นว่าญี่ปุ่นรักษาวัฒนธรรมแค่ไหนเทียบกับเรือนไทยที่เรียกได้ว่าแทบหายไปเลย
@@Srkdr-nj6cnโง่
ฝีมือคนละชั้นกันครับ เรือนไทยมันแบบเบสิคมาก คุณไปลองดูเครื่องมือของเค้าอ่ะของเรา เค้ามีเป็น 1000 ชิ้น เราศึกษาดูให้ละเอียดก่อนมาเม้นท์ ไม่ว่าจะงานศิลปะภาพวาด หรืการเก็บข้อมูลในหนังสือ ภาพวาดไม่ได้หมายถึงภาพวาดบนฝาผนังนะ ภาพวาดที่เป็นซิปลงบนพื้นแผ่นกระดาษของเรากี่ชิ้นที่เอามาโชว์กันให้ลูกหลานดูได้
เอิ่ม นี่มัน 卯榫 เทคนิคสถาปัตยกรรมของจีนค่ะ มีมาตั้งแต่สมัยชุนชิวจ้ายกั๋วก่อนราชวงศ์ฉิน
ที่น่าสงสัยคือ ไม้มันหดและขยายได้ตลอดเวลา ตามอุณหภูมิและความชื้นขณะนั้นๆ ถึงแม้จะวัดและตัดได้อย่างแม่นยำ มันก็ยังมีความไม่แน่นอนในส่วนนี้อยู่ดี
ทุกวันนี้กลุ้มใจมากครับ....ปลวก...ทำลายล้าง
มันพอจะมีเครื่องมืออะไรที่ทำให้การตีดรอยต่อของไม่ในลักษณะนี้ง่ายขึ้นบ้างไหมคับ ถ้าใช้ฝีมือคงต้องขอถอย😅😅😅
ของไทยและของจีนก็มีแบบนี้นะครับพวกโต๊ะฝังมุกของจีนหรือว่าเฟอร์นิเจอร์ไม้สักของไทย แม้แต่บ้านทรงไทยโบราณก็ใช้วิธีเข้าสลัก
งานไม้...น่าจะรับเทคโนโลยีจากจีนโบราณ...เครื่องมือช่างไม้จีนเยอะมากใช้กันจนถึงปัจจุบัน ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าก็ทำงานได้ ทั้งสว่านมือ กบไสไม้ เป็นต้น
บ้านไม่เขาก็ทำแบบนี้ รวมทั้งจีนเกาหลี😂
โครงสร้างบ้านสวยไปที่ญี่ปุ่นไม้ทั้ง สุดยอด
ญี่ปุ่นปราณีต ใส่ใจในรายละเอียด เหมือนช่างไม้ไทยสมัยก่อน ที่ยังไม่มีตะปู
ความละเอียดถึง...มิลลิเมตร!!! เมื่อพันปีก่อนยุคนั้นมีเครื่องมือ วัด เครื่องมือช่าง แบบไหน!!!😂😂😂😂...
ใช้เชือกเป็นหลักวัด หรือการคะเนจากสัดส่วนในร่างกายปลายเล็บ ปลายก้อยใช้หมดค่ะ ก็ใช้ศาสตร์จากจีนรับมาจากราชวงศ์ถัง จีนทำอย่างไร ญี่ปุ่นก็ทำแบบเดียวกัน อยากเห็นอาคารพันปีขึ้น ไปนาระ ที่วัดโทไดจิ + โฮริวจิค่ะ บางครั้งเขาจะซ่อมหลังคา ฝาอะไรไปเรื่อย อาจจะพอได้เห็นว่าเขาวัดอะไรยังไง เพราะช่างไม้โบราณบูรณะโบราณสถาน จะใช้วิธีเก่าอยู่ อย่างตอนซ่อมหลังคะฮิวะดะบุคิ ช่างปูแผ่นไม้สนจะอมหมุดไม้ไผ่ไว้ในปากเลยคายมาตอกทีละดอกอะไรแบบนั้น
@@baanaabee ที่คุณว่าถูกครับสมัยนั้นแต่ตลกกับข้อมูลในคลิป เล่นระบุว่ามิลลิเมตร!!!
@@teelek9601 คงเอาเทียบกะมาตราวัดสมัยนี้เฉย ๆ ล่ะค่ะ อย่างการมุงหลังคาเปลือกไม้ เขาก็พูดกันเลยว่า ห่างกัน 1 มิล คงเอามาตราโบราณมาเทียบว่ามันประมาณไหนของสมัยนี้เฉย ๆ แหละ ซึ่งมันก็มิลจริง ๆ ลองหาคลิป ฮิวะดะบุคิ 檜皮葺 ดูค่ะ มันจะมีสารคดีของ NHK ช่วง2018 ก่อนเตรียมวังรับพระราชพิธีบรมราชาภิเสกอยู่ เขาก็ทาบกันให้ดูว่ามันห่างกันประมาณมิลนี่แหละ เวลาคนแปล ก็คงแปลมาจากต้นทางที่เขาพูดกันว่ามิลลิเมตรเฉย ๆ แต่เป้นการเทียบการวัดโบราณ - ปัจจุบันให้คนปัจจุบันเข้าใจล่ะค่ะ
ไม่ว่าแต่ญี่ปุ่น ไทยก็ต้นตำหรับครับ😊
จริงๆของประเทศไทยก็มีนะคะ เรียกว่าการเข้าเดือยไม้หรือ ก็คือการเอาไม้มาทำแบบในคลิปนั่นแหละค่ะ
ชอบมาก ตอนเด็กๆยังคิดว่าผู้ใหญ่ทำไหมใช้ตะปู 😅
คนญี่ปุ่นฉลาดและเจ๋งมาก
ของคนไทยก็เก่งไม่แพ้กันครับ
เรือนไทยโบราณก็ทำแบบนี้ หรือสมัยโบราณก็จะทำแบบนี้เหมือนกันเพียงแต่การเจาะอาจจะแตกต่างกันไป
ต้องเป็นช่างฝีมือจริงๆ
อยากเรียนอะไรแบบนี้จัง😅
ช่างไม้ไทยเขาก็ทำแบบนี้มาแต่โบราณ
ช่างไม้ที่ปราณีตที่สุดในโลกต้องยกให้ช่างญี่ปุ่น งานจะปราณีตมาก ไม่แค่ทำให้ใช้งานได้ ต้องสวยด้วยแข็งแรงด้วย
ญี่ปุ่นยังทึ่งกับปราสาทสัจธรรมของไทยเราเลย ไม่ใช้ตะปูสักตัว
จีนก็มี ไทยก็มี น่าทึ่งทั้งนั้นค่ะ
@@naphast1663 ใช่ครับที่ปราสาทสัจธรรมสวยมาก แต่แรงงานเพื่อนบ้านทั้งนั้นที่เป็นคนทำ🤣
@@cschample ควบคุมงานโดยช่างไทย แรงงานก็แค่แรงงาน
เทคนิคนี้พม่าเปนคนคิดมากอน
คนสมัยก่อน(ระดับ500ปี+)ส่วนมากสร้างบ้านด้วยดินมั้ง ญี่่ปุ่นอารยะเขามีมาเป็นหมื่นปีแล้วไม่ใช่พันปีนะ
บ้านเราก็มีครับ ตาผมที่เสียไปก็เป็นช่างไม้ แต่ก่อนผมจำได้ว่าแกสร้างบ้านหรืออะไรเกี่ยวกับไม้ไม่ใช้ตะปูเลย
ไทยเขาใช้หมุดไม้ตอกเข้าไป ผมก็เรียกไม่ถูก ตาผมก็ทำเหมือนกัน
@ป๋าโหมกห้ามผวน ผมก็ไม่รู้ว่าเขาเรียกยังไง แต่ทุกวันนี้หายากแล้วครับ ผมยังไม่เห็นไครทำเลยทุกวันนี้
@@Malengun-k8p ปราสาทสัจธรรม ที่พัทยา สร้างมานานแล้ว สร้างอยู่ และสร้างต่อ
ไทยก็ทำแต่คนทุกวันนี้ ไม่ค่อยมีใครใช้ ด้วยเหตุผลที่ว่ามันช้า เลยค่อยๆหายไป
วิธี การสร้างบ้านแบบนี้สำคัญมากเพราะว่า บ้านเมืองเขามีแผ่นดินไหว วิธีนี้จะช่วยให้บ้านคงทนอยู่นาน ต่อภัยธรรมชาติ หลายๆประเทศก็ใช้วิธีนี้เหมือนกันแม้แต่ไทย🎉❤
บ้านเราเค้าก็ทำกันครับท่าน บ้านซุงทางเมกาเค้าก็ทำจีนก็ทำเอาเป็นว่าช่างไม้เค้าทำกันทั่วโลกนั้นแหละ
ยากมาก เก่งจริง ละเอียดมากเลย
สุดยอดชอบมากประเทศญี่ปุ่น โดยเฉพาะดารา AV😋
งานมีราคา เพราะการใส่ใจ ไม่ใช่ทำส่งๆ ผมถูกสอนมา จากเป็นคนที่ทำงานหยาบๆ ผมเริ่มทำได้ดีขึ้น❤❤🎉 เสียเวลา แต่ สวย กับเร็ว แต่ไม่ได้เรื่อง รถเหมือนกัน ทำไม บางยี่ห้อ ราคา หลักหลายสิบล้าน ทั้งๆที่ก็รถเหมือนกัน แค่เปรียบเปรยครับ ไม่ได้ว่าใคร
ได้ไอเดียสร้างบ้านล่ะ😊
ไทยก็มีเหมือนกัน ในหลายๆภาคของไทย
ทนและสวยจริงๆ 😮😮 ทำไมบ้านเมืองเราไม่สอนบ้าง 😂😂
ไทยก็มีครับ/ทุกอย่าง บ้าน เฟอร์...
มีทุกชาตินะ ของไทยก็มี แต่ไม่ละเอียด ซับซ้อน เท่าญี่ปุ่น..
ผมมองว่า เนื้อไม้ ของเขาตรงสวย เหมาะในการทำแบบในคลิป มากกว่าเนื้อไม้ ของไทยเรา
ยอมรับเรื่องไม้หดแล้วแน่นเลย ประตูบ้านผมหดทุกช่วงอากาศเย็นจัด ปิดไม่ลงเปิดไม่ออกเลย555
ปลวกนี้หวานเจี๊ยบ
ขอนอกเรื่องโครงสร้างค่ะ เสียงไม้ที่ประกบกันคือฟินมากก
เก่งมากๆ ทำยากมากๆงานละเอียดและสวยงาม
โคตรเจ๋งอ่ะ😊
บ้านเรือนไทยของเราก็ใช้แบบนี้ค่ะ
ไทยก็มีครับเห็นเขาวางขายเพียบเลย
วัด สมัยก่อน แถวเชียงใหม่ ก็ประกอบแบบไม่ใข้ตะปูนะ❤
ต้องใช้ไม้เนื้อแข็งใช่ไหมครับ
ญี่ปุ่นคืองานละเอียดมาก
คนไทย สมัยก่อน ก็ใช้แบบนี้แระคับ ประตูบ้านผม ตาผมทำ ไม่ได้ใช้ตะปู แม้แต่ดอกเดียว
คนไทยก็สร้างบ้านเมืองโดยไม่ใช้ตะปู มานานนับพันปีแล้ว ไปหาดูได้ตามโบราณสถานที่อนุรักษ์ไว้
พี่ไทยยังเถียงกันอยู่เลยครับ ว่ามันไม่อยู่😂
ขอบคุณครับ ญี่ปุ่น มีปลวกกันกินไม้ไหมครับ
อันนี้ผมไปสอบถามหัวหน้าปลวกมาเเล้วครับปลวกบอกว่าไม้ที่ญี่ปุ่นมันมีรสชาติที่ขมสร้างมากันปลวกกิน(ญี่ปุ่นไม่มีปลวกครับ)
@ สุดยอดยอดของคำตอบครับ
ไม้โครงสร้างญี่ปุ่น ใช้หลัก 3 ประเภททำอาคารไปจนถึงสะพาน 1 . ฮิโนกิ 桧 ( Chamaecyparis obtusa )2 . เคยะกิ 欅 ( Zelkova serrata )3. สึหงิ 杉 ( Cryptomeria japonica )ไม้พวกนี้เป็นสกุลสนค่ะ มียางมีกลิ่นหอม เนื้อแข็งอ่อนต่างกันไป กลิ่นมันไล่แมลงอยู่แล้ว + ยางสนมีสารฝาดขมที่เรียกว่า ซาโปนิน + แทนนิน เป็นพิษกับแมลงค่ะ ( จริง ๆ ในอุตสาหกรรมการเกษตร หรือ เครื่องสำอางค์ ใช้สารต้านแบคทีเรียด้วย คุมราเป็นหลัก ) ปลวก มีค่ะ พวกปลวกอาเลต (alates) บินได้ ... แต่ มันไมไ่ด้ชอบไม้ทุกแบบ พวกไม้บีชอ่อน ๆ อ่ะโดนประจำ ส่วนศาลเจ้าวัดวังโบราณ เขาจะทำพิธีเผาเรือนอบควันไล่แมลงเป็นประจำทุกปี
แบบ นี้ต้องเสริชในยูทูปว่าอะไรครับ เห็นแล้วฟินดี อยากดูยาวๆ
ซาชิโมโนะ 指物 ซาชิ 指 - สอดใส่ โมโนะ 物 - สิ่งของ แปลตามบริบทก็การเข้าสลักไม้ตรง ๆ ค่ะ แต่เป็นการเรียกแบบรวม ๆ มันจะมีชื่อเทคนิคแยกย่อยเฉพาะออกไปอีก หลัก ๆ มี 3 แบบ แบบ เอโดะ ( ยุคหลัง 1600 ที่โตเกียว ) แบบโอซากะ ( ยุคมุโรมาจิ - เซงโกคุ 1400 - 1600 ) แบบ เกียวโต ( การเข้าสลักไม้ดบราร แบบโบราณยุคเฮอัน ประมาณ คศ 800 - 1200 )การเข้าโครงสร้างอาคารจริง ๆ จะเรียก คิ สึหงิเตะ 木継手 แล้วจะแยกการเข้าฐานเสากับหิน คิ โตะ อิชิ สึหงิเตะ 木と石継手 อีก เอาอักษรคันจิไปหาคลิปหรือภาพดูได้ค่ะ
@@nagamisaki3642 ขอโทษครับ พิมพ์ผิดคลิปถ้าคลิปต้นฉบับแปะเครดิตไว้ในวีดีโอแล้วครับ ชื่อช่องติ๊กต่อก od_form ครับ
@@baanaabee ขอบคุณมากครับ❤️🙏💙
@@baanaabee ขอบคุณครับ
ไทยก็มี ปราสาทไม้สัจธรรม จ.ชลบุรี ไม่ใช้ตะปูครับ แต่ไม่รู้ว่าไทย ใช้เทคนิคนี้ตั้งแต่ตอนไหน 😅
ปราสาทสัจธรรมที่พัทยาบางส่วนใช้ตะปูครับเพียงแต่คุณไม่รู้..ผมทำงานเป็นไกด์นำเที่ยวชาวต่างชาติพานักท่องเที่ยวไปที่นั่นประจำและช่างแกะสลักใช้แต่คนพม่ามาแกะ คนไทยไม่มีสักคนทำให้แกะสลักออกมาไม่สวยเท่าที่ควร ถ้าคุณไม่เชื่อลองเข้าไปดูได้ค่าเข้า500บาท ส่วนผมเข้าฟรี😊
บ้านญี่ปุ่นทุกหลังโครงสร้างเป็นไม้ประกอบทั้งหมดและข้อเสียคือเกิดไฟไหม้และติดไฟได้ง่ายด้วย เพราะมันคือเชื้อไฟชั้นดี ในสุดคือไม้ห่อด้วยกระดาษรอบบ้านเพื่อกันน้ำแล้วก็แผ่นยิปซั่มชั้นนอกสุด
เทคนิคนี้ไทยเราก็มีครับ ถ้าใครอยากเห็นลองไปดูที่เมืองโบราณสมุทรปราการได้ครับ
ชาวเกาหลีเดินทางเข้าไปเปิดบริษัทสร้างวัดและวังในประเทศญี่ปุ่นมาเกือบ 1,500 ปีแล้ว วิธีการนี้มาจากชาวเกาหลีและชาวจีน
บ้านเรือนไทยโบราณก็ใช้เทคนิคที่คล้ายๆ แบบนี้ครับ เรียกว่าการเข้าไม้ แต่ทุกวันนี้หาคนที่ใช้เทคนิคนี้สร้างบ้านทั้งหลังยาก เพราะไม้มีราคาแพง และเสร็จช้ากว่าปูน เสียเวลาตอนเจาะ เซาะร่องนี่แหละครับ การประกอบเป็นบ้านใช้เวลาไม่กี่วัน ถ้าเรือนไทยเล็กๆ ก็ไม่ถึงวัน
...และที่สำคัญคือลูกหลานช่างฝีมือไม่ค่อยได้สืบทอดเอาไว้ครับ จึงหาช่างคนไทยที่สร้างบ้านด้วยวิธีเข้าไม้ ยากขึ้นทุกวัน
ช่างไม้เก่งๆหายากจริง
เดะนี้ตัดไม่นานแล้ว มีเครื่องเฉพาะทาง
สอบถามหน่อยครับพวกวัดญี่ปุ่นที่เป็นไม้ ไม้ไม่ผุหรอครับ
@@GameweloveCompany ไม้เนื้อแข็ง ก็เหมือนสักบ้านเราครับ
@@GameweloveCompany ส่วนมากใช้ไม้เนื้อแข็งครับ ปลวกกัดไม่เข้า บ้านเราก็ใช้ไม้สัก เมื่อก่อนมีไม้สักเยอะมากไม่เหมือนสมัยนี้ สมัยนี้แพงครับ สมัยก่อนไม้ไม่ต้องซื้อ จ่ายแค่ค่าแรงคนไปตัดเอามาสร้าง ส่วนมากเจ้าของบ้านจะขอแรงคนในพื้นที่ไปตัดมาเอง บ้างก็สร้างกันเองครับ
มีทุกประเทศ ประเทศไทยก็มี เรือนไทยโบราณ สร้างบ้านไม่ใช้ตะปู ใช้วิธีเข้าไม้สามารถเรื้อถอดประปอกนำไป ปูลกที่ใหม่ได้
ภูมิปัญญาชาติเราก็มีมาแต่โบราณก็มิใช่น้อย แต่จะค่อยๆลืมเลือนหายไปเพราะไร้คนสืบต่อ…เดี่ยวนี้เอาง่ายๆเข้าว่าให้ทันใจ..แต่แบบยังยืนไม่นิยม..ไม่งั้นไม่ได้ถล่มงบฯ😅
ทำมาเป็น1000ปีแล้วหรอครัช
ปัญหาคือบ้านเราไม่ได้สืบสานต่อกันมาปัจจุบันมันจางหายไปครับแต่ญี่ปุ่นเขายังอนุรักษ์ไว้บ้าง
ใช่เลยครับประเทศไทยยังใช้บ้านเรือนไทยแต่ต้องช่างเฉพาะเท่านั้นถึงทำได้ บ้านผมอยู่ดำเนินสะดวกยังคงทำอยู่มีไห้เห็นเรื่อยๆครับ
บ้านเรางานหยาบ
ทำอะไรก็ใส่ใจรายละเอียดไปหมดทุกอย่าง เก่งมากๆประเทศนี้ คนยุค90ยุคนั้นของเล่นแทบทั้งหมดที่มีเล่นกันหลักๆก็มีแต่ของญี่ปุ่นทั้งนั้น ทั้งของเล่นหรือหนังการ์ตูนที่ดู
ของเล่นอะไรคะ หยอกๆ😂
นี่คือภูมปัญญาของคนโบราณ แม้แต่ไทยเองก็มี เพราะอดีตจะใช้ไม้เป็นหลัก จึงมีการใช้ข้อต่อมายึดเข้าด้วยกัน สะพานเก่าบางแห่งก็ใช้วิธีนี้และอยู่ถึงปจบ. 😊😊😊
ในถานะที่ผมเป็นช่างไม้ เราวัดกันเป็นมิลลิเมตรจริงๆครับ คือถ้าพลาดแค่มิลเดียว มันจะบานปลายต่องานเยอะมากๆ งานไม้ แก้= ทำใหม่ไม่ใช่ทำต่อ😂😂😂
ถ้าขาดเราสามารถเพิ่มให้พอดีได้..แต่ถ้าเกินเนี่ย เรื่องใหญ่แน่นอน
@@นภาที่ไร้จันทร์อะไร ถ้ามันเกินอะเราสามารถ ตัดให้มันพอดีได้ดิ แต่ถ้ามันขาดอะ มันจะต่อได้ไง สับสนอะไรอะไรไหม ถ้าไม้มันขาดไป2ซม จะไปเติมได้ไง ก็ต้องทำใหม่ดิ แต่ถ้ามันเกินมา2-3ซม เรายังตัดให้มันพอดีได้ ทำความเข้าใจใหม่นะ
@@Ohmkuygu_69 เค้าหมายถึงตรงข้อต่อไง ถ้าใหญ่เกินมันก็หลวม แต่ถ้าคับก็ทำให้ใหญ่ได้ ไม่ได้หมายถึงความยาวของไม้เว้ยย 5555
ญี่ปุ่นเขาไปถึงใช้หุ่นยนต์ตัดแล้วค่ะ เขียนโปรแกรมแบบงาน CNC แล้วให้มันตัด จะกี่ครั้งก็พอดี ค่าแรงญี่ปุ่นต่อชม แพงกว่าค่าเรียนเขียนโปรแกรมตัดชิ้นงานอีก
พวกคุณนี่เองที่ผลาญออกซิเจนของโลก
พ่อเคยเป็นช่างไม้เรียนรู้จากทำงานกับญีปุ่น เครืองมือก็ใช้ของญีปุ่นผมก็สงสัยกับการเข้าไม้อย่างสวยงาม แต่ก็จดจำจากพ่อ ส่วนพีเขยก็เป็นช่างไม้ไทย แต่ก็สู้เทคนิค แบบญีปุ่นไม่ได้ ผมเคยสอบช่างไม้ได้ที่1จากช่างรวม200คน ก็ดูประยุคจากพ่อมันแน่นแข็งแรง สวยงาม
โคตร เจ๋งเดี๋ยวลองเอาไปใช้ด้วย สวยว่ะเพราะแทบไม่มีรอยต่อเลย 😁👍🫡
โง่ๆอย่างมึงมีปัญญาทำหรอวะ
ปัญหาคือมันงานละเอียด ต้องมีเวลาเหลือๆ
ฝีมือพอป่าว
ความพยายามอยู่ที่ไหนความสำเร็จอยู่ที่นั่น
มึJทำไม่เป็นหรอก อย่ามั่น แหม่ๆๆ จะลองเอาไปทำ 🤣🤣🤣ขำ
ฝีมือช่างต้องเนี้ยบมากๆดูเสี้ยนไม้เป็นอ่านทางไม้ออกเครื่องมือต้องคมเครื่องมือไฟฟ้าต้องคุณภาพสูง ถ้าจะทำให้ได้อย่างในคลิปต้ององค์ประกอบตามนี้ขาดส่วนใดส่วนนึงก็ไม่เนี้ยบไม่เป๊ะดังนั้นฝีมือช่างอย่างเดียวไม่พอเครื่องมือต้องดีด้วยซึ่งราคาก็ต้องสูงมากตามไปด้วยและใช้เวลาในการผลิตยืดยาวออกไปจากปกติ ราคาแต่ละชิ้นสูงมากถึงจะคุ้มกับสิ่งที่จะสร้างขึ้นมาซึ่งจะบอกว่าถ้าเงินถึงแบบไม่อั้นและ มีเวลาให้ทำเพียงพอ ช่างไทยบ้านเราก็ทำได้ครับ
เงินมาปัญหาจบ ช่างไทยที่มีฝีมือแบบนี้ก็มีครับ แต่ปัญหาคือคนไทยส่วนใหญ่ไม่นิยมซื้ออะไรแบบนี้แล้ว เพราะราคามันจะแพงกว่าหลายเท่า คนมักง่ายไม่ใช่ช่าง แต่คือคนซื้อ
บ้านเราก็มีนะ คนทำเป็นสมัยตาผมยังอยู่มีเยอะ แต่หลังๆมาตายไปหมดละ จะสอนกันก็ลำบากไม่มีบ้านงานไม้ให้ทำ ข้อดีที่แกบอกคือมันถอดขายได้ ถอดสร้างบ้านใหม่ให้ลูกได้
โมเดล Kit ของบันไดก็มีชิ้นที่ประกอบแบบนี้ สวดยอดมาก
เคยดูในรายการ TV champion แต่ก่อนตอนทำโรงอาบบ่อน้ำพุร้อน เก่งมากๆ สวยมากๆ ด้วย
ที่ปราสาทสัจธรรม พัทยา ชลบุรี การก่อสร้างคือแบบนี้เลย
แต่เสียค่าเข้า ทั้งคนไทยและต่างชาติ ไปหลายรอบ ชอบมาก ยิ่งได้ไกด์ จะยิ่งอินกับปราสาท อิงหลักพุทธศาสนาด้วย มีไกด์ทั้งภาษาไทยและต่างชาติ
ชอบ ดู รายการของญี่ปุ่นที่แข่งสร้างบ้าน แล้วแบบประกอบแบบนี้ สนุกมาก
ทั้งแข็งทั้งสวย มีระเบียบมาก
คนยุคก่อนเขาก็ทำกันแบบนี้ทั้งนั้นเพราะสมัยก่อนยังไม่มีตะปูใช้กัน คนสมัยโบราณเขาก็ทำแบบนี้ทั้งนั้นแหละ ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่อะไรเลย แต่มันคืองานศิลปะ ที่มีความปรานีต ใส่ใจรายละเอียดเป็นหัวใจสำคัญ และยุคนี้ก็มีเครื่องมือช่างที่ทำให้คนทำงานได้ง่ายขึ้นและเสร็จเร็วขึ้น กว่ายุคก่อนมาก😊
ต้องใชัช่างฝีมือดีจริงๆ🎉🎉🎉
ชอบมากๆค่ะ เคยดูเขาสร้างบ้าน เราเห็นเขาไม่ไชตะปูเลย สวยด้วยค่ะ ชอบมาปๆเลย😂😂🎉
ชอบมาก อยากมีบ้านแบบนี้ แต่มันเป็นงานละเอียด แม่นยำ เป็นเอกลักษณ์ของชาวญี่ปุ่น แต่กินเวลามากในการก่อสร้าง ซึ่งคนไทยไม่ทำกันแล้ว เน้นสะดวก รวดเร็ว แข็งแรง
Perfectionist ถูกใจสิ่งนี้
ใช่ เพราะถ้าเอาตะปูหรือน๊อตยึด นานๆไปมันก็จะผุตรงส่วนที่โดนเกลียวน๊อตหรือตะปู น้ำซึมเข้าไปก็ผุพังได้
ญี่ปุ่นช่างงานไม้เทพสุดๆ เนีบบ ละเอียด
ผมมองว่าสวยงามแบบธรรมชาติ แหละได้ความทนทานแบบธรรมชาติคับ❤❤🙏🏻🙏🏻
ปู่ผมก็เป็นช่างไม้ คิดว่าแกก็มีฝีมือแหละ เพราะโดนเรียกไปทำบ้านที่กรุงเทพตอนผมเด็กๆบ่อยมาก หายไปทีครึ่งเดือน เสียดายไม่มีลูกหลานเรียนวิชาช่างไม้กับแกเลย ลูกหลานทุกคนไปเอาดีทางอื่นหมด 😢 บ้านไม้ที่เราเคยอยู่ แกก็ถอดมาจากอยุธยามาสร้างเองที่ชลบุรี
ถ้าเป็นช่างไม้ฝีมือดีสมัยนี้ บอกเลยรวย
นอร์เวย์ก็ใช้สร้างแบบนี้ สมัยอดีตถึงปัจจุบันค่ะ 🎉
ความชาญฉลาดของคนโบราญ..ต้องอดทน.แม่นยำ.เที่ยงตรงสูง..เรือนไทยก็ทำแบบนี้.เช่นกัน😊😊😊❤❤
โบราณ น่าจะสะกดด้วย ณ.เณร ไหมคะ
พอดีมากเลยอะ ดูแล้วฟิน❤
จีนต่างหาก ใช้วิธีเข้าไม้มาแต่ดึกดำบรรพ์ ไม่มีการใช้ตะปูหรือน้อต บ้านเรือน-เฟอร์นิเจอร์ และเรือ ไม่ต้องกังวลเรื่องสนิม
มั่วไปเรื่อย
ต้นกำเนิดคือจีน ญี่ปุ่นรับมาจากแพคเจเกาหลีในภายหลัง ราว ๆ 1500 ปีก่อน ...แต่รูปแบบของญี่ปุ่น มีการพัฒนาแบบเป็นของตัวเองเพิ่มเติมจากของจีนค่ะ
@@baanaabee แต่ในภาพยังคงเป็นเหมือนของจีนค่า เทคนิดคนี้จีนใช้มาสามพันปีแล้ว มีชื่อคนคิด (หลู่ปัน คนเดียวกับที่ทำรูบิก) ถ้ารับไปน่าจะไปในช่วงราชวงศ์ฮั่น-ถังช่วงนั้น
วิชาช่างไม้ญี่ปุ่นใช้เวลาเรียนถึง7-8ปี เหมือนกับการเรียนของปมอในเมืองไทย ช่างญี่ปุ่นจึงมีความรํ้รวามชำนาญในสายอาขีพใดๆ อย่างลึกซึ้ง
ไทยเราก็ใช้ “สลักไม้” เหมือนกัน บ้านเป็นหลังๆ ไม่มีตะปู เหล็ก ซักกะอัน (สมัยนั้นคงสกัดเหล็กยังไม่ได้มั้งเนอะ)😂
ไม่ใช่ของญี่ปุ่น มันกำเนิดที่จีน มีตั้งแต่สมัย7000ปี คนจีนโบราณเป็นคนสืบทอดต่อ คนสร้างที่คิดมาจากจีนโบราณ เพราะมีหลักฐานที่พบเจบมันมีอายุมากกว่า7000ปี
ญี่ปุ่น ถลุงเหล็กทำอาวุธ เครื่องมือช่าง และอื่น ๆ ในช่วงยุค ปลายยาโยอิ 300 BC ก็ ราว ๆ 2300 ปีมาแล้วค่ะ การทำเตาหลอมยุคโบราณ ค้นหา ทาทาระ (鑪) เพื่อหารายละเอียดต่อได้
ที่ทั่วดลก ยกย่องญี่ปุ่นเรื่องเข้าสลัก มันไมไ่ด้มีแต่ไม้ .... มันมีสลักหินและอื่น ๆ ด้วย ซึ่งต่างจากจีนต้นฉบับที่เข้าสลักซับซ้อนกว่า ต่างจากจีนที่เอาหินมาตัดหน้าเรียบวางเสาเฉย ๆ อยากเห็นหน้าตาว่าเป็นยังไง ค้นหา คิ โตะ อิชิ ทสึกิเตะ 木と石継手 ดูประกอปค่ะ
ส่วนตะปูโบราณ มันจะเป็นแท่งสี่เหลี่ยมใหญ่คล้าย ๆ ตะปูสังฆวานร ของไทย แต่เก่าแก่กว่า มีการใช้ช่วงปลายอะซุกะ - นาระ ก็ราว ๆ 1500 ปีมาแล้ว ส่วนใหญ่จะเอาตอกตรึกเสาใหญ่เท่านั้น เพราะไม้คานหรือเสาเล็ก มันรับแรงไม่ไหว โดยเอาตอกรูขัดกรอบเหล็กเพื่อรัดไม้เช่นเสาวัดโทไดจิ หรือ เสายักษ์ศาลอิซุโมะไทฉะค่ะ ( 2 ที่นี่ อายุเกิน พันปีทั้งคู่ )
อยากให้พี่ทำ content แบบนี้มานานแล้วครับในที่สุดพี่ก็ทำดีมากเลยครับคุณภาพ 10 เต็ม 10เป็นกำลังใจต่อไปครับ❤🎉
ขอบคุณครับ ❤️🙏🥰
ชอบคนญี่ปุ่นอ่ะ สังเกตุหลายอย่างที่เค้าทำมักมีความละเอียดและถูกคิดมาอย่างดีแล้ว หรือเวลาคิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆขึ้นมาก็เพื่อสร้างความสะดวกสบายแม้จะเป็นเรื่องเล็กๆในชีวิตแต่เค้าก็ไม่มองข้ามเลย แสดงให้เห็นเลยว่าญี่ปุ่นใส่ใจและละเอียดกับทุกอย่างรอบตัวจริงๆ🥰☺
😮 ชอบมากเหมือนกัน เคยซื้อโต๊ะมาประกอบเอง แล้วตกใจตรงที่ ไม่เอาตะปูมาให้ 😅 นึกว่าไม่แถม ไหนได้อ่อให้ใส่ตามร่อง...ใช้มา3-4ปีได้ระวังแค่...รา 😂
ตอนเดกๆถ้าพ่อพาทำแบบนี้ คงมีมือแตกข้อพัง เพราะทำไม้ประดุ่ พะยุง เพราะมันแข็งมาก ขนาดเซาะร่องแบบใช้กบมือผมนี่นั่งร้องไห้เลย😅😅
นึกถึงคุณปู่ เเกทำโต๊ะให้เเกะไม้มาต่อเอา ทำโต๊ะเดียวเเกทำตั้ง2วัน ทนมากค่ะหลายปีแล้ว พอแกเสียไปก็ไม่มีคนทำเป็นอีก โต๊ะปัจจุบันก็ยังใช้อยู่
ชอบอ่ะ เทคนิคแบบนี้มันเหมือนต่อบล็อครู้สึกสบายใจเวลามันลงล็อค😂
ชอบเทคนิคนี้ค่ะ เรียบร้อยดีค่ะ
🏯บ้านไม้ทรงไทย. 4 ชั้น & ชั้นใต้ดิน... ใช้แบบ "ซาชิโอโน๊ะ " หลังคาก็เหมือนกันเครือบ...ครับ
เป็นประเทศที่ภูมิปัญญาสุง เจริญทั้งเทคโนโลยี วัฒนะธรรมและ av
มีอยู่ในกำแพงวัดที่เขมรด้วย ไม่เชื่อเดี๋ยวไปแกะแปป
บ้านยายเราตอนสร้างก็ประกอบแบบนี้ ได้ช่างไม้จากลำปางลงมาทำให้ 26 ปี สภาพยังดีอยู่เลย
พ่อใหญ่ของเราทำเตียงโดยใช่วิธีนี้ ทุกวันนี้เตียงยังอยู่เลย แข็งแรงมาก พ่อใหญ่เราเสียไปแล้ว 10กว่าปีแล้ว ไม่ได้สอนใครไว้เลย
มี ASMR ไหมฟินมากค่ะ😂❤
ใน TT @od_form กับ @TWCDesign ครับ
จริงๆคนไทยเราต้องลองศึกษาหาความรุ้ก่อนครับ ผมไม่ได้ว่าอะไร แต่ผมเห็นคนไทยบางคนพอเจอคลิปอะไรก็จะเม้นว่า "คนไทยทำกันมานานแล้ว" ประมาณว่าคนไทยเราเป็นคนคิด จริงๆแล้วคนไทยเรารับความรุ้และวัฒนธรรมหลายๆอย่างมาจากต่างชาติตั้งแต่สมัยก่อนเยอะมาก แล้วนำมาใช้สืบต่อกันมา จนบางคนที่ไม่ได้ศึกษาประวัติศาสตร์ จะได้ไปเองว่าคนไทยเปนคนคิด
ยกให้เขาเลย สุดยอด🎉🎉
เฟอร์ของไทยก็ใช่นะคะ บ้านคุณย่าเราไม้ลงล็อคเป๊ะ ไม่มีตะปูซักตัว แถมเเข็งแรงใช้มาสามสิบปียังไม่เห็นจะผุพัง
เรือนไทยก็ทำค่ะ เข้าสลักแบบนี้เลย ไม่มีตะปูแม้แต่ดอกเดียว
อันนี้ช่อง สรรเสริญญี่ปุ่นเฉยๆ
เทียบญี่ปุ่นไม่ได้อยาก.. งานกะโหลกกะลาอย่างไทยไม่มีใครนับหรอก หุบปากซะ!! 🤣
@@Srkdr-nj6cnป่าวเลยคับเขาแสดงให้เห็นว่าญี่ปุ่นรักษาวัฒนธรรมแค่ไหนเทียบกับเรือนไทยที่เรียกได้ว่าแทบหายไปเลย
@@Srkdr-nj6cnโง่
ฝีมือคนละชั้นกันครับ เรือนไทยมันแบบเบสิคมาก คุณไปลองดูเครื่องมือของเค้าอ่ะของเรา เค้ามีเป็น 1000 ชิ้น เราศึกษาดูให้ละเอียดก่อนมาเม้นท์ ไม่ว่าจะงานศิลปะภาพวาด หรืการเก็บข้อมูลในหนังสือ ภาพวาดไม่ได้หมายถึงภาพวาดบนฝาผนังนะ ภาพวาดที่เป็นซิปลงบนพื้นแผ่นกระดาษของเรากี่ชิ้นที่เอามาโชว์กันให้ลูกหลานดูได้
เอิ่ม นี่มัน 卯榫 เทคนิคสถาปัตยกรรมของจีนค่ะ มีมาตั้งแต่สมัยชุนชิวจ้ายกั๋วก่อนราชวงศ์ฉิน
ที่น่าสงสัยคือ ไม้มันหดและขยายได้ตลอดเวลา ตามอุณหภูมิและความชื้นขณะนั้นๆ ถึงแม้จะวัดและตัดได้อย่างแม่นยำ มันก็ยังมีความไม่แน่นอนในส่วนนี้อยู่ดี
ทุกวันนี้กลุ้มใจมากครับ
....ปลวก...ทำลายล้าง
มันพอจะมีเครื่องมืออะไรที่ทำให้การตีดรอยต่อของไม่ในลักษณะนี้ง่ายขึ้นบ้างไหมคับ ถ้าใช้ฝีมือคงต้องขอถอย😅😅😅
ของไทยและของจีนก็มีแบบนี้นะครับพวกโต๊ะฝังมุกของจีนหรือว่าเฟอร์นิเจอร์ไม้สักของไทย แม้แต่บ้านทรงไทยโบราณก็ใช้วิธีเข้าสลัก
งานไม้...น่าจะรับเทคโนโลยีจากจีนโบราณ...เครื่องมือช่างไม้จีนเยอะมากใช้กันจนถึงปัจจุบัน ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าก็ทำงานได้ ทั้งสว่านมือ กบไสไม้ เป็นต้น
บ้านไม่เขาก็ทำแบบนี้ รวมทั้งจีนเกาหลี😂
โครงสร้างบ้านสวยไปที่ญี่ปุ่นไม้ทั้ง สุดยอด
ญี่ปุ่นปราณีต ใส่ใจในรายละเอียด เหมือนช่างไม้ไทยสมัยก่อน ที่ยังไม่มีตะปู
ความละเอียดถึง...มิลลิเมตร!!! เมื่อพันปีก่อน
ยุคนั้นมีเครื่องมือ วัด เครื่องมือช่าง แบบไหน!!!😂😂😂😂...
ใช้เชือกเป็นหลักวัด หรือการคะเนจากสัดส่วนในร่างกายปลายเล็บ ปลายก้อยใช้หมดค่ะ ก็ใช้ศาสตร์จากจีนรับมาจากราชวงศ์ถัง จีนทำอย่างไร ญี่ปุ่นก็ทำแบบเดียวกัน อยากเห็นอาคารพันปีขึ้น ไปนาระ ที่วัดโทไดจิ + โฮริวจิค่ะ บางครั้งเขาจะซ่อมหลังคา ฝาอะไรไปเรื่อย อาจจะพอได้เห็นว่าเขาวัดอะไรยังไง เพราะช่างไม้โบราณบูรณะโบราณสถาน จะใช้วิธีเก่าอยู่
อย่างตอนซ่อมหลังคะฮิวะดะบุคิ ช่างปูแผ่นไม้สนจะอมหมุดไม้ไผ่ไว้ในปากเลยคายมาตอกทีละดอกอะไรแบบนั้น
@@baanaabee ที่คุณว่าถูกครับสมัยนั้น
แต่ตลกกับข้อมูลในคลิป เล่นระบุว่ามิลลิเมตร!!!
@@teelek9601 คงเอาเทียบกะมาตราวัดสมัยนี้เฉย ๆ ล่ะค่ะ อย่างการมุงหลังคาเปลือกไม้ เขาก็พูดกันเลยว่า ห่างกัน 1 มิล คงเอามาตราโบราณมาเทียบว่ามันประมาณไหนของสมัยนี้เฉย ๆ แหละ ซึ่งมันก็มิลจริง ๆ ลองหาคลิป ฮิวะดะบุคิ 檜皮葺 ดูค่ะ มันจะมีสารคดีของ NHK ช่วง2018 ก่อนเตรียมวังรับพระราชพิธีบรมราชาภิเสกอยู่ เขาก็ทาบกันให้ดูว่ามันห่างกันประมาณมิลนี่แหละ เวลาคนแปล ก็คงแปลมาจากต้นทางที่เขาพูดกันว่ามิลลิเมตรเฉย ๆ แต่เป้นการเทียบการวัดโบราณ - ปัจจุบันให้คนปัจจุบันเข้าใจล่ะค่ะ
ไม่ว่าแต่ญี่ปุ่น ไทยก็ต้นตำหรับครับ😊
จริงๆของประเทศไทยก็มีนะคะ เรียกว่าการเข้าเดือยไม้หรือ ก็คือการเอาไม้มาทำแบบในคลิปนั่นแหละค่ะ
ชอบมาก ตอนเด็กๆยังคิดว่าผู้ใหญ่ทำไหมใช้ตะปู 😅
คนญี่ปุ่นฉลาดและเจ๋งมาก
ของคนไทยก็เก่งไม่แพ้กันครับ
เรือนไทยโบราณก็ทำแบบนี้ หรือสมัยโบราณก็จะทำแบบนี้เหมือนกันเพียงแต่การเจาะอาจจะแตกต่างกันไป
ต้องเป็นช่างฝีมือจริงๆ
อยากเรียนอะไรแบบนี้จัง😅
ช่างไม้ไทยเขาก็ทำแบบนี้มาแต่โบราณ
ช่างไม้ที่ปราณีตที่สุดในโลกต้องยกให้ช่างญี่ปุ่น งานจะปราณีตมาก ไม่แค่ทำให้ใช้งานได้ ต้องสวยด้วยแข็งแรงด้วย
ญี่ปุ่นยังทึ่งกับปราสาทสัจธรรมของไทยเราเลย ไม่ใช้ตะปูสักตัว
จีนก็มี ไทยก็มี น่าทึ่งทั้งนั้นค่ะ
@@naphast1663 ใช่ครับที่ปราสาทสัจธรรมสวยมาก แต่แรงงานเพื่อนบ้านทั้งนั้นที่เป็นคนทำ🤣
@@cschample ควบคุมงานโดยช่างไทย แรงงานก็แค่แรงงาน
เทคนิคนี้พม่าเปนคนคิดมากอน
คนสมัยก่อน(ระดับ500ปี+)ส่วนมากสร้างบ้านด้วยดินมั้ง ญี่่ปุ่นอารยะเขามีมาเป็นหมื่นปีแล้วไม่ใช่พันปีนะ
บ้านเราก็มีครับ ตาผมที่เสียไปก็เป็นช่างไม้ แต่ก่อนผมจำได้ว่าแกสร้างบ้านหรืออะไรเกี่ยวกับไม้ไม่ใช้ตะปูเลย
ไทยเขาใช้หมุดไม้ตอกเข้าไป ผมก็เรียกไม่ถูก ตาผมก็ทำเหมือนกัน
@ป๋าโหมกห้ามผวน ผมก็ไม่รู้ว่าเขาเรียกยังไง แต่ทุกวันนี้หายากแล้วครับ ผมยังไม่เห็นไครทำเลยทุกวันนี้
@@Malengun-k8p ปราสาทสัจธรรม ที่พัทยา สร้างมานานแล้ว สร้างอยู่ และสร้างต่อ
ไทยก็ทำแต่คนทุกวันนี้ ไม่ค่อยมีใครใช้ ด้วยเหตุผลที่ว่ามันช้า เลยค่อยๆหายไป
วิธี การสร้างบ้านแบบนี้สำคัญมากเพราะว่า บ้านเมืองเขามีแผ่นดินไหว วิธีนี้จะช่วยให้บ้านคงทนอยู่นาน ต่อภัยธรรมชาติ หลายๆประเทศก็ใช้วิธีนี้เหมือนกันแม้แต่ไทย🎉❤
บ้านเราเค้าก็ทำกันครับท่าน บ้านซุงทางเมกาเค้าก็ทำจีนก็ทำเอาเป็นว่าช่างไม้เค้าทำกันทั่วโลกนั้นแหละ
ยากมาก เก่งจริง ละเอียดมากเลย
สุดยอดชอบมากประเทศญี่ปุ่น โดยเฉพาะดารา AV😋
งานมีราคา เพราะการใส่ใจ ไม่ใช่ทำส่งๆ ผมถูกสอนมา จากเป็นคนที่ทำงานหยาบๆ ผมเริ่มทำได้ดีขึ้น❤❤🎉 เสียเวลา แต่ สวย กับเร็ว แต่ไม่ได้เรื่อง รถเหมือนกัน ทำไม บางยี่ห้อ ราคา หลักหลายสิบล้าน ทั้งๆที่ก็รถเหมือนกัน แค่เปรียบเปรยครับ ไม่ได้ว่าใคร
ได้ไอเดียสร้างบ้านล่ะ😊
ไทยก็มีเหมือนกัน ในหลายๆภาคของไทย
ทนและสวยจริงๆ 😮😮 ทำไมบ้านเมืองเราไม่สอนบ้าง 😂😂
ไทยก็มีครับ/ทุกอย่าง บ้าน เฟอร์...
มีทุกชาตินะ ของไทยก็มี แต่ไม่ละเอียด ซับซ้อน เท่าญี่ปุ่น..
ผมมองว่า เนื้อไม้ ของเขาตรงสวย เหมาะในการทำแบบในคลิป มากกว่าเนื้อไม้ ของไทยเรา
ยอมรับเรื่องไม้หดแล้วแน่นเลย ประตูบ้านผมหดทุกช่วงอากาศเย็นจัด ปิดไม่ลงเปิดไม่ออกเลย555
ปลวกนี้หวานเจี๊ยบ
ขอนอกเรื่องโครงสร้างค่ะ เสียงไม้ที่ประกบกันคือฟินมากก
เก่งมากๆ ทำยากมากๆงานละเอียดและสวยงาม
โคตรเจ๋งอ่ะ😊
บ้านเรือนไทยของเราก็ใช้แบบนี้ค่ะ
ไทยก็มีครับเห็นเขาวางขายเพียบเลย
วัด สมัยก่อน แถวเชียงใหม่ ก็ประกอบแบบไม่ใข้ตะปูนะ❤
ต้องใช้ไม้เนื้อแข็งใช่ไหมครับ
ญี่ปุ่นคืองานละเอียดมาก
คนไทย สมัยก่อน ก็ใช้แบบนี้แระคับ ประตูบ้านผม ตาผมทำ ไม่ได้ใช้ตะปู แม้แต่ดอกเดียว
คนไทยก็สร้างบ้านเมืองโดยไม่ใช้ตะปู มานานนับพันปีแล้ว ไปหาดูได้ตามโบราณสถานที่อนุรักษ์ไว้
พี่ไทยยังเถียงกันอยู่เลยครับ ว่ามันไม่อยู่😂
ขอบคุณครับ ญี่ปุ่น มีปลวกกันกินไม้ไหมครับ
อันนี้ผมไปสอบถามหัวหน้าปลวกมาเเล้วครับปลวกบอกว่าไม้ที่ญี่ปุ่นมันมีรสชาติที่ขมสร้างมากันปลวกกิน(ญี่ปุ่นไม่มีปลวกครับ)
@ สุดยอดยอดของคำตอบครับ
ไม้โครงสร้างญี่ปุ่น ใช้หลัก 3 ประเภททำอาคารไปจนถึงสะพาน
1 . ฮิโนกิ 桧 ( Chamaecyparis obtusa )
2 . เคยะกิ 欅 ( Zelkova serrata )
3. สึหงิ 杉 ( Cryptomeria japonica )
ไม้พวกนี้เป็นสกุลสนค่ะ มียางมีกลิ่นหอม เนื้อแข็งอ่อนต่างกันไป กลิ่นมันไล่แมลงอยู่แล้ว + ยางสนมีสารฝาดขมที่เรียกว่า ซาโปนิน + แทนนิน เป็นพิษกับแมลงค่ะ
( จริง ๆ ในอุตสาหกรรมการเกษตร หรือ เครื่องสำอางค์ ใช้สารต้านแบคทีเรียด้วย คุมราเป็นหลัก )
ปลวก มีค่ะ พวกปลวกอาเลต (alates) บินได้ ... แต่ มันไมไ่ด้ชอบไม้ทุกแบบ พวกไม้บีชอ่อน ๆ อ่ะโดนประจำ
ส่วนศาลเจ้าวัดวังโบราณ เขาจะทำพิธีเผาเรือนอบควันไล่แมลงเป็นประจำทุกปี
แบบ นี้ต้องเสริชในยูทูปว่าอะไรครับ เห็นแล้วฟินดี อยากดูยาวๆ
ซาชิโมโนะ 指物
ซาชิ 指 - สอดใส่
โมโนะ 物 - สิ่งของ
แปลตามบริบทก็การเข้าสลักไม้ตรง ๆ ค่ะ
แต่เป็นการเรียกแบบรวม ๆ
มันจะมีชื่อเทคนิคแยกย่อยเฉพาะออกไปอีก
หลัก ๆ มี 3 แบบ แบบ เอโดะ ( ยุคหลัง 1600 ที่โตเกียว ) แบบโอซากะ ( ยุคมุโรมาจิ - เซงโกคุ 1400 - 1600 )
แบบ เกียวโต ( การเข้าสลักไม้ดบราร แบบโบราณยุคเฮอัน ประมาณ คศ 800 - 1200 )
การเข้าโครงสร้างอาคารจริง ๆ จะเรียก คิ สึหงิเตะ 木継手 แล้วจะแยกการเข้าฐานเสากับหิน คิ โตะ อิชิ สึหงิเตะ 木と石継手 อีก
เอาอักษรคันจิไปหาคลิปหรือภาพดูได้ค่ะ
@@nagamisaki3642 ขอโทษครับ พิมพ์ผิดคลิป
ถ้าคลิปต้นฉบับแปะเครดิตไว้ในวีดีโอแล้วครับ
ชื่อช่องติ๊กต่อก od_form ครับ
@@baanaabee ขอบคุณมากครับ❤️🙏💙
@@baanaabee ขอบคุณครับ
ไทยก็มี ปราสาทไม้สัจธรรม จ.ชลบุรี ไม่ใช้ตะปูครับ แต่ไม่รู้ว่าไทย ใช้เทคนิคนี้ตั้งแต่ตอนไหน 😅
ปราสาทสัจธรรมที่พัทยาบางส่วนใช้ตะปูครับเพียงแต่คุณไม่รู้..ผมทำงานเป็นไกด์นำเที่ยวชาวต่างชาติพานักท่องเที่ยวไปที่นั่นประจำและช่างแกะสลักใช้แต่คนพม่ามาแกะ คนไทยไม่มีสักคนทำให้แกะสลักออกมาไม่สวยเท่าที่ควร ถ้าคุณไม่เชื่อลองเข้าไปดูได้ค่าเข้า500บาท ส่วนผมเข้าฟรี😊
บ้านญี่ปุ่นทุกหลังโครงสร้างเป็นไม้ประกอบทั้งหมดและข้อเสียคือเกิดไฟไหม้และติดไฟได้ง่ายด้วย เพราะมันคือเชื้อไฟชั้นดี ในสุดคือไม้ห่อด้วยกระดาษรอบบ้านเพื่อกันน้ำแล้วก็แผ่นยิปซั่มชั้นนอกสุด
เทคนิคนี้ไทยเราก็มีครับ ถ้าใครอยากเห็นลองไปดูที่เมืองโบราณสมุทรปราการได้ครับ
ชาวเกาหลีเดินทางเข้าไปเปิดบริษัทสร้างวัดและวังในประเทศญี่ปุ่นมาเกือบ 1,500 ปีแล้ว วิธีการนี้มาจากชาวเกาหลีและชาวจีน