#Ep17สมเด็จวัดระฆังแท้ถึงยุคดูจากแคลไซร์ใด้อย่างไร

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 12 ก.ย. 2021

ความคิดเห็น • 53

  • @Nirand1000X
    @Nirand1000X 2 ปีที่แล้ว +2

    ดีงามครับ ขอบคุณมากครับ

  • @magudtumano1084
    @magudtumano1084 2 ปีที่แล้ว +10

    เราควรทำความเข้าใจ
    อย่างลึกซึ้งก่อนว่า
    แคลไซต์เกิดขึ้นมาได้อย่าง
    ไร แร่ตระกูลแคลเซี่ยมเป็น
    โลหะชนิดหนึ่ง แคลไซต์ก็
    คล้ายสนิมเหล็กเพราะเป็น
    โลหะเหมือนกัน เหล็กแช่
    อยู่ในน้ำมันสนิมไม่เกิด
    โมเลกุลแคลเซี่ยมมีน้ำมัน
    ตังอิ้วเคลือบเอาไว้แคลไซต์
    ไม่เกิด เหล็กเก็บไว้ในสูญ
    ญากาศไม่เกิดสนิม ปูนแคล
    เซี่ยมเก็ยไว้ในสูญญากาศ
    แคลไซต์ไม่เกิด แร่ในตระ
    กูลโลหะทุกชนิดจะต้องมี
    ตัวมาทำปฏิกิริยาจึงจะเกิด
    Oxidationได้ คุณควรกลับ
    ไปศึกษาขบวนการเกิด
    Oxidation ของแร่ที่มาผสม
    หรือมาทำเป็นเนื้อพระสม
    เด็จให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
    ก่อน คุณจะได้คิด วิเคราะห์
    แยกแยะ ได้ว่า พระใช้
    พระเก็บดี พระเคลือบสิ่ง
    ห่อหุ้มเอาไว้เช่นทารักษ์
    ทาตั้งแต่ตอนแรกๆ ทา
    เมื่อพระเกิดแคลไซต์แล้ว
    ทาเมื่อพระยังไม่เกิดแคลไซต์ พระแก่ตังอิ๊ว
    พระไม่ใช้ต้งอิ๊วเป็นสาร
    ช่วยยึกเกาะ แต่ไปใช้น้ำ
    มันยางแทน ใช้ยางมะตูมหมักแทน พระแก่ปูน
    พระผสมอินทรีย์วัตถุ
    เยอะ การแปรสภาพทาง
    กายภาพ และ ทางเคมี
    ย่อมไม่เหมือนกัน ถ้ามี
    การเอาน้ำมาผสมกับ
    เนื้อพระด้วยยิ่งต้องมี
    โจทย์ให้คิดอีก ปูนขาว
    หรือ calcium oxide
    เมื่อผสมกับน้ำจะแปร
    สภาพเป็น calcium
    hydroxide บางส่วน
    ฉนั้นที่ดูว่าเป็น calcite
    แท้ที่จริงอาจจะเป็น
    Calcium hydroxide
    ก็เป็นได้ ผมเป็นหัว
    หน้า QC.มาก่อน ผม
    เฝ้าจับจ้องดูแต่ละคน
    ออกมา Action เกี่ยว
    กับการตรวจวิเคราะห์
    พระสมเด็จอยู่ กรุณา
    ให้รอบคอบ อย่ามั่ว
    เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่ดี
    แต่ถูกสร้างขึ้นมาด้วย
    คน ต้องใช้ให้เป็น ใช้
    ให้ถูกกับจุดประสงค์
    ที่พิมพ๋ยาวเพราะเป็น
    ห่วงว่า จะท่าดี แต่
    ทีเหลว ขอเป็นกำลังใจ
    ให้ผู้ที่คิดทำเรื่องนี้ให้กระ
    จ่างครับ

    • @user-ct5fn7ms6s
      @user-ct5fn7ms6s  2 ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นต่างๆครับ
      แต่ผมยังเห็นว่าเป็นวิเคาะของบุคคนนั้นๆ
      ยังตอบไม่ใด้ว่าความคิดใครถูกหรือผิด
      ...รอการพิสูจน์ด้วยกล้องอิเล็กตรอนครับ

    • @user-ig2wj5eq1e
      @user-ig2wj5eq1e 2 ปีที่แล้ว +2

      ผมว่าพี่เหตุดีนะครับ..การเก็บในที่แห้งสูญกาศ...กับพระวางไว้บนหิ้งพระ...กับพระแช่น้ำ...พระทาลัก...พระ เป็นเนื้อ..อะไร...จะมีผลต่อการเกิดแคลไซค์...มากน้อย...ทั้งสิ้น...จะให้เกิดเหมือนกันทุกองค์คงไม่ถูกต้อง...ยกเว้นเนื้อและมวลสารครกเดียวกัน...เก็บไว้ที่้ดียวกัน...อาจ เหมือนกันได้...แต่ถ้าพระครกเดียวกันมวลสารเหมือนกัน..แต่ เก็บ ต่างกัน...องค์หนึ่ง อยู่ในหีบอย่าดี...อีกองค์อยู่บนหิ้งพระ...อีกองค์แช่น้ำอยู่....แคลไซต์ย่อม แตกต่าง(เพราะ ความชื้น...อากาศ...น้ำ..เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา..ทางวิทยาศาสตร์)

  • @user-jd4wd2jl2s
    @user-jd4wd2jl2s 2 ปีที่แล้ว +3

    ดูยังไงก็เหมือนกันทุกองค์ครับ

  • @user-bx7kg4tn1u
    @user-bx7kg4tn1u 2 ปีที่แล้ว +3

    สุดยอดครับไม่ตัองเที่ยง​กันดูด้วยตาวิเคราะห์​ด้วยสม่อง

  • @halhean8296
    @halhean8296 2 ปีที่แล้ว +5

    ดูแล้วต้นๆหลักการเหมือนใช้ได้..แต่พอดูต่อๆไป.กลับเหมือนมั่วๆ.เหมือนไม่ลงตัวหาข้อสรุปที่ลงตัวยังไม่ได้.รู้สึกไหม..ปัญหาคือการหาจุดแบ่งแยกที่แท้จริงแน่นอนยังไม่ได้..พระล้างพระไม่ล้าง.พระคนละเนื้อ.พระเก็บดีพระเก็บธรรมชาติพระใช้.พระลงรักพระเคลือบผิวแต่งผิว.ถ้าไม่ล้างจะรู้ได้ไง.หากทำใจเป็นกลางไม่หลอกตัวเอง..แต่อาจมีอย่างหนึ่งที่เป็นจริงคือพระแท้ต้องมีลักษณะเป็นหินคือแคลไซต์ซึ่งก็คือหิน.หากเก็บดีอย่างไรหรือลงรักปิดทับไว้.อย่างน้อยที่สุด.น่าจะมีลักษณะเข้าใกล้หินหรือเหมือนหิน.สังเกตุที่ความเงาด้านๆเหมือนหินเหมือนกรวด..ซึ่งน่าจะมั่นใจได้แน่นอนกว่าแบบที่ยังดูแล้วไม่แน่ใจ..ส่วนเม็ดดำแดงเขียวฟ้าอะไรนั้น.ล้วนไม่เคยผ่านการพิสูจน์เลย..ลองเอาทรายมาส่องดูสิ.อาจได้ความรู้มากขึ้น.

    • @vijitpanthong2590
      @vijitpanthong2590 2 ปีที่แล้ว

      เขาตรวจสอบอายุแล้วว่ามีอายุกี่ปีและตามเก็บพระมาประมาณ 5 ปี แล้ว คงเหลือในท้องตลาดประมาณ 20 เปอร์เซ็น รู้ช้าตามไม่ทัน

    • @halhean8296
      @halhean8296 2 ปีที่แล้ว +2

      @@vijitpanthong2590จะตรวจสอบอายุพระได้อย่างไร.เพราะปัจจุบันนี้ยังไม่มีเทคโนโลยีไหนที่สามารถตรวจสอบอายุของสสารหรือธาตุในระดับหลักร้อยๆปีได้..ที่อ้างว่าตรวจสอบอายุพระนั้นเห็นแต่หลอกลวงทั้งสิ้น..ใครหลงเชื่อก็ตกเป็นเหยื่อ..ซึ่งก็มีผู้หลงเชื่อมากมายจริงๆ.ประเมินว่ามีผู้หลงเชื่อถึง80%ของผู้สะสมพระ

  • @user-pv7dx1no6b
    @user-pv7dx1no6b 3 หลายเดือนก่อน

    ❤❤❤🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉

  • @gatmobile1313
    @gatmobile1313 2 ปีที่แล้ว +2

    สุดยอดครับ

  • @dhcfhx2318
    @dhcfhx2318 2 ปีที่แล้ว +3

    หลักการดีมากเลย

  • @sompanbangyai
    @sompanbangyai 2 ปีที่แล้ว +1

    ได้ความรู้มากครับ เพิ่มอีก1กำลังใจไปกลับคับ

  • @lifenight5160
    @lifenight5160 2 ปีที่แล้ว

    สุดยอดชัดเจน

  • @dadadaddy2849
    @dadadaddy2849 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยมครับ

  • @user-sq4gu7zz2j
    @user-sq4gu7zz2j 2 ปีที่แล้ว +1

    ต้องอาศัย ประสบการณ์ ดูทางกายภาพ..และมีตัวอย่างพระแต่ละเนื้อมากพอที่จะได้องค์ครูในแต่ละเนื้อ..ไว้เปรียบเทียบ พระยุคเดียวกันมีหลายองค์.แคลไซต์ ผิวพระไม่เท่ากัน.ต้องมีองค์ครู..และพิจารณา องค์ประกอบอื่น.ตามประสบการณ์..ต้องศึกษา วิวัฒนาการพระเลียนแบบคู่ไปด้วย..

  • @user-dm2ju6mo8j
    @user-dm2ju6mo8j 25 วันที่ผ่านมา

    ดูหลายอาจารย์เริ่ม งง ไปหมดเเล้วตอนนี้กรรมๆๆจากดูพระตัวเองว่าจะแท้พอมาเจอคลิปนี้เริ่มจะหวั่นๆๆแล้ว😅😅😅😅

  • @user-gz7pv6sr1m
    @user-gz7pv6sr1m 2 ปีที่แล้ว +5

    พระสร้างยุคต้นแคลไซต์ก็จะหนามากแต่ถ้าเป็นยุคปลายแคลไซต์ก้อจะบางกว่าและพระที่ล้างแคลไซต์ก็จะหลุดความเป็นธรรมชาติออกไป!มีหลายมุมมองที่ละเอียดแตกต่างออกไป!เลยต้องหาความสบายใจโดยการหาพระที่อยู่ในยุคต้นและยุคกลาง!

    • @Supatchara-hm4yk
      @Supatchara-hm4yk 2 ปีที่แล้ว +1

      การเกิดแคลไซต์บางทีเกิดไม่เท่ากันเพราะส่วนผสมขององค์พระแต่ละองค์
      อาจไม่เท่ากัน(ผมคิดไปเอง)

    • @user-ct5fn7ms6s
      @user-ct5fn7ms6s  2 ปีที่แล้ว +2

      ใช้ครับ...องค์ประกรอบเนื้อมวลสารมีผลกับการเกิดแคลไซ้น์
      แต่ก็ต้องใช้มวลสารอื่นมาวิเคราะเทียบเคียงให้ใด้ผลสิ้นข้องสงใสครับ

  • @YuYu-xx8sb
    @YuYu-xx8sb ปีที่แล้ว

    อลากอนัยเริมก่อตัวเหมือนปุยเมฆ
    แคไซตกผลึกด้านล่าง จะอยู่ด้านล่าง

  • @user-yz1uo8yk8f
    @user-yz1uo8yk8f ปีที่แล้ว

    ❤❤❤❤❤❤😊😊

  • @sarikjuly4175
    @sarikjuly4175 2 ปีที่แล้ว +1

    ตามที่อ

  • @user-pm1rw6is4w
    @user-pm1rw6is4w ปีที่แล้ว

    ชอบคับได้ความรู้

  • @user-br4uk6un2x
    @user-br4uk6un2x ปีที่แล้ว

    พระร้อยกว่าปียังไงแคลไซต์อลาโกไนท์ก็มาเพียบแม้จะเก็บแบบไหนก็เถอะ

  • @user-xy5vn7jh7f
    @user-xy5vn7jh7f 2 ปีที่แล้ว +1

    พระเก้า.องค์ที่3..ปล่อยเป่าครับ

    • @user-ct5fn7ms6s
      @user-ct5fn7ms6s  2 ปีที่แล้ว

      อยากแบบปันครับ..ขอบมากคุณครับ
      แต่ผมอยากจะตรวจด้วยกล้องอิเล็กตรอนก่อนครับ การตรวจตามหลักวิทยาศาสตร์มีใบรับรองisoสามารสนำไปตรวจซ้ำที่ใหนก็ใด้ในโลกนี้ครับเราจะใด้สะบายใจทั้งสองฝ่ายครับ
      092 3738989

  • @user-br4uk6un2x
    @user-br4uk6un2x ปีที่แล้ว

    คมชัดลึกสวยมีมวลสารแต่เป็นพระเก๊ส่วนใหญ่

  • @user-bv2jq1xq4l
    @user-bv2jq1xq4l ปีที่แล้ว

    ถ้ามีแคลไซ ก็แท้หมดใช่มัยคับ

  • @vijitpanthong2590
    @vijitpanthong2590 2 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดแต่เสียงเบาไปหน่อย

  • @user-qu8uo8yp2f
    @user-qu8uo8yp2f ปีที่แล้ว +1

    We are

  • @user-vq8ef3pl2q
    @user-vq8ef3pl2q 2 ปีที่แล้ว +1

    แล้วพระที่ล้างมาจะดูแคลไซต์ยังไงครับ

  • @user-qz9jy1fc9z
    @user-qz9jy1fc9z ปีที่แล้ว +1

    น่าจะพูดว่าอายุยังไม่ถึงเนาะ

  • @user-ll1rg3ui9x
    @user-ll1rg3ui9x 2 ปีที่แล้ว

    เรื่องแคลเซียมแคนไซน์ผมมาเข้าใจกับคุณที่อธิบายนี่แหละส่วนเจ้าอื่นผมไม่เข้าใจเลยผมพึ่งมาเข้าใจตอนนี้ครับขอบคุณครับ

  • @mrkarnmaddog8214
    @mrkarnmaddog8214 2 ปีที่แล้ว +1

    ถามหน่อย ครับ ไปเอาพระมาจาก ไหน ครับ ตอบหน่อย

    • @user-ct5fn7ms6s
      @user-ct5fn7ms6s  2 ปีที่แล้ว

      มีทั้งเก็บมารุ่นต่อรุ่นและ...ตามหาจากบ้านที่ขายเหมารวมกันมาก็มาคัดเลือกเอาครับ...

  • @Chatchaipat
    @Chatchaipat 2 ปีที่แล้ว +1

    เรียนถามว่าหลักการดูแคลไซด์แบบนี้จะแยกแยะพระที่สร้างประมาณปี
    2390 (ทันสมเด็จโต)
    2410 (ทัน)
    2430 (ไม่ทัน)
    2450 (ไม่ทัน)
    ได้อย่างไร ลักษณะแคลไซต์จะมองเห็นด้วยตาแตกต่างกันอย่างไรครับ

    • @user-ct5fn7ms6s
      @user-ct5fn7ms6s  2 ปีที่แล้ว

      ผลึกมวล..อนุภาคครับ

  • @user-ie1rz3gm9r
    @user-ie1rz3gm9r 2 ปีที่แล้ว

    อธิบายชัดเจนครับคนขายกล้องยังอธิบายไม่ชัดเจนเลยไม่รู้กั๊กไว้ทำไม55

  • @punyaatankittivanitkul3040
    @punyaatankittivanitkul3040 2 ปีที่แล้ว

    หาวิธีดูอายุแคลไซต์กันใหญ่เลิกวิธีการดูอื่นๆหมดตีปลาหน้าไซ

  • @dddnkorn7678
    @dddnkorn7678 ปีที่แล้ว

    ติดต่อตรวจพระได้ที่ไหนครับ

  • @beamhanchi1532
    @beamhanchi1532 ปีที่แล้ว

    ไม่เกี่ยวหรอกขึ้นอยู่มวนสารสูตรสมเด็จต่างหาก

  • @yossakornpommeedech753
    @yossakornpommeedech753 2 ปีที่แล้ว

    ถ้านำพระไปต้มน้ำเดือดแคลไซร์จะหายไปไหมครับ

  • @pholreonchareon3345
    @pholreonchareon3345 2 ปีที่แล้ว

    ที่ผ่านเข้าใจผิดหมดเลย

    • @pholreonchareon3345
      @pholreonchareon3345 2 ปีที่แล้ว

      ถ้าดูแป้งโหลยพิมพ์จบเลย

  • @user-ii4is6qb9y
    @user-ii4is6qb9y 2 ปีที่แล้ว

    ผงถ่านไม่เผาชัดเลย

  • @sarikjuly4175
    @sarikjuly4175 2 ปีที่แล้ว +1

    โทษครับชว่ยวิเคาะห์แคลไซฅ์พระสมเด็จองค์ดาราในหนังสือพระเครื่อง ลักษณะหลังรอยปูไต่ และรอยย่นตะไคร่น้ำ และเนื้อประเภทขนมตุ้บตั้บมันมีการทับถมของแคลไซต์หรือเปล่าครับอันนี้อ้างอิ่งของท่านบรรยายมาครับ..ขอบคุณครับ

    • @user-ct5fn7ms6s
      @user-ct5fn7ms6s  2 ปีที่แล้ว

      th-cam.com/video/tS2CVsMULSg/w-d-xo.html
      ลองเขาไปดูคลิปล่าสุดของผมนะครับ
      ส่วนคำถามที่ขอมา...ผมไม่รู้ว่าองค์ไหนครับ

    • @suksanookhappy7154
      @suksanookhappy7154 22 วันที่ผ่านมา

      @@user-ct5fn7ms6s

  • @tanankornsukhumvada130
    @tanankornsukhumvada130 2 ปีที่แล้ว

    แคลไซต์หรือ Efflorescence? แยกยังไงก่อน